SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต หมายถึง  “การรักษาปัจจัยต่างๆของสิ่งมีชีวิตให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้นๆต่อไปได้ซึ่ง จะเกิดขึ้นในทุกๆระดับในการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต ”
การรักษาดุลยภาพของเซลล์ เซลล์มีการรักษาดุลยภาพ เพื่อให้ดำรงสภาพที่เหมาะต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ ซึ่งถือเป็นสมบัติประการหนึ่งของความเป็นสิ่งมีชีวิต เนื่องจากเซลล์ต้องการสารอาหารเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตและขับถ่ายของเสียจากการใช้สารอาหารเหล่านั้นออกมาสู่เซลล์เป็นประจำ ดังนั้น การรักษาดุลยภาพของเซลล์จะกระทำโดยการควบคุมการลำเลียงสารผ่านเซลล์  ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบดังต่อไปนี้ ...
รูปแบบของการลำเลียงสารผ่านเซลล์ “ การลำเลียงสารผ่านเซลล์” การลำเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน เอนโดไซโทซิส เอกโซไซโตซิส การแพร่แบบธรรมดา ออสโมซิส การลำเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การแพร่แบบมีตัวช่วย
1.  การแพร่แบบธรรมดา  ( Simple diffusion ) การลำเลียงสารที่อาศัย การเคลื่อนที่ของอนุภาคสาร “จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นน้อย”
-  การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารในการแพร่จะใช้เพียงแค่ พลังงานจลน์ของอนุภาคสารนั้นๆ -  เมื่อ ทุกบริเวณที่อนุภาคสารนั้นแพร่ไปมีความเข้มข้นของอนุภาคสารเท่ากันก็จะทำให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของอนุภาคสารเท่ากันทุกบริเวณ  เรียกสภาวะนี้ว่า  “สมดุลของการแพร่”   ( Dynamic equilibrium )
-  สารที่จะลำเลียงผ่านเซลล์ด้วยวิธีการแพร่แบบธรรมดา  มักจะเป็นสารที่มีอนุภาคขนาดเล็ก  เช่น  ก๊าซออกซิเจน ,  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งวิตามินที่ละลายได้ในไขมัน
2.  ออสโมซิส  ( Osmosis ) การลำเลียงสารที่เป็นการแพร่แบบหนึ่งซึ่งเจาะจงถึง  “น้ำ”   ( H 2 O )  เท่านั้นโดยต้องแพร่ผ่าน เยื่อที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน  หลักการของออสโมซิสจะเหมือนกับการแพร่แบบธรรมดา
-  ออสโมซิสถือเป็นกระบวนการที่ เซลล์จะนำมาใช้ในการรักษาดุลยภาพในด้านความเข้มข้นของสารละลาย  เนื่องจาก ภายในเซลล์มีน้ำเป็นตัวทำละลายที่สำคัญ และมีตัวถูกละลายมากมายหลายชนิด อีกทั้ง เซลล์ยังอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความเข้มข้นต่างกันไปด้วย -  หากจะเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารละลายในสภาพแวดล้อมกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์จะมีอยู่  3  ลักษณะ ได้แก่ ...
สารละลายไอโซโทนิกต่อเซลล์ -   สารละลายที่มีความเข้มข้น  “เท่ากับ”  ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด -  หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไอโซโทนิกต่อเซลล์  อัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์จะเท่ากับอัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลาย ทำให้เซลล์อยู่ในสภาพที่เซลล์สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติ ไม่ว่าจะเป็น เซลล์สัตว์   ( บน )  หรือ เซลล์พืช   ( ล่าง )
สารละลายไฮเปอร์โทนิกต่อเซลล์ -   สารละลายที่มีความเข้มข้น  “มากกว่า”  ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด -  หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไฮเปอร์โทนิกต่อเซลล์  อัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลายมากกว่าอัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์  ทำให้เกิดเซลล์ที่มีสภาพเรียกว่า  “พลาสโมไลซิส”   ( Plasmolysis )  หรือ เซลล์เหี่ยวจากการขาดน้ำ
สารละลายไฮโปโทนิกต่อเซลล์ -   สารละลายที่มีความเข้มข้น  “น้อยกว่า”  ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด -  หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไฮโปโทนิกต่อเซลล์  อัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์จะมากกว่าอัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลาย ทำให้เกิดเซลล์ที่มีสภาพเรียกว่า  “พลาสมอปไทซิส”   ( Plasmoptysis )  หรือ เซลล์เต่ง  ซึ่งในกรณีของ เซลล์สัตว์  ( บน )   สามารถเต่งจนแตกได้
3.  การแพร่แบบมีตัวช่วย  ( Facilitated diffusion ) การลำเลียงสารที่เป็นการแพร่แบบหนึ่งที่ต้องใช้องค์ประกอบหนึ่งในเยื่อหุ้มเซลล์ คือ  “โปรตีนตัวพา”   ( Carrier proteins )  นำพาสารลำเลียงผ่านเซลล์  แต่มีอัตราการลำเลียงสารที่เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
-  สารที่จะลำเลียงด้วยวิธีนี้มักจะเป็น สารที่มีขนาดอนุภาคเล็กแต่ไม่สามารถแทรกเข้าไปยังส่วนของสารฟอสโฟลิปิดในเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้  เช่น ไอออนของธาตุต่างๆ ,  กลีเซอรอล ,  กลูโคส ,  กรดอะมิโนชนิดต่างๆ  -  ทั้งการแพร่แบบธรรมดา ,  ออสโมซิส และการแพร่แบบมีตัวช่วยจะรวมเรียกว่า  “การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน”   ( Passive transport )
4.  การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน  ( Active transport ) การลำเลียงสารที่มีหลักการต่างจากการลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน คือ  อนุภาคสารจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นน้อยไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นมาก -  พลังงานที่ใช้ในการลำเลียงสารวิธีนี้มาจาก การสลายสารพลังงานสูง  ATP
-  พลังงานจากการสลายสาร  ATP  จะถูกนำมาใช้ เป็นแรงผลักดันให้อนุภาคสารที่จะลำเลียงได้ลำเลียงผ่านทางช่องทางของโปรตีนตัวพา  และในบางกรณี สารบางอย่างต้องลำเลียงพร้อมกับการลำเลียงสารชนิดอื่น ด้วย -  ตัวอย่างการลำเลียงสารด้วยวิธีนี้ เช่น  การลำเลียงไอออนของแร่ธาตุเพื่อการสะสมในเซลล์พืช ,   ปั๊มของโซเดียมและโพแทสเซียมในเซลล์ประสาท
5.  เอกโซไซโทซิส  ( Exocytosis ) การลำเลียงสาร ออกจากเซลล์โดยการสร้างถุงบรรจุสารที่จะลำเลียงภายในเซลล์ เรียกว่า “เวสิเคิล”   ( Vesicle )  แล้วนำมา เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์จนเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วปลดปล่อยสารนั้นออกจากเซลล์
-  สารที่ลำเลียงด้วยวิธีการนี้ มักจะเป็นสารที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ เช่น เอนไซม์หรือฮอร์โมนบางชนิด  ตัวอย่างการลำเลียงสารด้วยวิธีนี้ ได้แก่  การหลั่งเอนไซม์ของเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร
6.  เอนโดไซโทซิส  ( Endocytosis ) การลำเลียงสาร เข้าสู่เซลล์โดยอาศัยเยื่อหุ้มเซลล์โอบล้อมสารที่จะลำเลียงจนหลุดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์  เอนโดไซโทซิสจะมีอยู่   3  รูปแบบ  ได้แก่ ...
ฟาโกไซโทซิส  ( Phagocytosis ) -  เอนโดไซโทซิสที่เกิดจาก การยื่นส่วนของไซโตพลาซึมไปโอบล้อมสารที่จะลำเลียง จากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่ไซโตพลาซึมยื่นไปฉีกขาดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์ -  เช่น  การนำเชื้อโรคเข้าสู่เซลล์ของเซลล์เม็ดเลือดขาวโมโนไซต์
พิโนไซโทซิส  ( Pinocytosis ) -  เอนโดไซโทซิสที่เกิดจาก การที่เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปภายในเซลล์ สารที่จะลำเลียงจะเข้าไปอยู่ในรอยเว้านั้น จากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่เว้าจะฉีกขาดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์ -  เช่น  การนำสารเข้าสู่เซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือด
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยสารตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ -  เอนโดไซโทซิสที่มีวิธีการคล้ายคลึงกับพิโนไซโทซิส แต่ สารที่จะลำเลียงจะต้องมาจับกับ “สารตัวรับ”   ( Receptor )  ที่เยื่อหุ้มเซลล์เสียก่อนที่จะฉีกขาดเป็นเวสิเคิล -  เช่น  การนำโคเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์ตับ

More Related Content

What's hot

ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdfssuser1621fc
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตkanokwun131
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการDuangnapa Inyayot
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 

What's hot (20)

ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์.pdf
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟตปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
ปฏิกิริยาระหว่างน้ำแป้ง+ไอโอดีนกับโซเดียมไทโอซัลเฟต
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Viewers also liked

ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายNan Nam
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (7)

ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2

สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารAui Ounjai
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transportkasidid20309
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560Phajon Kamta
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell prapassri
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 

Similar to ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2 (20)

สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 

More from Tatthep Deesukon

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

More from Tatthep Deesukon (6)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2

  • 1. การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต หมายถึง “การรักษาปัจจัยต่างๆของสิ่งมีชีวิตให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้นๆต่อไปได้ซึ่ง จะเกิดขึ้นในทุกๆระดับในการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต ”
  • 2. การรักษาดุลยภาพของเซลล์ เซลล์มีการรักษาดุลยภาพ เพื่อให้ดำรงสภาพที่เหมาะต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ ซึ่งถือเป็นสมบัติประการหนึ่งของความเป็นสิ่งมีชีวิต เนื่องจากเซลล์ต้องการสารอาหารเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตและขับถ่ายของเสียจากการใช้สารอาหารเหล่านั้นออกมาสู่เซลล์เป็นประจำ ดังนั้น การรักษาดุลยภาพของเซลล์จะกระทำโดยการควบคุมการลำเลียงสารผ่านเซลล์ ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบดังต่อไปนี้ ...
  • 3. รูปแบบของการลำเลียงสารผ่านเซลล์ “ การลำเลียงสารผ่านเซลล์” การลำเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน เอนโดไซโทซิส เอกโซไซโตซิส การแพร่แบบธรรมดา ออสโมซิส การลำเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การแพร่แบบมีตัวช่วย
  • 4. 1. การแพร่แบบธรรมดา ( Simple diffusion ) การลำเลียงสารที่อาศัย การเคลื่อนที่ของอนุภาคสาร “จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นน้อย”
  • 5. - การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารในการแพร่จะใช้เพียงแค่ พลังงานจลน์ของอนุภาคสารนั้นๆ - เมื่อ ทุกบริเวณที่อนุภาคสารนั้นแพร่ไปมีความเข้มข้นของอนุภาคสารเท่ากันก็จะทำให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของอนุภาคสารเท่ากันทุกบริเวณ เรียกสภาวะนี้ว่า “สมดุลของการแพร่” ( Dynamic equilibrium )
  • 6. - สารที่จะลำเลียงผ่านเซลล์ด้วยวิธีการแพร่แบบธรรมดา มักจะเป็นสารที่มีอนุภาคขนาดเล็ก เช่น ก๊าซออกซิเจน , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งวิตามินที่ละลายได้ในไขมัน
  • 7. 2. ออสโมซิส ( Osmosis ) การลำเลียงสารที่เป็นการแพร่แบบหนึ่งซึ่งเจาะจงถึง “น้ำ” ( H 2 O ) เท่านั้นโดยต้องแพร่ผ่าน เยื่อที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน หลักการของออสโมซิสจะเหมือนกับการแพร่แบบธรรมดา
  • 8. - ออสโมซิสถือเป็นกระบวนการที่ เซลล์จะนำมาใช้ในการรักษาดุลยภาพในด้านความเข้มข้นของสารละลาย เนื่องจาก ภายในเซลล์มีน้ำเป็นตัวทำละลายที่สำคัญ และมีตัวถูกละลายมากมายหลายชนิด อีกทั้ง เซลล์ยังอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความเข้มข้นต่างกันไปด้วย - หากจะเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารละลายในสภาพแวดล้อมกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์จะมีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ ...
  • 9. สารละลายไอโซโทนิกต่อเซลล์ - สารละลายที่มีความเข้มข้น “เท่ากับ” ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด - หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไอโซโทนิกต่อเซลล์ อัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์จะเท่ากับอัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลาย ทำให้เซลล์อยู่ในสภาพที่เซลล์สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติ ไม่ว่าจะเป็น เซลล์สัตว์ ( บน ) หรือ เซลล์พืช ( ล่าง )
  • 10. สารละลายไฮเปอร์โทนิกต่อเซลล์ - สารละลายที่มีความเข้มข้น “มากกว่า” ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด - หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไฮเปอร์โทนิกต่อเซลล์ อัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลายมากกว่าอัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ ทำให้เกิดเซลล์ที่มีสภาพเรียกว่า “พลาสโมไลซิส” ( Plasmolysis ) หรือ เซลล์เหี่ยวจากการขาดน้ำ
  • 11. สารละลายไฮโปโทนิกต่อเซลล์ - สารละลายที่มีความเข้มข้น “น้อยกว่า” ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ที่กำหนด - หากเซลล์ใดที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นสารละลายไฮโปโทนิกต่อเซลล์ อัตราที่น้ำจากสารละลายออสโมซิสเข้าสู่เซลล์จะมากกว่าอัตราที่น้ำจากเซลล์จะออสโมซิสออกสู่สารละลาย ทำให้เกิดเซลล์ที่มีสภาพเรียกว่า “พลาสมอปไทซิส” ( Plasmoptysis ) หรือ เซลล์เต่ง ซึ่งในกรณีของ เซลล์สัตว์ ( บน ) สามารถเต่งจนแตกได้
  • 12. 3. การแพร่แบบมีตัวช่วย ( Facilitated diffusion ) การลำเลียงสารที่เป็นการแพร่แบบหนึ่งที่ต้องใช้องค์ประกอบหนึ่งในเยื่อหุ้มเซลล์ คือ “โปรตีนตัวพา” ( Carrier proteins ) นำพาสารลำเลียงผ่านเซลล์ แต่มีอัตราการลำเลียงสารที่เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
  • 13. - สารที่จะลำเลียงด้วยวิธีนี้มักจะเป็น สารที่มีขนาดอนุภาคเล็กแต่ไม่สามารถแทรกเข้าไปยังส่วนของสารฟอสโฟลิปิดในเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรงได้ เช่น ไอออนของธาตุต่างๆ , กลีเซอรอล , กลูโคส , กรดอะมิโนชนิดต่างๆ - ทั้งการแพร่แบบธรรมดา , ออสโมซิส และการแพร่แบบมีตัวช่วยจะรวมเรียกว่า “การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน” ( Passive transport )
  • 14. 4. การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน ( Active transport ) การลำเลียงสารที่มีหลักการต่างจากการลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน คือ อนุภาคสารจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นน้อยไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคสารนั้นมาก - พลังงานที่ใช้ในการลำเลียงสารวิธีนี้มาจาก การสลายสารพลังงานสูง ATP
  • 15. - พลังงานจากการสลายสาร ATP จะถูกนำมาใช้ เป็นแรงผลักดันให้อนุภาคสารที่จะลำเลียงได้ลำเลียงผ่านทางช่องทางของโปรตีนตัวพา และในบางกรณี สารบางอย่างต้องลำเลียงพร้อมกับการลำเลียงสารชนิดอื่น ด้วย - ตัวอย่างการลำเลียงสารด้วยวิธีนี้ เช่น การลำเลียงไอออนของแร่ธาตุเพื่อการสะสมในเซลล์พืช , ปั๊มของโซเดียมและโพแทสเซียมในเซลล์ประสาท
  • 16. 5. เอกโซไซโทซิส ( Exocytosis ) การลำเลียงสาร ออกจากเซลล์โดยการสร้างถุงบรรจุสารที่จะลำเลียงภายในเซลล์ เรียกว่า “เวสิเคิล” ( Vesicle ) แล้วนำมา เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์จนเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วปลดปล่อยสารนั้นออกจากเซลล์
  • 17. - สารที่ลำเลียงด้วยวิธีการนี้ มักจะเป็นสารที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ เช่น เอนไซม์หรือฮอร์โมนบางชนิด ตัวอย่างการลำเลียงสารด้วยวิธีนี้ ได้แก่ การหลั่งเอนไซม์ของเซลล์เยื่อบุผิวของกระเพาะอาหาร
  • 18. 6. เอนโดไซโทซิส ( Endocytosis ) การลำเลียงสาร เข้าสู่เซลล์โดยอาศัยเยื่อหุ้มเซลล์โอบล้อมสารที่จะลำเลียงจนหลุดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์ เอนโดไซโทซิสจะมีอยู่ 3 รูปแบบ ได้แก่ ...
  • 19. ฟาโกไซโทซิส ( Phagocytosis ) - เอนโดไซโทซิสที่เกิดจาก การยื่นส่วนของไซโตพลาซึมไปโอบล้อมสารที่จะลำเลียง จากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่ไซโตพลาซึมยื่นไปฉีกขาดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์ - เช่น การนำเชื้อโรคเข้าสู่เซลล์ของเซลล์เม็ดเลือดขาวโมโนไซต์
  • 20. พิโนไซโทซิส ( Pinocytosis ) - เอนโดไซโทซิสที่เกิดจาก การที่เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปภายในเซลล์ สารที่จะลำเลียงจะเข้าไปอยู่ในรอยเว้านั้น จากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่เว้าจะฉีกขาดกลายเป็นเวสิเคิลเข้าไปภายในเซลล์ - เช่น การนำสารเข้าสู่เซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือด
  • 21. การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยสารตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ - เอนโดไซโทซิสที่มีวิธีการคล้ายคลึงกับพิโนไซโทซิส แต่ สารที่จะลำเลียงจะต้องมาจับกับ “สารตัวรับ” ( Receptor ) ที่เยื่อหุ้มเซลล์เสียก่อนที่จะฉีกขาดเป็นเวสิเคิล - เช่น การนำโคเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์ตับ