SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
1
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รายวิชาชีววิทยา 1รหัสวิชา ว32141
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
2
3
4
5
GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS
- สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ
เป็นลาดับขั้นดังนี้
- เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด
- ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน
ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
The size range of cells
ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง
Myoplasma
แบคทีเรีย
ส่วนใหญ่ของ
eukaryotic cell
0.1 - 1.0 ไมครอน
1.0 - 10.0 ไมครอน
10.0 - 100.0 ไมครอน
6
Prokaryotic and Eukaryotic cell
7
Prokaryotic cell (pro=before)
 พบเฉพาะใน Kingdom
Monera
 ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง, ไม่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส
 สารพันธุกรรมอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า
nucleoid
 ไม่มี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม
 ได้แก่ bacteria ,blue green
algae
Eukaryotic cell (eu=true)
 พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plante และ Animalia
 มีนิวเคลียสที่แท้จริง, หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส
 สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส
 ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol และมี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม
Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส
Cytosol = สารกิ่งของเหลงภายใน cytoplasm
8
9
Basic Of Cell Structure
10
11
 ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็นไมโครวิลไลและเยื่อไมอีลิน
12
Nuclear envelope
 เป็นเยื่อ 2 ชั้น มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้
ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม
Nucleolus
• มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด
มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ทาหน้าที่สร้าง ribosome
13
นิวเคลียส (nucleus)
14
Ribosomes
ไม่มีเยื่อหุ้ม สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus (เซลล์ที่สร้างโปรตีนสูงจะพบ nucleolus
และ ribosome จานวนมาก เช่นเซลล์ตับของคน) แบ่งเป็น 2 ชนิด
15
1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolismใน
cytoplasm
2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ organelles
อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
16
17
Cytoskeleton
1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin และอาจ
มี myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของ
กล้ามเนื้อ การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของไซโตพลาสซึม
(แบ่งเซลล์) pseudopodia movement หรือ ameboid
movement
2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก ประกอบด้วย
โปรตีนอย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรงดึง เช่น เดสโมโซมที่
ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับการยึด
กันของไมโครฟิลาเมนท์ในเซลล์กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุน
axon ของเซลล์ประสาท
3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็งที่สุด พบ
เป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโตรโซม และเซน
ตริโอล มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของโครโมโซม (แบ่งเซลล์)
ออร์การ์เนลล์ในไซโตพลาสซึม และ ซีเลียกับแฟลกเจลลา
Endoplasmic reticulum (ER)
มีเยื่อหุ้ม เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol
ช่องภายใน เรียกว่า cisternal space เชื่อมติดต่อกับ
ช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส
1. Rough endoplasmic reticulum (RER)
มีไรโบโซมเกาะติดด้านนอก (ขรุขระ) สร้างโปรตีนที่ส่งออก
ไปนอกเซลล์ (ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER
cisternal vesicle Golgi complex
เพิ่มคาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก)
2. Smooth endoplasmic reticulum (SER)
ไม่มีไรโบโซมมาเกาะจึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ RER มี
ความสาคัญในการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมัน
ลดความเป็นพิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บ
และปล่อยแคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น
18
The Golgi apparatus
19
เป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar ตรงกลางเป็นท่อแคบและ
ปลายสองข้างโป่งออก และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรด
ให้กับโปรตีนจาก RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ
exocytosis, สร้าง primary lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้าง
ผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
Lysosomes
 เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มรูปกลมขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทาหน้าที่ย่อย
โมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดที่ pH 5)
 Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER และส่งต่อไปยัง Golgi
complex
 intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์ของคน เช่น macrophage โดยวิธี
phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมกับ lysosome เอ็นไซม์ในcytosome จะทาหน้าที่
ย่อยอาหารนั้น
 การย่อย organelles ในไซโตพลาสซึมเพื่อนาสารต่างๆกลับมาใช้สร้างใหม่อีก (autophagy)
 การเกิด metamorphosis ของการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
 มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก ถ้าหากมีความผิดปกติในการทางาน
ของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้
20
Lysosomes
(a) Lysosomes in a white blood cell
21
(b) A Lysosome in action
Peroxisome
fragment
Mitochondrion
fragment
Lysosome
The formation and functions of lysosomes
22
Relationships among organelles of the
endomembrane system
23
Vacuoles
เป็น organelles ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม แต่มีขนาดใหญ่กว่า vesicles
มีแบบต่างๆได้แก่
24
Peroxisomes (microbodies)
พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด เป็นถุงเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่งเป็นที่รวม
ของเอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม
เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทาลาย hydrogen peroxide (H2O2)
เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นภายในเซลล์
RH2 + O2
Oxidase R + H2O2
2H2O2
catalase 2H2O + O2
ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับการทาลายพิษ
ของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol
25
Mitochondria
 พบใน eukaryotic cell เกือบทุกชนิด มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่น
เข้าข้างในเรียกว่า cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่
ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane space) และช่องที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน
(mitochodrial matrix)
มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) : ATP
มี DNA และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการพลังงาน
26
Chloroplast
Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า
chlorophyll ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma ภายในมีถุงแบน
thylakoids ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum
มี DNA และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์แสง
27
Plastid มี 3 ชนิด ได้แก่
1. Leucoplast = ไม่มีสี สะสมแป้งในพืช
2. Chromoplast = สีต่างๆเว้นสีเขียว (มะเขือเทศสีแดง)
3. Chloroplast = สีเขียว สังเคราะห์แสง
Prokaryote
EukaryoteSymbiosis
29
Cell ?
30
31
การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes)
Diffusion and Passive transport
การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณความ
เข้มข้นมากกว่าไปยังน้อยกว่า จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) โดย
โมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสองบริเวณ การแพร่ของโมเลกุล
ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทาให้เกิดการ
แพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ selective permeable ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆ
จะไม่เท่ากัน
32
ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต
ได้แก่ การหายใจของสัตว์
ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจาก
อากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมี
ความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย
ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปใน
เส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน
คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้น
เลือดเข้าสู่ถุงลม
Osmosis
หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้าหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่
เจือจางกว่า (hypoosmotic solution)ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้าน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้น
กว่า (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
33
The water balance of living cells
ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ
เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
34
The contractile vacuole of Paramesium : an
evolutionary adaptation for osmoregulation
Filling vacuole
Contracting vacuole
35
Facilitated diffusion
Transport proteins ช่วยในการนาโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้ม
เซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ
เข้มข้นต่ากว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดย
เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน
36
Active transport
บางครั้งเซลล์ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่าไปยังที่มีความเข้มข้น
สูงกว่า กระบวนการนี้เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานคือ ATP
ตัวอย่างเช่น เซลล์ขับ NA+ ออกนอกเซลล์และนา K+ เข้าไปในเซลล์ ซึ่ง
เรียกว่า Sodium-potassium pump
37
กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่ง
เป็น transport protein แล้ว ATP ให้
พลังงานแก่โปรตีนทาให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่าง
และปล่อย Na+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป
ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีน ทาให้
โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทาให้
K+ ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมี
รูปร่างเหมือนเดิมอีกพร้อมที่จะเริ่มต้น
กระบวนการใหม่ต่อไป
An electrogenic pump
Electrogenic pump เป็น transport protein ที่ทา
ให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์
38
An electrogenic pump
ตัวอย่างเช่น
Na+/K+ pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์สัตว์
Proton pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์พืช แบคทีเรีย และพวก
เห็ดรา รวมทั้ง mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP
39
Cotransport เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียวทางานแล้วมีผลไปทาให้
transport protein ตัวต่อไปทางานเพื่อนาสารเข้าสู่เซลล์
ตัวอย่างเช่น ในเซลล์พืชใช้ proton
pump ร่วมกับ transport protein ที่
นา sucrose –H+ เข้าไปในเซลล์
Diffusion
Facilitated
transport
Active
transport
Passive
transport
40
Phagocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน
cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole
แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic
enzymes ที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้
Endocytosis :Phagocytosis
41
Endocytosis : Pinocytosis
Pinocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้า
ไปเพื่อนาสารเข้าไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm
42
Endocytosis :Receptor-mediated
endocytosis
เป็นการนาสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสาหรับ
สารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนาเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว
receptor สามารถถูกนามาใช้ใหม่ได้อีก
43
44
Exocytosis
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
Wichai Likitponrak
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
supreechafkk
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
พัน พัน
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 

What's hot (20)

เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 

Viewers also liked

คู่มือการสมัครWordpress
คู่มือการสมัครWordpressคู่มือการสมัครWordpress
คู่มือการสมัครWordpress
tassanee chaicharoen
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
Wichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
คู่มือการสมัครWordpress
คู่มือการสมัครWordpressคู่มือการสมัครWordpress
คู่มือการสมัครWordpress
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Endophytic fungi conservation: techniques, advantages, disadvantages
Endophytic fungi conservation: techniques, advantages, disadvantagesEndophytic fungi conservation: techniques, advantages, disadvantages
Endophytic fungi conservation: techniques, advantages, disadvantages
 
แบบทดสอบระบบนิเวศ
แบบทดสอบระบบนิเวศแบบทดสอบระบบนิเวศ
แบบทดสอบระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายแบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลาย
 
แบบทดสอบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
แบบทดสอบสิ่งแวดล้อมยั่งยืนแบบทดสอบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
แบบทดสอบสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
แบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีนแบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีน
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 

Similar to เซลล์

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
Issara Mo
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
Phattarawan Wai
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 

Similar to เซลล์ (20)

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
4
44
4
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

เซลล์

  • 1. 1 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ รายวิชาชีววิทยา 1รหัสวิชา ว32141 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
  • 2. 2
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. 5 GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS - สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้นดังนี้ - เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด - ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
  • 6. The size range of cells ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง Myoplasma แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ eukaryotic cell 0.1 - 1.0 ไมครอน 1.0 - 10.0 ไมครอน 10.0 - 100.0 ไมครอน 6
  • 7. Prokaryotic and Eukaryotic cell 7 Prokaryotic cell (pro=before)  พบเฉพาะใน Kingdom Monera  ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง, ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส  สารพันธุกรรมอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า nucleoid  ไม่มี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม  ได้แก่ bacteria ,blue green algae
  • 8. Eukaryotic cell (eu=true)  พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plante และ Animalia  มีนิวเคลียสที่แท้จริง, หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส  สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส  ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol และมี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส Cytosol = สารกิ่งของเหลงภายใน cytoplasm 8
  • 9. 9 Basic Of Cell Structure
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 13. Nuclear envelope  เป็นเยื่อ 2 ชั้น มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้ ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรมที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม Nucleolus • มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ทาหน้าที่สร้าง ribosome 13 นิวเคลียส (nucleus)
  • 14. 14
  • 15. Ribosomes ไม่มีเยื่อหุ้ม สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus (เซลล์ที่สร้างโปรตีนสูงจะพบ nucleolus และ ribosome จานวนมาก เช่นเซลล์ตับของคน) แบ่งเป็น 2 ชนิด 15 1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolismใน cytoplasm 2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ organelles อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
  • 16. 16
  • 17. 17 Cytoskeleton 1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin และอาจ มี myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของ กล้ามเนื้อ การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของไซโตพลาสซึม (แบ่งเซลล์) pseudopodia movement หรือ ameboid movement 2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก ประกอบด้วย โปรตีนอย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรงดึง เช่น เดสโมโซมที่ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับการยึด กันของไมโครฟิลาเมนท์ในเซลล์กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุน axon ของเซลล์ประสาท 3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็งที่สุด พบ เป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโตรโซม และเซน ตริโอล มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของโครโมโซม (แบ่งเซลล์) ออร์การ์เนลล์ในไซโตพลาสซึม และ ซีเลียกับแฟลกเจลลา
  • 18. Endoplasmic reticulum (ER) มีเยื่อหุ้ม เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol ช่องภายใน เรียกว่า cisternal space เชื่อมติดต่อกับ ช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส 1. Rough endoplasmic reticulum (RER) มีไรโบโซมเกาะติดด้านนอก (ขรุขระ) สร้างโปรตีนที่ส่งออก ไปนอกเซลล์ (ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER cisternal vesicle Golgi complex เพิ่มคาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก) 2. Smooth endoplasmic reticulum (SER) ไม่มีไรโบโซมมาเกาะจึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ RER มี ความสาคัญในการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมัน ลดความเป็นพิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บ และปล่อยแคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น 18
  • 19. The Golgi apparatus 19 เป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar ตรงกลางเป็นท่อแคบและ ปลายสองข้างโป่งออก และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรด ให้กับโปรตีนจาก RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ exocytosis, สร้าง primary lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้าง ผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
  • 20. Lysosomes  เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มรูปกลมขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทาหน้าที่ย่อย โมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดที่ pH 5)  Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER และส่งต่อไปยัง Golgi complex  intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์ของคน เช่น macrophage โดยวิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมกับ lysosome เอ็นไซม์ในcytosome จะทาหน้าที่ ย่อยอาหารนั้น  การย่อย organelles ในไซโตพลาสซึมเพื่อนาสารต่างๆกลับมาใช้สร้างใหม่อีก (autophagy)  การเกิด metamorphosis ของการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก  มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก ถ้าหากมีความผิดปกติในการทางาน ของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้ 20
  • 21. Lysosomes (a) Lysosomes in a white blood cell 21 (b) A Lysosome in action Peroxisome fragment Mitochondrion fragment Lysosome
  • 22. The formation and functions of lysosomes 22
  • 23. Relationships among organelles of the endomembrane system 23
  • 24. Vacuoles เป็น organelles ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม แต่มีขนาดใหญ่กว่า vesicles มีแบบต่างๆได้แก่ 24
  • 25. Peroxisomes (microbodies) พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด เป็นถุงเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่งเป็นที่รวม ของเอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทาลาย hydrogen peroxide (H2O2) เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นภายในเซลล์ RH2 + O2 Oxidase R + H2O2 2H2O2 catalase 2H2O + O2 ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับการทาลายพิษ ของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol 25
  • 26. Mitochondria  พบใน eukaryotic cell เกือบทุกชนิด มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่น เข้าข้างในเรียกว่า cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane space) และช่องที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (mitochodrial matrix) มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) : ATP มี DNA และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการพลังงาน 26
  • 27. Chloroplast Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma ภายในมีถุงแบน thylakoids ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum มี DNA และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์แสง 27 Plastid มี 3 ชนิด ได้แก่ 1. Leucoplast = ไม่มีสี สะสมแป้งในพืช 2. Chromoplast = สีต่างๆเว้นสีเขียว (มะเขือเทศสีแดง) 3. Chloroplast = สีเขียว สังเคราะห์แสง
  • 30. 30
  • 32. Diffusion and Passive transport การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณความ เข้มข้นมากกว่าไปยังน้อยกว่า จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) โดย โมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสองบริเวณ การแพร่ของโมเลกุล ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทาให้เกิดการ แพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ selective permeable ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆ จะไม่เท่ากัน 32 ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต ได้แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจาก อากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมี ความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปใน เส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้น เลือดเข้าสู่ถุงลม
  • 34. The water balance of living cells ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์ 34
  • 35. The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filling vacuole Contracting vacuole 35
  • 36. Facilitated diffusion Transport proteins ช่วยในการนาโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้ม เซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นต่ากว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดย เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน 36
  • 37. Active transport บางครั้งเซลล์ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่าไปยังที่มีความเข้มข้น สูงกว่า กระบวนการนี้เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานคือ ATP ตัวอย่างเช่น เซลล์ขับ NA+ ออกนอกเซลล์และนา K+ เข้าไปในเซลล์ ซึ่ง เรียกว่า Sodium-potassium pump 37 กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่ง เป็น transport protein แล้ว ATP ให้ พลังงานแก่โปรตีนทาให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่าง และปล่อย Na+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีน ทาให้ โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทาให้ K+ ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมี รูปร่างเหมือนเดิมอีกพร้อมที่จะเริ่มต้น กระบวนการใหม่ต่อไป
  • 38. An electrogenic pump Electrogenic pump เป็น transport protein ที่ทา ให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ 38
  • 39. An electrogenic pump ตัวอย่างเช่น Na+/K+ pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์สัตว์ Proton pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์พืช แบคทีเรีย และพวก เห็ดรา รวมทั้ง mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP 39 Cotransport เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียวทางานแล้วมีผลไปทาให้ transport protein ตัวต่อไปทางานเพื่อนาสารเข้าสู่เซลล์ ตัวอย่างเช่น ในเซลล์พืชใช้ proton pump ร่วมกับ transport protein ที่ นา sucrose –H+ เข้าไปในเซลล์
  • 41. Phagocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้ Endocytosis :Phagocytosis 41
  • 42. Endocytosis : Pinocytosis Pinocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้า ไปเพื่อนาสารเข้าไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm 42
  • 43. Endocytosis :Receptor-mediated endocytosis เป็นการนาสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสาหรับ สารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนาเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนามาใช้ใหม่ได้อีก 43
  • 45. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!