SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
สอนโดย
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
นักเรียนคิดว่า
เมื่อถือช้อนทั้งสองคันไว้
ระยะเวลาหนึ่ง น้้าแข็งใน
ช้อนใดจะละลายได้มากกว่า
กัน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ?
การถ่ายเทพลังงานจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปยังที่มีอุณหภูมิ
ต่่ำกว่ำ จนกระทั่งอุณหภูมิทั้งสองบริเวณเท่ากันการถ่ายโอน
ความร้อนจะหยุดลงซึ่งเรียกว่า สมดุลควำมร้อน การถ่ายโอน
ความร้อนมี 3 วิธี
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การพาความร้อน
การนาความร้อน
การแผ่รังสีความร้อน
การถ่ายโอนพลังงานความร้อนที่เกิดกับตัวกลำงที่เป็น
ของแข็ง ซึ่งโมเลกุลของตัวกลำงไม่ได้เคลื่อนที่ แต่อาศัยการ
สั่นสะเทือนในการส่งต่อพลังงานความร้อน
การนาความร้อน
(Conduction)
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
วัตถุที่ยอมให้พลังงำนควำมร้อนเคลื่อนที่ผ่ำนไปได้ ซึ่งโลหะ
ทุกชนิดมีสมบัติเป็นตัวน้าความร้อนที่ดี
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การนาความร้อน
(Conduction)
ตัวน่ำควำมร้อน (Conductor)
วัตถุที่ไม่ยอมให้พลังงำนควำมร้อนผ่ำนไปได้ อโลหะ
ทั้งหลายมีสมบัติเป็นฉนวนความร้อน ไม่ว่าเป็นแก้ว ไม้ พลาสติก
ยกเว้นแกรไฟต์เป็นตัวน้าความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การนาความร้อน
(Conduction)
ฉนวนควำมร้อน (Insulator)
การพาความร้อน
(Convection)
การถ่ายโอนพลังงานความร้อนที่เกิดกับตัวกลำงที่เป็น
ของเหลวหรือแก๊ส ซึ่งโมเลกุลของตัวกลำงมีกำรเคลื่อนที่จำกจุด
ที่อุณหภูมิสูงไปสู่จุดที่อุณหภูมิต่่ำกว่ำ
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยไม่อำศัยตัวกลำง
เป็นการถ่ายโอนในรูปแบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การแผ่รังสีความร้อน
(Radiation)
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
เกิดการถ่ายเทพลังงานให้แก่กันและกัน
อุณหภูมิสมดุล
หรือเท่ากันก็
จะหยุดการ
ถ่ายเทพลังงาน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กิจกรรมกัปตันยูชีจินกับความร้อน
กัปตันยูชีจินไปท้าสงครามที่ประเทศอุรุคแต่เขาเกิดพลัดหลงเข้าไปใน
ป่า เมื่อเวลาผ่านไปเขารู้สึกหิวมากเขาพบหมูป่าตัวหนึ่งจึงตัดสินใจฆ่า
หมูป่าตัวนั้น แต่เขาไม่สามารถกินเนื้อหมูป่าดิบๆได้เนื่องจากในเนื้อ
ดิบมีพยาธิ แต่เขาไม่มีเชื้อเพลิงและบริเวณนั้นมีอากาศชื่นไม่สามารถ
กระเทาะหินให้เกิดไฟได้ เมื่อเขาเดินต่อไปเขาพบว่ามีบ่อน้้าพุร้อนอยู่
ตรงหน้าเขา แต่น้้าในบ่อนี้ไม่สะอาดพอที่จะน้าเนื้อหมูป่าลงไปจุ่ม
นักเรียนช่วยกัปตันยูชีจินคิดดูสิว่าจะน้าความร้อนในบ่อน้้าพุร้อนมา
ใช้ได้ด้วยวิธีใด โดยในที่นี้จะใช้ดินน้้ามันแทนเนื้อหมูป่า และบ่อน้้าพุ
ร้อนคือน้้าที่ใส่ในกระทะชุดการน้าความร้อนที่มีการเดือด ซึ่งวัสดุ
อุปกรณ์ที่ใช้ที่ก้าหนดให้ดังต่อไปนี้ แท่งไม้ แก้ว ทองแดง เหล็กและ
อะลูมิเนียมนักเรียนจะมีวิธีการใดที่จะท้าให้ดินน้้ามันเกิดความร้อน
เร็วที่สุด
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ท่ำนำยว่ำเมื่อควำมร้อนผ่ำนตัวน่ำชนิดใด เมื่อควำมร้อนผ่ำนตัวน่ำชนิดใด
จะน่ำควำมร้อนได้ดีที่สุด และดินน่ำมันจะเกิด น่ำควำมร้อนได้ดีที่สุด และดินน่ำมันเกิด
กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงไร กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงไร
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กระทะหรือหม้อหุงต้ม
ตัวกระทะหรือหม้อหุงต้มที่ต้องการให้ความร้อนส่งผ่านไปยังอาหาร
ที่ปรุงได้รวดเร็ว นิยมทาด้วยสเตนเลสหรืออะลูมิเนียม แต่ด้ามจับหรือหูหิ้ว
นิยมทาด้วยพลาสติกเพราะเป็นฉนวนความร้อน
ประโยชน์ของการนาความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
เตารีด
พื้นของเตารีดจะทาด้วยโลหะที่จะนาความร้อนไปสู่ผ้าที่ต้องการรีด
แต่มือจับที่ติดกับตัวของเตารีดจะทาด้วยพลาสติกเพราะเป็นฉนวนความร้อน
ประโยชน์ของการนาความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กระติกน้าแข็ง
กระติกน้าแข็งเป็นภาชนะที่ใช้เก็บอาหารรักษาอาหารและเครื่องดื่มให้เย็น
ตัวกระติกจึงนิยมทาด้วยพลาสติก เนื่องจากพลาสติกเป็นฉนวนความร้อน
ดังนั้นความร้อนจากภายนอกจึงไม่สามารถส่งผ่านเข้าไปในกระติกได้
ประโยชน์ของการนาความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ลมทะเล
ในตอนกลำงวันที่อำกำศร้อน แผ่นดินจะได้รับควำมร้อนเร็วกว่ำ
แผ่นน่ำอำกำศร้อนเหนือแผ่นดินจะลอยตัวขึนสูง อำกำศร้อนนีจะถูก
แทนที่ด้วยอำกำศที่เย็นกว่ำและมีควำมหนำแน่นมำกกว่ำที่เคลื่อนที่มำจำก
ทะเล ท่ำให้เกิดลมเคลื่อนที่เข้ำหำฝั่ง เรำจึงเรียกว่ำ ลมทะเล
ประโยชน์ของการพาความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ลมบก
ในตอนกลำงคืน บริเวณแผ่นดินเย็นตัวเร็วกว่ำทะเล อำกำศร้อน
เหนือพืนทะเลจะลอยตัวสูงขึน อำกำศเย็นจำกแผ่นดินก็จะเคลื่อนที่ไป
แทนที่จึงท่ำให้เกิดลมเคลื่อนที่จำกแผ่นดินออกไปสู่ทะเล จึงเรียกว่ำ ลมบก
ประโยชน์ของการพาความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กระจก
อาคารบางอาคารใช้กระจกประกอบเป็นผนังของอาคาร ความมันวาวของผนัง
กระจกจะสะท้อนรังสีความร้อน ด้วยเหตุที่กระจกเป็นตัวนาความร้อนที่ไม่ดี
ความร้อนจึงไม่สามารถส่งผ่านจากภายนอกอาคารเข้าไปในอาคารได้ง่าย
ประโยชน์ของการแผ่รังสีความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
แผ่นอะลูมิเนียมฟอยด์
แผ่นอะลูมิเนียมฟอยด์ที่มีสีเงินเป็นมันใช้ห่ออาหาร จะช่วยให้อาหารมันร้อนอยู่
นานกว่าปกติ
ประโยชน์ของการแผ่รังสีความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
รถบรรทุกน้ามันและถังน้ามัน
ตัวถังของรถบรรทุกน้ามันนิยมเคลือบผิวหน้าด้วยสีขาว เพื่อช่วยให้
สะท้อนรังสีที่มาจากแสงอาทิตย์ ทาให้น้ามันที่บรรจุอยู่ในตัวถังเย็นตัวหรืออุณหภูมิต่า
ป้ องกันการระเหยของน้ามันที่เก็บไว้
ประโยชน์ของการแผ่รังสีความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ชุดนักบินอวกาศ
ชุดภายนอกมีสีขาว เพื่อให้สะท้อนรังสีที่แผ่มาจากดวงอาทิตย์
ประโยชน์ของการแผ่รังสีความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
• แมกซ์ แพลงค์ (Max Planck) พิสูจน์ได้ว่ำ วัตถุทุกชนิดสำมำรถรับพลังงำน
ควำมร้อนในรูปของแสงหรือรังสีจำกดวงอำทิตย์ และสำมำรถถ่ำยเทพลังงำนควำม
ร้อนออกมำ
การดูดกลืนและการคายความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การดูดกลืนและการคายความร้อน
• เมื่อพลังงำนควำมร้อนจำกดวงอำทิตย์มำกระทบ
กับวัตถุบนพืนโลก วัตถุจะดูดกลืนควำมร้อนเก็บ
สะสมไว้ภำยใน จำกนันก็จะแผ่รังสีควำมร้อนหรือ
คำยควำมร้อนออกมำ
• วัตถุที่มีสีอ่อนจะดูดกลืนควำมร้อนได้น้อยกว่ำวัตถุ
สีเข้ม
• วัตถุที่ดูดกลืนควำมร้อนไว้มำก จะแผ่รังสีควำม
ร้อนที่มีควำมยำวคลื่นของแสงสีแดง
• สี : วัตถุที่มีสีเข้ม จะดูดกลืนและคำยควำมร้อน
ได้ดีกว่ำวัตถุที่มีสีอ่อน
• เนือวัตถุ : วัตถุที่มีเนือหยำบ ผิวด้ำน จะ
ดูดกลืนและ คำยควำมร้อนได้ดีกว่ำวัตถุที่มีเนือ
ละเอียด ผิวมัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดกลืนและการคายความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
• พืนที่ผิว : วัตถุที่มีพืนที่ผิวมำก จะดูดกลืนและ
คำยควำมร้อนได้ดีกว่ำวัตถุที่มีพืนที่ผิวน้อย
• อุณหภูมิ : วัตถุที่มีอุณหภูมิต่่ำกว่ำอุณหภูมิของ
สิ่งแวดล้อมมำก จะดูดกลืนควำมร้อนได้เร็ว ส่วน
วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่ำอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม
มำก จะคำยควำมร้อนได้เร็ว
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดกลืนและการคายความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
• การเอกซเรย์ ใช้รังสีเอกซ์ถ่ายภาพส่วนต่างๆ
ของร่างกายลงบนแผ่นฟิล์ม เพื่อวินิจฉัยโรค
เนื่องจากอวัยวะส่วนต่างๆ แผ่รังสีความร้อน
ออกมาไม่เท่ากัน ภาพที่ได้จึงมีสีต่างกัน อวัยวะ
ส่วนใดที่เกิดโรคจะทาให้ภาพที่ออกมามีสีผิด
ไปจากปกติ
• กล้องเทอร์มอล อิมเมจ ใช้ส่องดูวัตถุในที่
มืดสนิท โดยอาศัยหลักการที่ว่า วัตถุทุกชนิดจะ
แผ่รังสีความร้อนออกมาตลอดเวลา โดยบริเวณ
ที่เป็นสีแดง แสดงว่ามีการแผ่รังสีความร้อน
มากที่สุด
การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กำรขยำยตัวของของเหลว
กำรขยำยตัวของของแข็ง
กำรขยำยตัวของแก๊ส
กำรขยำยตัวของของแข็ง
เมื่อได้รับความร้อน จะท้าให้วัตถุมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ส่งผลให้พลังงานจลน์เฉลี่ย
ของโมเลกุลมีค่าเพิ่ม ท้าให้โมเลกุลสั่นมากขึ้น จึงท้าให้วัตถุขยายตัว การขยายตัวเป็น
สมบัติเฉพาะของวัตถุและวัตถุจะหดตัวเมื่อคายความร้อนส่วนที่รับเข้าไปออกมา
กำรสร้ำงตัวควบคุมอุณหภูมิ กำรสร้ำงสะพำนหรือรำงรถไฟ
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กำรขยำยตัวของของเหลว
ของเหลวได้รับความร้อนจะมีการขยายตัวเพิ่มปริมาตรขึ้น
ของเหลวเมื่อได้รับควำมร้อนจะเกิดกำรขยำยตัว ดังนั้นการบรรจุของเหลว
ลงในขวด จะไม่บรรจุจนเต็มขวดต้องเว้นที่ว่างไว้ให้ของเหลวส้าหรับขยาย
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
กำรขยำยตัวของแก๊ส
เมื่ออุณหภูมิของแก๊สสูงขึ้น โมเลกุลจะเคลื่อนที่เร็วมากขึ้น ท้าให้
ระยะห่างระหว่างโมเลกุลเพิ่มมากขึ้น ปริมาตรของแก๊สจึงขยายตัวเพิ่มขึ้น
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
กำรออกแบบบ้ำน กำรสร้ำงบอลลูน
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
• กำรขยำยตัวเชิงเส้น คือ กำรขยำยตัวตำมควำมยำวของวัตถุที่มีควำมยำวมำกกว่ำ
ควำมกว้ำงหรือควำมหนำ
• กำรขยำยตัวเชิงพืนที่ คือ กำรขยำยตัวของวัตถุทังทำงด้ำนกว้ำงและด้ำนยำว
• กำรขยำยตัวเชิงปริมำตร คือ กำรขยำยตัวของวัตถุในทุกทิศทำง
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
THE END
ครูวุฒิพงษ์ ทับกระโทก

More Related Content

What's hot

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

What's hot (20)

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

More from Wuttipong Tubkrathok

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมWuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตWuttipong Tubkrathok
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงWuttipong Tubkrathok
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์Wuttipong Tubkrathok
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ PisaWuttipong Tubkrathok
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดWuttipong Tubkrathok
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินWuttipong Tubkrathok
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์Wuttipong Tubkrathok
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาWuttipong Tubkrathok
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIWuttipong Tubkrathok
 

More from Wuttipong Tubkrathok (20)

สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูงเหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
เหตุผลและความจำเป็นในการพัฒนาความคิดขั้นสูง
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์คุณสมบัติแกรไฟต์
คุณสมบัติแกรไฟต์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisaลักษณะข้อสอบ Pisa
ลักษณะข้อสอบ Pisa
 
การวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิดการวัดความสามารถในการคิด
การวัดความสามารถในการคิด
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
การถ่ายทอดพันธุกรรมมนุษย์
 
The doppler effect
The doppler effect The doppler effect
The doppler effect
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทาแผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
แผนพับแนะนำสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป สวนสุนันทา
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
 

การถ่ายโอนความร้อน ม.1