SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ครูนุชนารถ  เมืองกรุง
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1 .  การลำเลียงสารโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งเป็น  2   ลักษณะ คือ 1.1   การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยไม่ใช้พลังงานจากเซลล์  (  passive transport  )   1. การแพร่  (  diffusion  )  การแพร่ธรรมดา  (  simple diffusion  )    การแพร่โดยอาศัยตัวพา  (  facilitated diffusion  ) 2.  ออสโมซิส  (  osmosis  ) 3.  อิมบิบิชั่น  (  Imbibition  ) 4.  การแลกเปลี่ยนอิออน  (  Ion exchange  ) 1.2   การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยใช้พลังงานจากเซลล์  (  active transport  )
2  การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มี  3   ลักษณะ คือ 2.1  การนำสารออกนอกเซลล์ (  Exocytosis  ) มี  2   วิธี คือ  - Pinocytosis - Phagocytosis 2.2   การนำสารเข้าสู่ภายในเซลล์  (  Endocytosis  ) -  การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
[object Object],
[object Object],การเคลื่อนที่ของโมเลกุล หรืออิออน จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ บริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ จนในที่สุดบริเวณทั้งสองจะมีความเข้มข้นเท่ากัน ซึ่ง เรียกว่า สมดุลของการแพร่  การเคลื่อนที่ของโมเลกุล หรือไอออนของสารจะมีการกระทบกัน เป็นผลให้ โมเลกุลกระจายออกไปทุกทิศทางในตัวกลาง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบบราว เนียน  ( Brownian movement  )
ตัวอย่างการแพร่ของสาร  การแพร่ในของแข็ง  เช่น เกล็ดด่างทับทิม และเกล็ดโพแทสเซียมไดโครเมตในวุ้น การแพร่ในของเหลว  เช่น โมเลกุลน้ำตาล อิออนของเกลือแพร่ในน้ำ การแพร่ในก๊าซ  เช่น การแพร่ของโมเลกุลน้ำหอมในอากาศ การแพร่ของก๊าซ  หรือควันไฟในอากาศ  VDO Diffusion
4 .  ขนาดและน้ำหนักของอนุภาคที่แพร่   ถ้าอนุภาคขนาดเล็กและเบา จะมีอัตราการแพร่เร็วกว่าสารที่มีอนุภาคขนาดใหญ่และหนัก ปัจจัยที่ควบคุมอัตราการแพร่ของสาร  1 .  ความเข้มข้นของสารที่แพร่   สารที่มีความเข้มข้นสูง จะแพร่ไปสู่ที่มีความเข้มข้นต่ำ 2 .  อุณหภูมิ   การเพิ่มอุณหภูมิ จะให้การแพร่เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว 3 .  ความดัน   การเพิ่มความดัน จะทำให้โมเลกุล หรือไอออนของสารเคลื่อนที่ 5 .  ความหนาแน่นของตัวกลาง   สารที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน แต่แพร่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน อัตราการแพร่จะไม่เท่ากัน   เช่น การแพร่ในอากาศจะมีอัตราการแพร่สูงกว่าในน้ำ เพราะน้ำมีความหนาแน่นสูงกว่า   อากาศ
7 .  สถานะของ   แก๊ส  > ของเหลว > ของแข็ง 6 .  ความสามารถในการละลายของสารที่แพร่   สารที่ละลายได้ดี จะมีอัตราการแพร่สูงกว่าสารที่ละลายได้น้อย
2 .  ออสโมซิส  (  Osmosis  )
ออสโมมิเตอร์  (  osmometer  )  เป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงการเกิดออสโมซิส และสามารถใช้วัดแรงดันที่เกิดจากขบวนการออสโมซิสได้อีก  แรงดันออสโมติก  (  osmotic pressure  )  คือ ความดันที่ทำให้เกิดออสโมซิส ของน้ำ  Osmosis   หมายถึง  การแพร่ของโมเลกุลของน้ำจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า   (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า   (hyperosmotic solution)  โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์  VDO Osmosis
ประเภทของสารละลายที่เกี่ยวข้องกับออสโมซิส  แบ่งเป็น  3   ชนิด คือ  1 .  สารละลายไฮเพอร์โทนิก  (  Hypertonic solution  )   ถ้าเซลล์อยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่ ออกจากเซลล์ ทำให้เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและเหี่ยวแฟบลง  =   พลาสโมไลซิส  (  Plasmolysis  )
2 .  สารละลายไฮโพโทนิก  ( Hypotonic solution )   ถ้าเซลล์อยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ จะทำให้เซลล์เต่ง พลาสโมไทซิส  (  Plasmoptysis )  หรือ  เอนโดสโมซิส  (  Endosmosis )
3 .  สารละลายไอโซโทนิก  ( Isotonic solution )   สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์  เช่น  -  น้ำเกลือ  0.85%  เป็น  Isotonic  ต่อเซลล์เม็ดเลือดแดง    -  น้ำเหลือง เป็น Isotonic  ต่อร่างกาย
Animal cell
Plant cell Hypertonic (Plasmolysis) Hypotonic  (Turgid)   Isotonic  (Normal)
3 .  การแพร่แบบฟาซิลิเทต  (  Facilitated diffusion  )  เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสาร จากที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำโดย อาศัยตัวพา ซึ่งเป็นสารพวกโปรตีน เช่น การเคลื่อนที่ของน้ำตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ  การลำเลียงสารที่เซลล์ตับ ที่เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก  การแพร่แบบนี้เป็นประโยชน์มาก ทำให้เซลล์ได้รับสาร  และขับสารบางอย่างได้อย่างรวดเร็ว
Diffusion Facilitated transport Active transport Passive transport
4 .  อิมบิบิชัน  (  Imbibition  )  กระบวนการดูดของเหลว หรือน้ำ ของวัตถุแห้ง หรือปริมาณน้ำอยู่น้อย  เช่น เมล็ดพืชแห้ง เมื่อแช่ในน้ำ หรือ อยู่ในที่มีความชื้นสูงจะดูดน้ำเข้าไป   จนพองตัว ขยายใหญ่ขึ้น สำคัญต่อการงอกของเมล็ดพืช
5 .  การแลกเปลี่ยนอิออน  (  Ion exchange  )  เป็นขบวนการที่เซลล์แลกเปลี่ยนอิออนระหว่างภายในเซลล์ กับภายนอกเซลล์  เช่น ไฮโดรเจนอิออน ภายในเซลล์ของรากพืช จะแลกเปลี่ยนกับ  โปตัสเซียมอิออนในดิน
[object Object],
1.  การแพร่แบบแอกทีฟทรานสปอร์ต  ( active transport  )  เป็นขบวนการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงกว่าโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ และต้องอาศัยพลังงานจากเซลล์ในรูปของ  ATP
ปัจจัย 1.  ตัวพา  ซึ่งเป็นสารจำพวกโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์ 2.  เอ็นไซม์ เพื่อใช้ในการเปลี่ยนรูปตัวพา 3.  ATP ตัวอย่าง  -  Na + -K +  Pump  ที่เซลล์ประสาท -  การดูดซึมสารอาหารที่ลำไส้เล็ก -  การดูดสารมีประโยชน์กลับคืนที่ท่อของหน่วยไต -  การขับเกลือแร่ที่เงือกปลาน้ำเค็มกระดูกแข็ง -  การดูดเกลือแร่ที่เหงือกของปลาน้ำจืด -  การดูดเกลือแร่ที่รากพืช
การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์  1.  เอกโซไซโทซิส  (Exocytosis) 2.  เอนโดไซโทซิส  (Endocytosis)
[object Object],[object Object],เอกโซไซโทซิส  (Exocytosis) VDO
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เอนโดไซโทซิส  ( Endocytosis )
1. Phagocytosis -  เป็นวิธีการนำสารที่มีลักษณะเป็นของแข็ง หรือ เซลล์ขนาดเล็กๆ เข้าสู่เซลล์ โดยการสร้าง  Pseudopodium   โอบล้อมสารนั้นแล้วเกิดเป็นถุงหลุดเข้าไปภายในเซลล์ -  เช่น  การจับเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว การกินอาหารของอะมีบา  VDO Phagocytosis
-  วิธีการนำสารที่เป็นของเหลว หรือสารละลายที่มีขนาด  0.1-2  ไมโครเมตร โดยเยื่อหุ้มค่อย ๆ หดทีละน้อยเข้าไปใน  cytoplasm  จน  Vesicle สารที่มีโมเลกุล   ขนาดใหญ่จะเข้ามาอยู่ในถุงนี้เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิท และถุงนี้จะหลุดเข้าสู่เซลล์ กลายเป็น  Vesicle  -  เช่น การนำสารเข้าสู่เซลล์หน่วยไต  การนำไขมันเข้าสู่เซลล์เยื่อบุของลำไส้เล็ก  2.  Pinocytosis VDO
3.Receptor-mediated endocytosis -  เป็นการนำสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์   โดยที่ผิวเซลล์มี   receptor  เฉพาะสำหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ   แล้วถูกนำเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ   เมื่อผ่านการย่อยแล้ว   receptor  สามารถถูกนำมาใช้ใหม่ได้อีก   -  เช่น การนำฮอร์โมนเข้าสู่เซลล์ VDO

More Related Content

What's hot

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

What's hot (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Viewers also liked

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์Kankamol Kunrat
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตdnavaroj
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transportkasidid20309
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆKankamol Kunrat
 
Ch03 a, living units
Ch03 a, living unitsCh03 a, living units
Ch03 a, living unitsTheSlaps
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตKankamol Kunrat
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6Bios Logos
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 

Viewers also liked (20)

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
Cell
CellCell
Cell
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
 
Ch03 a, living units
Ch03 a, living unitsCh03 a, living units
Ch03 a, living units
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 

Similar to การลำเลียงสาร54

Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell prapassri
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560Phajon Kamta
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารAui Ounjai
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 

Similar to การลำเลียงสาร54 (20)

Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

More from Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 

More from Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

การลำเลียงสาร54

  • 2. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1 . การลำเลียงสารโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.1 การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ ( passive transport ) 1. การแพร่ ( diffusion ) การแพร่ธรรมดา ( simple diffusion ) การแพร่โดยอาศัยตัวพา ( facilitated diffusion ) 2. ออสโมซิส ( osmosis ) 3. อิมบิบิชั่น ( Imbibition ) 4. การแลกเปลี่ยนอิออน ( Ion exchange ) 1.2 การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยใช้พลังงานจากเซลล์ ( active transport )
  • 3. 2 การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มี 3 ลักษณะ คือ 2.1 การนำสารออกนอกเซลล์ ( Exocytosis ) มี 2 วิธี คือ - Pinocytosis - Phagocytosis 2.2 การนำสารเข้าสู่ภายในเซลล์ ( Endocytosis ) - การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
  • 4.
  • 5.
  • 6. ตัวอย่างการแพร่ของสาร การแพร่ในของแข็ง เช่น เกล็ดด่างทับทิม และเกล็ดโพแทสเซียมไดโครเมตในวุ้น การแพร่ในของเหลว เช่น โมเลกุลน้ำตาล อิออนของเกลือแพร่ในน้ำ การแพร่ในก๊าซ เช่น การแพร่ของโมเลกุลน้ำหอมในอากาศ การแพร่ของก๊าซ หรือควันไฟในอากาศ  VDO Diffusion
  • 7. 4 . ขนาดและน้ำหนักของอนุภาคที่แพร่ ถ้าอนุภาคขนาดเล็กและเบา จะมีอัตราการแพร่เร็วกว่าสารที่มีอนุภาคขนาดใหญ่และหนัก ปัจจัยที่ควบคุมอัตราการแพร่ของสาร 1 . ความเข้มข้นของสารที่แพร่ สารที่มีความเข้มข้นสูง จะแพร่ไปสู่ที่มีความเข้มข้นต่ำ 2 . อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิ จะให้การแพร่เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว 3 . ความดัน การเพิ่มความดัน จะทำให้โมเลกุล หรือไอออนของสารเคลื่อนที่ 5 . ความหนาแน่นของตัวกลาง สารที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน แต่แพร่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน อัตราการแพร่จะไม่เท่ากัน เช่น การแพร่ในอากาศจะมีอัตราการแพร่สูงกว่าในน้ำ เพราะน้ำมีความหนาแน่นสูงกว่า อากาศ
  • 8. 7 . สถานะของ แก๊ส > ของเหลว > ของแข็ง 6 . ความสามารถในการละลายของสารที่แพร่ สารที่ละลายได้ดี จะมีอัตราการแพร่สูงกว่าสารที่ละลายได้น้อย
  • 9. 2 . ออสโมซิส ( Osmosis )
  • 10. ออสโมมิเตอร์ ( osmometer ) เป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงการเกิดออสโมซิส และสามารถใช้วัดแรงดันที่เกิดจากขบวนการออสโมซิสได้อีก แรงดันออสโมติก ( osmotic pressure ) คือ ความดันที่ทำให้เกิดออสโมซิส ของน้ำ Osmosis หมายถึง การแพร่ของโมเลกุลของน้ำจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์  VDO Osmosis
  • 11. ประเภทของสารละลายที่เกี่ยวข้องกับออสโมซิส แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1 . สารละลายไฮเพอร์โทนิก ( Hypertonic solution ) ถ้าเซลล์อยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่ ออกจากเซลล์ ทำให้เยื่อหุ้มเซลล์จะหดตัวและเหี่ยวแฟบลง = พลาสโมไลซิส ( Plasmolysis )
  • 12. 2 . สารละลายไฮโพโทนิก ( Hypotonic solution ) ถ้าเซลล์อยู่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าภายในเซลล์ น้ำจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ จะทำให้เซลล์เต่ง พลาสโมไทซิส ( Plasmoptysis ) หรือ เอนโดสโมซิส ( Endosmosis )
  • 13. 3 . สารละลายไอโซโทนิก ( Isotonic solution ) สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ เช่น - น้ำเกลือ 0.85% เป็น Isotonic ต่อเซลล์เม็ดเลือดแดง - น้ำเหลือง เป็น Isotonic ต่อร่างกาย
  • 15. Plant cell Hypertonic (Plasmolysis) Hypotonic (Turgid) Isotonic (Normal)
  • 16. 3 . การแพร่แบบฟาซิลิเทต ( Facilitated diffusion ) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสาร จากที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำโดย อาศัยตัวพา ซึ่งเป็นสารพวกโปรตีน เช่น การเคลื่อนที่ของน้ำตาลกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ การลำเลียงสารที่เซลล์ตับ ที่เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก การแพร่แบบนี้เป็นประโยชน์มาก ทำให้เซลล์ได้รับสาร และขับสารบางอย่างได้อย่างรวดเร็ว
  • 17. Diffusion Facilitated transport Active transport Passive transport
  • 18. 4 . อิมบิบิชัน ( Imbibition ) กระบวนการดูดของเหลว หรือน้ำ ของวัตถุแห้ง หรือปริมาณน้ำอยู่น้อย เช่น เมล็ดพืชแห้ง เมื่อแช่ในน้ำ หรือ อยู่ในที่มีความชื้นสูงจะดูดน้ำเข้าไป จนพองตัว ขยายใหญ่ขึ้น สำคัญต่อการงอกของเมล็ดพืช
  • 19. 5 . การแลกเปลี่ยนอิออน ( Ion exchange ) เป็นขบวนการที่เซลล์แลกเปลี่ยนอิออนระหว่างภายในเซลล์ กับภายนอกเซลล์ เช่น ไฮโดรเจนอิออน ภายในเซลล์ของรากพืช จะแลกเปลี่ยนกับ โปตัสเซียมอิออนในดิน
  • 20.
  • 21. 1. การแพร่แบบแอกทีฟทรานสปอร์ต ( active transport ) เป็นขบวนการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงกว่าโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ และต้องอาศัยพลังงานจากเซลล์ในรูปของ ATP
  • 22. ปัจจัย 1. ตัวพา ซึ่งเป็นสารจำพวกโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์ 2. เอ็นไซม์ เพื่อใช้ในการเปลี่ยนรูปตัวพา 3. ATP ตัวอย่าง - Na + -K + Pump ที่เซลล์ประสาท - การดูดซึมสารอาหารที่ลำไส้เล็ก - การดูดสารมีประโยชน์กลับคืนที่ท่อของหน่วยไต - การขับเกลือแร่ที่เงือกปลาน้ำเค็มกระดูกแข็ง - การดูดเกลือแร่ที่เหงือกของปลาน้ำจืด - การดูดเกลือแร่ที่รากพืช
  • 23. การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis) 2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)
  • 24.
  • 25.
  • 26. 1. Phagocytosis - เป็นวิธีการนำสารที่มีลักษณะเป็นของแข็ง หรือ เซลล์ขนาดเล็กๆ เข้าสู่เซลล์ โดยการสร้าง Pseudopodium โอบล้อมสารนั้นแล้วเกิดเป็นถุงหลุดเข้าไปภายในเซลล์ - เช่น การจับเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว การกินอาหารของอะมีบา  VDO Phagocytosis
  • 27. - วิธีการนำสารที่เป็นของเหลว หรือสารละลายที่มีขนาด 0.1-2 ไมโครเมตร โดยเยื่อหุ้มค่อย ๆ หดทีละน้อยเข้าไปใน cytoplasm จน Vesicle สารที่มีโมเลกุล ขนาดใหญ่จะเข้ามาอยู่ในถุงนี้เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิท และถุงนี้จะหลุดเข้าสู่เซลล์ กลายเป็น Vesicle - เช่น การนำสารเข้าสู่เซลล์หน่วยไต การนำไขมันเข้าสู่เซลล์เยื่อบุของลำไส้เล็ก 2. Pinocytosis VDO
  • 28. 3.Receptor-mediated endocytosis - เป็นการนำสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสำหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนำเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนำมาใช้ใหม่ได้อีก - เช่น การนำฮอร์โมนเข้าสู่เซลล์ VDO