SlideShare a Scribd company logo
1 of 122
[object Object],[object Object],[object Object]
The size range of cells ชนิดของเซลล์   เส้นผ่าศูนย์กลาง   Myoplasmas แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ   eukaryotic cell   0.1  - 1.0  ไมครอน   1.0  - 10.0  ไมครอน 10.0 - 100.0  ไมครอน
Different Types of Light Microscope: A Comparison Human Cheek Epithelial Cells Brightfield (unstained specimen) Brightfield (stained specimen) Fluorescene Phase-contrast Differential-interference-contrast (Nomarski) Confocal
Electron micrographs Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM)
Cell  Fractionation วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทำได้โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน   organelles  ที่แยกออกมาสามารถนำไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของมัน
Prokaryotic and Eukaryotic cell สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์   เซลล์แบ่งเป็น   2  ชนิด   คือ   1. prokaryotic cell    2. eukaryotic cell    มีโครงสร้างแตกต่างกัน   ดั้งนี้
Prokaryotic cell (pro=before; karyon=kernel)   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
A prokaryotic cell
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Eukaryotic cell (eu=true; karyon=kernel)   Cytoplasm =  บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส Cytosol =  สารกึ่งของเหลงภายใน  cytoplasm
An animal cell
A plant cell
นิวเคลียส   (nucleus) เป็นออร์แกเนลล์ขนาดใหญ่ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสแยกออกจากไซโตพลาสซึมในเซลล์พวกยูคาริโอต   ภายในบรรจุยีนซึ่งควบคุมการทำงานของเซลล์   มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ   5  ไมครอน
The nucleus and the envelope
Nucleolus  มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส   ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด   มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว   ประกอบด้วย   nucleolar organizers  และ   ribosome  ที่กำลังสร้างขึ้น   nucleolus  ทำหน้าที่สร้าง   ribosome  (nucleolar organizers  เป็นส่วนพิเศษของโครโมโซมที่มียีนที่เกี่ยวกับการสร้าง   ribosome  อยู่หลายชุด )
นิวเคลียสทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึม Messenger RNA (mRNA) transcribed in the nucleus from DNA instructions  Passes through nuclear pores into cytoplasm  Attaches to ribosomes where the genetic message is translated into primary structure
Ribosomes เป็น   organelles  ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม   ทำหน้าที่สร้างโปรตีน   มี   2  ส่วนย่อย   (subunit)  สร้างจาก   nucleolus  ในเซลล์ที่มีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่ามี   nucleolus  และ   ribosome  เป็นจำนวนมาก   ตัวอย่างเช่นในเซลล์ตับของคนมี   ribosome  จำนวนมากและมี   nucleolus  ที่เด่นชัดมาก
Ribosome  มี   2  ชนิดคือ   1. free ribosomes   ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน   cytosol  เช่น   เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน   cytoplasm  2. bound ribosomes   เป็น   ribosome  ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ   ER  ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ   organelles  อื่นๆ   และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปใช้นอกเซลล์   ในเซลล์ที่สร้างโปรตีน   เช่น   เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้ำย่อยจะมี   bound ribosomes  เป็นจำนวนมาก
The Endomembrane system ประกอบด้วย   1. Nuclear envelop 2. Endoplasmic reticulum 3. Golgi apparatus 4. Lysosomes 5. Vacuoles 6. Plasma membrane
Endoplasmic reticulum (ER) (Endoplasmic =  อยู่ในไซโตพลาสซึม , reticulum =  ร่างแห ) เป็น   organelles  ที่มีเยื่อหุ้ม   มีลักษณะเป็นท่อแบนหรือกลม   กระจายอยู่ใน   cytosol  ช่องภายในท่อเรียกว่า   cisternal space  ซึ่งท่อนี้มีการเชื่อมติดต่อกับช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียสชั้นนอกและชั้นในด้วย
ER  มี   2  ชนิด   คือ   1. Rough endoplasmic reticulum (RER) มีไรโบโซมเกาะติดอยู่ที่เยื่อหุ้มด้านนอกทำให้มองเห็นขรุขระ   ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์   (secondary protein)  โดยไรโบโซมที่เกาะอยู่นี้สร้างโปรตีน   แล้วผ่านเยื่อของ   ER  เข้าไปใน   cisternal space  แล้วหลุดออกไปจาก   ER  เป็น   transport vesicle  ส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์โดยตรง   หรือนำไปเชื่อมกับเยื่อของ   Golgi complex  เพื่อเพิ่มคาร์โบไฮเดรตแก่โปรตีนที่สร้างขึ้นกลายเป็น   glycoprotein  ก่อนส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
The Golgi apparatus
Golgi complex มีลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน   เรียกว่า   Golgi cisternar  บริเวณตรงกลางเป็นท่อแคบและปลายสองข้างโป่งออก   และมีกลุ่มของถุงกลม   (vesicles)  อยู่รอบๆ   Golgi complex  มีโครงสร้างที่เป็น   2  หน้า   คือ   cis face  และ   trans face  ที่ทำหน้าที่รับและส่ง   cis face  เป็นส่วนของถุงแบนที่นูนอยู่ใกล้กับ   ER transport vesicles  ที่ถูกสร้างมาจาก   RER  เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ   Golgi complex  ทางด้าน   cis face  ส่วน   trans face  เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน   เป็นด้านที่สร้าง   vesicles  และหลุดออกไป
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Lysosomes (a) Lysosomes in a white blood cell
(b) A Lysosome in action Peroxisome fragment Mitochondrion fragment Lysosome
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
The formation and functions of lysosomes
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
Vacuoles เป็น   organelles  ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม   แต่มีขนาดใหญ่กว่า   vesicles  มีแบบต่างๆได้แก่   food vacuole, contractile vacuole  และ   central vacuole
The plant cell vacuole
Relationships among organelles of the endomembrane system
Membranous organelles  อื่นๆ 1.  Energy transducers  ได้แก่   Mitochondria Chloroplast 2. Peroxisomes (microbodies)
The mitochondrion, site of cellular respiration
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
The chloroplast, site of photosynthesis
Chloroplast Chloroplast  เป็น   plastids  ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว   ที่เรียกว่า   chlorophyll  ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทำให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง Chloroplast  มีเยื่อหุ้ม   2  ชั้น   หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า   stroma  ภายในมีถุงแบน   thylakoids  ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า   granum
Peroxisomes
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
The cytoskeleton เป็นโครงสร้างภายในเซลล์   ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนที่ประสานกันเป็นร่างแห   แทรกตัวอยู่ภายใน   cytoplasm   ทำหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษารูปทรงหรือเปลี่ยนรูปทรง   และทำให้เกิดการเคลื่อนไหวภายใน   cytoplasm  และการเคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
The cytoskeleton
Microtubules Microfilaments (Actin Filaments) Intermediate Filaments Cytoskeleton  ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีน   3  ชนิดได้แก่
โครงสร้าง  :   เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย   tubulin protein ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง   :  25 nm  องค์ประกอบ   :    -tubulin  และ   -tubulin Structure of Microtubules
[object Object],[object Object],[object Object],Function of Microtubules
Microtubules  ถูกสร้างมาจาก   centrosome   ซึ่งอยู่ใกล้   nucleus  ในเซลล์สัตว์ บริเวณ   centrosome  มี   centrioles  อยู่   1   คู่
Centrosome containing a pair of centrioles
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Microtubules  เป็นแกนของ   flagellum  และ   cilia
A comparison of the beating of flagella and cilia
Ultrastructure of a eukaryotic flagellum or cilium
โครงสร้างของ   flagellum  หรือ   cilia  ที่ศึกษาภายใต้กล้อง   EM (a)  ภาพตัดตามยาว (b)  ภาพตัดตามขวาง   แสดงให้เห็นโครงสร้างภายใน   ประกอบด้วยแกนของ   microtubules  อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นยาวตามขึ้นไป   เรียงกันเป็น   pattern "9+2"  คือ   แกนกลางประกอบด้วย   microtubules 2  ท่อ   (doublets)  จำนวน   9  ชุดเรียงตัวรอบเป็นวงกลม   และตรงกลางมี   microtubules  อีก   2  ท่อ   แต่ละท่อคู่ของรอบนอกมีแขน   1  คู่   (dynein)  ยื่นยาวออกไปสัมผัสกับท่อคู่ที่อยู่ใกล้เคียง   และมี   radial spoke  ยื่นเข้าไปติดต่อกับท่อคู่ตรงกลาง ( c)  แสดง   basal body  ซึ่งอยู่ที่ฐานของ   flagellum  หรือ   cilia  มีโครงสร้างเหมือนกับ   centriole  ประกอบด้วย   microtubules 3  ท่อเรียงกันเป็นวงกลม
How dynein” walking” moves cilia and flagella การเคลื่อนตัวของ   dynein  ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของ   flagellum  หรือ   cilia  การเคลื่อนตัวของ   dynein arm  ที่เกาะกับท่อคู่ของ   microtubules หนึ่ง   ไปเกาะที่อีกท่อคู่หนึ่ง   โดยการเกาะและปล่อยสลับกันไปนี้มีผลทำให้   flagellum  หรือ   cilia  เบนโค้งเคลื่อนที่ไปได้   การทำงานของ   dynein  ใช้พลังงานจาก   ATP
โครงสร้าง  :   เป็นเส้นใยทึบ   2  สายพันกัน เป็นเกลียว   ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง   :   7 nm  องค์ประกอบ   :   Actin Structure of Microfilaments
Function of Microfilaments ,[object Object],[object Object],[object Object]
A structure role of microfilaments Microfilaments (Actin filaments) Microvilli  ที่เซลล์ลำไส้คงรูปอยู่ได้เนื่องจากมี  microfilaments  เป็นแกน ชึ่งเชื่อมต่อกับ  intermediate filaments Microvilli Intermediate filaments
Microfilaments and motility ในเซลล์กล้ามเนื้อ   actin filaments  เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ   ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
ในเซลล์อมีบา การยื่น   pseudopodium  ออกไปเกิดจากการยืดและหดตัวของ   actin filaments
ในเซลล์พืช การทำงานร่วมกันของ   actin  และ   myosin  ทำให้เกิดการไหลภายใน   cytoplasm
โครงสร้าง  :   ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อย โปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว   ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง   :   6-12  nm  องค์ประกอบ   :   โปรตีนหลายชนิด   แล้วแต่ชนิด ของเซลล์   ตย .  เช่น   keratin  Structure of Intermediate Filaments
[object Object],[object Object],Function of Intermediate Filaments Microvilli Microfilaments (Actin filaments) Intermediate filaments
Plant cell walls cell wall  เป็นผนังเซลล์ของพืชที่อยู่ภายนอกของเยื่อหุ้มเซลล์   มีโครงร่างเป็นผนังหนาประกอบด้วย   cellulose  ฝังตัวอยู่ในโปรตีนและ   polysaccharides
เซลล์พืชติดต่อกับเซลล์ที่อยู่ข้างเคียงโดยทาง   ช่อง   plasmodesmata
Extracellular matrix (ECM) เซลล์สัตว์ไม่มี   cell wall  แต่มีสารที่ถูกสร้างออกมาอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์   เรียกว่า   extracellular matrix
Extracellular matrix (ECM) of an animal cell Fibronectin
องค์ประกอบและโครงสร้างของ   ECM  จะแตกต่างกันในเซลล์แต่ละชนิด   เซลล์ในตัวอย่างที่แสดงนี้   ECM  ประกอบด้วยสารพวก   glycoprotein 3  ชนิด   ได้แก่   1. collagen fiber  ที่ฝังตัวอยู่ในร่างแหของ   proteoglycans  ซึ่งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต   95 % 2.  fibronectin  เป็น   glycoprotein  ที่เกาะอยู่กับ   receptor protein  ที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์   (integrin)  3.  integrin  จะเชื่อมโยงระหว่าง   ECM  กับ   microfilament  ใน   cytoplasm  ซึ่งมีบทบาทสำคัญเกี่ยวข้องกับการนำสัญญาณการถูกกระตุ้นระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอกกับภายในเซลล์ได้
ออร์แกเนลล์ ,[object Object],[object Object],1  ชั้น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพล็กซ์ ไลโซโซม แวคิวโอล 2  ชั้น ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ ไรโบโซม เซนทริโอล ไซโทสเกเลตอน
ออร์แกเนลล์ ร่างแหเอนโดพลาสซึม โรงงานผลิตและลำเลียงสารในเซลล์ กอลจิคอมเพล็กซ์ แหล่งรวบรวมบรรจุและขนส่ง ไลโซโซม ผู้ขนส่งเอนไซม์ แวคิวโอล ถุงบรรจุสาร ไมโทคอนเดรีย แหล่งพลังงานในเซลล์ คลอโรพลาสต์ เม็ดสีเขียวสังเคราะห์ด้วยแสง ไรโบโซม แหล่งสร้างโปรตีน เซนทริโอล โครงร่างทำให้โครมาติดแยกออกจากกัน ไซโทสเกเลตอน โครงร่างค้ำจุนเซลล์
An animal cell
A plant cell
Membrane Structure and Function
Membranes Structure Membrane  มีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ Lipids Protein  และ   Carbohydrates
Membrane models นักวิทยาศาสตร์ได้มีแนวคิดเรื่อง  membrane model   ต่างๆ ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามความรู้ที่เจริญก้าวหน้าขึ้น
Artificial membranes (cross section) Hydrophobic tail Hydrophilic head
Two generations of membrane models
[object Object]
(b) Current fluid mosaic model
Freeze fracture and freeze-etch
The fluidity of membranes (a) Movement of phospholipids (b) Membrane fluidity
Cholesterol  ลดการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของ   phospholipids  ทำให้   membrane  คงรูปอยู่ได้ในที่อุณหภูมิสูง แต่ในที่อุณหภูมิต่ำ   cholesterol  ลดการรวมตัวกันของ   phospholipids  ทำให้   membrane  ไม่แข็งตัว (c ) Cholesterol within the membrane
โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มล้อมรอบเซลล์   ประกอบด้วย   phospholipid, membrane protein, carbohydrates  และ   cholesterols  ปัจจุบันเชื่อว่าโครงสร้างทางโมเลกุลของ   membrane  มีลักษณะเป็น   Fluid Mosaic Model   เสนอโดย   Singer  และ   Nicholson  ในปี   ค . ศ . 1972  มีลักษณะดังนี้ 1.   membrane  ประกอบด้วย   lipid bilayer  ที่ต่อเนื่องเป็นแผ่น   และมีโปรตีนชนิดต่างๆฝังอยู่   โดยมีการเรียงตัวแบบ   mosaic ( คล้ายสิ่งนูนขนาดเล็กหลายชนิดมาเรียงติดต่อกัน ) 2.   มี   peripheral protein  ติดอยู่ที่ผิวด้านในของ   membrane  3.   ส่วนที่ผิวด้านนอกมี   oligopolysaccharide chains  ของ   glygoproteins  และ   glycolipids  ยื่นยาวออกมา
The structure of transmembrane protein
Sidedness of plasma membrane
ด้านของ  membrane  มี  2  ด้านคือ  cytoplasmic sides   ( ด้านภายใน  cytoplasm)  และ  extracellular sides   ( ด้านภายนอกเซลล์ )  มีลักษณะที่แตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างนี้เกิดขึ้นตั้งแต่  membrane  ถูกสร้างมาจาก  ER  และ  Golgi complex ในรูปนี้ สีส้ม เป็น  membrane  ของ  organelles  ด้านที่อยู่ภายใน  organellles  จะเป็นด้าน  extracellular sides  ส่วนอีกด้านหนึ่งจะเป็น  cytoplasmic sides  สีเขียว แทน  carbohydrates  ที่สร้างมาจาก  ER  และ  modified  ที่  Golgi complex Vesicles  ที่รวมกับ  plasma membrane  นอกจาก  membrane  ที่หุ้ม  vesicles  จะเป็นส่วนของ  plasma membrane  แล้ว ยังเป็นการหลั่งสารออกจากเซลล์ด้วย  ( สีม่วง )
เยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าไปในเซลล์ได้ง่ายกว่าสารบางอย่างชนิดอื่น   เรียกว่า   selective permeability   ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จะควบคุมชนิดและอัตราการลำเลียงโมเลกุลของสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes) Selectively permeable  membrane = differentially permeable  membrane = semipermeable  membrane
Selective permeability   ของเยื่อหุ้มเซลล์ขึ้นอยู่กับ 1.  Phospholipid bilayer       1.1   โมเลกุลไม่มีขั้วไฟฟ้า   (nonpolar (hydrophobic) molecules)   เช่น   hydrocarbons   และ   O 2   ซึ่งสามารถละลายได้ในเยื่อหุ้มเซลล์จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่ายกว่าสารอื่น และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างสาร   2   ชนิดที่ละลายในไขมันได้เท่ากันสารที่มีขนาดเล็กกว่าสามารถผ่านไปได้ดีกว่า   
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
Diffusion and Passive transport การแพร่   (diffusion)   หมายถึง   การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า   จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล   (dynamic equilibrium)   เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ว   โมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสองบริเวณ
การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์   เรียกว่า   passive transport   เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทำให้เกิดการแพร่ขึ้น   และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ   selective permeable   ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆจะไม่เท่ากัน   น้ำจะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้อย่างอิสระซึ่งมีความสำคัญมากสำหรับการดำรงอยู่ของเซลล์
การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (a)  โมเลกุลของสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า   จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล   (dynamic equilibrium)  เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้วโมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนที่อยู่แต่อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทั้งสองด้านของเยื่อหุ้มเซลล์เท่ากัน
(b)  ในกรณีนี้   แสดงสารละลายของสี   2  ชนิด   ที่อยู่คนละด้านของเยื่อหุ้มเซลล์   โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยังด้านซ้าย   ทั้งๆที่ตอนเริ่มต้นความเข้มข้นของสารในด้านซ้ายสูงกว่า
ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต ได้แก่   การหายใจของสัตว์   ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมีความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย   ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปในเส้นเลือดฝอย   และในขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้นเลือดเข้าสู่ถุงลม
Osmosis Osmosis   หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้ำจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า   (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า   (hyperosmotic solution)  โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
The water balance of living cells ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์   และเซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filling vacuole Contracting vacuole
Facilitated diffusion Transport proteins   ช่วยในการนำโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า   เรียกกระบวนการนี้ว่า   facilitated diffusion   โดยเซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน
Active transport บางครั้งเซลล์ต้องการลำเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า   กระบวนการนี้เรียกว่า   active transport   ซึ่งต้องการพลังงานคือ   ATP ตัวอย่างเช่น   เซลล์ขับ   NA +   ออกนอกเซลล์และนำ   K +   เข้าไปในเซลล์   ซึ่งเรียกว่า   Sodium-potassium pump
The sodium-potassium pump
Sodium-potassium pump กระบวนการเริ่มต้นจาก   Na +   จับกับโปรตีนซึ่งเป็น   transport protein   แล้ว   ATP   ให้พลังงานแก่โปรตีนทำให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย   Na +   ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป   ขณะเดียวกัน   K +   เข้าจับกับโปรตีน   ทำให้โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง   ทำให้   K +   ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์   แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิมอีกพร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
Diffusion Facilitated transport Active transport Passive transport
An electrogenic pump Electrogenic pump  เป็น   transport protein  ที่ทำให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์
An electrogenic pump   ตัวอย่างเช่น   Na + /K +  pump   เป็น   electrogenic pump   ที่สำคัญของเซลล์สัตว์   Proton pump   เป็น   electrogenic pump   ที่สำคัญของเซลล์พืช   แบคทีเรีย   และพวกเห็ดรา   รวมทั้ง   mitochondria   และ   chloroplasts   ใช้   proton pump   ในการสังเคราะห์   ATP
Cotransport ตัวอย่างเช่น   ในเซลล์พืชใช้   proton pump  ร่วมกับ   transport protein  ที่นำ   sucrose–H +   เข้าไปในเซลล์   เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก   ATP pump  ตัวเดียวทำงานแล้วมีผลไปทำให้   transport protein   ตัวต่อไปทำงานเพื่อนำสารเข้าสู่เซลล์
Exocytosis and endocytosis transport large molecules สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่   เช่น   โปรตีน   และ   คาร์โบไฮเครต   ผ่านออกนอกเซลล์ด้วยกระบวนการ   exocytosis   และเข้าไปในเซลล์ด้วยกระบวนการ   endocytosis
Endocytosis   มี   3  แบบ   ได้แก่         1. Phagocytosis        2. Pinocytosis        3. Receptor-mediated endocytosis
Phagocytosis   เป็นการนำสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์   โดยเซลล์ยื่นส่วน   cytoplasm  ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น   แล้วเข้าไปในเซลล์   เป็น   food vacuole   แล้ว   food vacuole   นั้นจะไปรวมกับ   lysosome  ซึ่งภายในมี   hydrolytic enzymes   ที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป   อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้ Phagocytosis
Pinocytosis Pinocytosis   เป็นการนำสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์   โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนำสารเข้าไป   กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน   cytoplasm
Receptor-mediated endocytosis Receptor-mediated endocytosis   เป็นการนำสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์   โดยที่ผิวเซลล์มี   receptor   เฉพาะสำหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ   แล้วถูกนำเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ   เมื่อผ่านการย่อยแล้ว   receptor   สามารถถูกนำมาใช้ใหม่ได้อีก
การแบ่งเซลล์ ,[object Object],[object Object]
ใน สร้าง Mitotic (M)  phase  การแบ่งเซลล์ interphase cytokinesis ประกอบด้วย ระยะก่อนสร้าง  DNA (G 1 ) ระยะสร้าง  DNA (S) ระยะหลังสร้าง  DNA (G 2 ) ประกอบด้วย prophase  metaphase  anaphase  telophase  plant  cell animal  cell cell  plate cell  mb. คอด
 
 
 
mitosis
 
 
 
 

More Related Content

What's hot

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.Kururu Heart
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell prapassri
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosiskasidid20309
 

What's hot (20)

Cell
CellCell
Cell
 
Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Cell
CellCell
Cell
 
Powerpoint1
Powerpoint1Powerpoint1
Powerpoint1
 
Doc4
Doc4Doc4
Doc4
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
4
44
4
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 

Viewers also liked

Mitosis P P T
Mitosis P P TMitosis P P T
Mitosis P P TJim Haver
 
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosisFati Naqvi
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
Mitosis powerpoint
Mitosis powerpointMitosis powerpoint
Mitosis powerpointfarrellw
 
Presentation 01 - The Cell Cycle
Presentation 01 - The Cell CyclePresentation 01 - The Cell Cycle
Presentation 01 - The Cell CycleMa'am Dawn
 
Cell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and MeiosisCell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and MeiosisCatherine Patterson
 

Viewers also liked (15)

Copy of mitosis 2010
Copy of mitosis 2010Copy of mitosis 2010
Copy of mitosis 2010
 
Mitosis ppt
Mitosis pptMitosis ppt
Mitosis ppt
 
Mitosis P P T
Mitosis P P TMitosis P P T
Mitosis P P T
 
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis
11.16 (dr. sadaf) meiosis + comparison with mitosis
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
 
Mitosis.ppt
Mitosis.pptMitosis.ppt
Mitosis.ppt
 
Presentation on cell cycle
Presentation on cell cyclePresentation on cell cycle
Presentation on cell cycle
 
Meiosis ppt
Meiosis pptMeiosis ppt
Meiosis ppt
 
Meiosis 1 and 2
Meiosis 1 and 2Meiosis 1 and 2
Meiosis 1 and 2
 
Cell cycle powerpoint
Cell cycle powerpointCell cycle powerpoint
Cell cycle powerpoint
 
Mitosis powerpoint
Mitosis powerpointMitosis powerpoint
Mitosis powerpoint
 
Presentation 01 - The Cell Cycle
Presentation 01 - The Cell CyclePresentation 01 - The Cell Cycle
Presentation 01 - The Cell Cycle
 
Meiosis
MeiosisMeiosis
Meiosis
 
DNA Replication
 DNA Replication DNA Replication
DNA Replication
 
Cell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and MeiosisCell Division Mitosis and Meiosis
Cell Division Mitosis and Meiosis
 

Similar to M.4 สอนเสริมติว

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 

Similar to M.4 สอนเสริมติว (20)

B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
4
44
4
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
B08
B08B08
B08
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

M.4 สอนเสริมติว

  • 1.
  • 2. The size range of cells ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง Myoplasmas แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ eukaryotic cell 0.1 - 1.0 ไมครอน 1.0 - 10.0 ไมครอน 10.0 - 100.0 ไมครอน
  • 3. Different Types of Light Microscope: A Comparison Human Cheek Epithelial Cells Brightfield (unstained specimen) Brightfield (stained specimen) Fluorescene Phase-contrast Differential-interference-contrast (Nomarski) Confocal
  • 4. Electron micrographs Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM)
  • 5. Cell Fractionation วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทำได้โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนำไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของมัน
  • 6. Prokaryotic and Eukaryotic cell สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ เซลล์แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. prokaryotic cell 2. eukaryotic cell มีโครงสร้างแตกต่างกัน ดั้งนี้
  • 7.
  • 9.
  • 12. นิวเคลียส (nucleus) เป็นออร์แกเนลล์ขนาดใหญ่ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสแยกออกจากไซโตพลาสซึมในเซลล์พวกยูคาริโอต ภายในบรรจุยีนซึ่งควบคุมการทำงานของเซลล์ มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 5 ไมครอน
  • 13. The nucleus and the envelope
  • 14. Nucleolus มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ประกอบด้วย nucleolar organizers และ ribosome ที่กำลังสร้างขึ้น nucleolus ทำหน้าที่สร้าง ribosome (nucleolar organizers เป็นส่วนพิเศษของโครโมโซมที่มียีนที่เกี่ยวกับการสร้าง ribosome อยู่หลายชุด )
  • 15. นิวเคลียสทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนในไซโตพลาสซึม Messenger RNA (mRNA) transcribed in the nucleus from DNA instructions  Passes through nuclear pores into cytoplasm  Attaches to ribosomes where the genetic message is translated into primary structure
  • 16. Ribosomes เป็น organelles ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ทำหน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 ส่วนย่อย (subunit) สร้างจาก nucleolus ในเซลล์ที่มีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่ามี nucleolus และ ribosome เป็นจำนวนมาก ตัวอย่างเช่นในเซลล์ตับของคนมี ribosome จำนวนมากและมี nucleolus ที่เด่นชัดมาก
  • 17. Ribosome มี 2 ชนิดคือ 1. free ribosomes ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน cytoplasm 2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ organelles อื่นๆ และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปใช้นอกเซลล์ ในเซลล์ที่สร้างโปรตีน เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้ำย่อยจะมี bound ribosomes เป็นจำนวนมาก
  • 18. The Endomembrane system ประกอบด้วย 1. Nuclear envelop 2. Endoplasmic reticulum 3. Golgi apparatus 4. Lysosomes 5. Vacuoles 6. Plasma membrane
  • 19. Endoplasmic reticulum (ER) (Endoplasmic = อยู่ในไซโตพลาสซึม , reticulum = ร่างแห ) เป็น organelles ที่มีเยื่อหุ้ม มีลักษณะเป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol ช่องภายในท่อเรียกว่า cisternal space ซึ่งท่อนี้มีการเชื่อมติดต่อกับช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียสชั้นนอกและชั้นในด้วย
  • 20. ER มี 2 ชนิด คือ 1. Rough endoplasmic reticulum (RER) มีไรโบโซมเกาะติดอยู่ที่เยื่อหุ้มด้านนอกทำให้มองเห็นขรุขระ ทำหน้าที่สร้างโปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์ (secondary protein) โดยไรโบโซมที่เกาะอยู่นี้สร้างโปรตีน แล้วผ่านเยื่อของ ER เข้าไปใน cisternal space แล้วหลุดออกไปจาก ER เป็น transport vesicle ส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์โดยตรง หรือนำไปเชื่อมกับเยื่อของ Golgi complex เพื่อเพิ่มคาร์โบไฮเดรตแก่โปรตีนที่สร้างขึ้นกลายเป็น glycoprotein ก่อนส่งออกไปใช้ภายนอกเซลล์
  • 21.
  • 23. Golgi complex มีลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar บริเวณตรงกลางเป็นท่อแคบและปลายสองข้างโป่งออก และมีกลุ่มของถุงกลม (vesicles) อยู่รอบๆ Golgi complex มีโครงสร้างที่เป็น 2 หน้า คือ cis face และ trans face ที่ทำหน้าที่รับและส่ง cis face เป็นส่วนของถุงแบนที่นูนอยู่ใกล้กับ ER transport vesicles ที่ถูกสร้างมาจาก RER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi complex ทางด้าน cis face ส่วน trans face เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน เป็นด้านที่สร้าง vesicles และหลุดออกไป
  • 24.
  • 25. Lysosomes (a) Lysosomes in a white blood cell
  • 26. (b) A Lysosome in action Peroxisome fragment Mitochondrion fragment Lysosome
  • 27.
  • 28.
  • 29. The formation and functions of lysosomes
  • 30.
  • 31.
  • 32. Vacuoles เป็น organelles ที่มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้ม แต่มีขนาดใหญ่กว่า vesicles มีแบบต่างๆได้แก่ food vacuole, contractile vacuole และ central vacuole
  • 33. The plant cell vacuole
  • 34. Relationships among organelles of the endomembrane system
  • 35. Membranous organelles อื่นๆ 1. Energy transducers ได้แก่ Mitochondria Chloroplast 2. Peroxisomes (microbodies)
  • 36. The mitochondrion, site of cellular respiration
  • 37.
  • 38.
  • 39. The chloroplast, site of photosynthesis
  • 40. Chloroplast Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทำให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma ภายในมีถุงแบน thylakoids ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum
  • 42.
  • 43. The cytoskeleton เป็นโครงสร้างภายในเซลล์ ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนที่ประสานกันเป็นร่างแห แทรกตัวอยู่ภายใน cytoplasm ทำหน้าที่เป็นโครงร่างภายในเพื่อรักษารูปทรงหรือเปลี่ยนรูปทรง และทำให้เกิดการเคลื่อนไหวภายใน cytoplasm และการเคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
  • 45. Microtubules Microfilaments (Actin Filaments) Intermediate Filaments Cytoskeleton ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีน 3 ชนิดได้แก่
  • 46. โครงสร้าง : เป็นท่อตรงและกลวงประกอบด้วย tubulin protein ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 25 nm องค์ประกอบ :  -tubulin และ  -tubulin Structure of Microtubules
  • 47.
  • 48. Microtubules ถูกสร้างมาจาก centrosome ซึ่งอยู่ใกล้ nucleus ในเซลล์สัตว์ บริเวณ centrosome มี centrioles อยู่ 1 คู่
  • 49. Centrosome containing a pair of centrioles
  • 50.
  • 51. Microtubules เป็นแกนของ flagellum และ cilia
  • 52. A comparison of the beating of flagella and cilia
  • 53. Ultrastructure of a eukaryotic flagellum or cilium
  • 54. โครงสร้างของ flagellum หรือ cilia ที่ศึกษาภายใต้กล้อง EM (a) ภาพตัดตามยาว (b) ภาพตัดตามขวาง แสดงให้เห็นโครงสร้างภายใน ประกอบด้วยแกนของ microtubules อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นยาวตามขึ้นไป เรียงกันเป็น pattern "9+2" คือ แกนกลางประกอบด้วย microtubules 2 ท่อ (doublets) จำนวน 9 ชุดเรียงตัวรอบเป็นวงกลม และตรงกลางมี microtubules อีก 2 ท่อ แต่ละท่อคู่ของรอบนอกมีแขน 1 คู่ (dynein) ยื่นยาวออกไปสัมผัสกับท่อคู่ที่อยู่ใกล้เคียง และมี radial spoke ยื่นเข้าไปติดต่อกับท่อคู่ตรงกลาง ( c) แสดง basal body ซึ่งอยู่ที่ฐานของ flagellum หรือ cilia มีโครงสร้างเหมือนกับ centriole ประกอบด้วย microtubules 3 ท่อเรียงกันเป็นวงกลม
  • 55. How dynein” walking” moves cilia and flagella การเคลื่อนตัวของ dynein ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของ flagellum หรือ cilia การเคลื่อนตัวของ dynein arm ที่เกาะกับท่อคู่ของ microtubules หนึ่ง ไปเกาะที่อีกท่อคู่หนึ่ง โดยการเกาะและปล่อยสลับกันไปนี้มีผลทำให้ flagellum หรือ cilia เบนโค้งเคลื่อนที่ไปได้ การทำงานของ dynein ใช้พลังงานจาก ATP
  • 56. โครงสร้าง : เป็นเส้นใยทึบ 2 สายพันกัน เป็นเกลียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 7 nm องค์ประกอบ : Actin Structure of Microfilaments
  • 57.
  • 58. A structure role of microfilaments Microfilaments (Actin filaments) Microvilli ที่เซลล์ลำไส้คงรูปอยู่ได้เนื่องจากมี microfilaments เป็นแกน ชึ่งเชื่อมต่อกับ intermediate filaments Microvilli Intermediate filaments
  • 59. Microfilaments and motility ในเซลล์กล้ามเนื้อ actin filaments เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ
  • 60. ในเซลล์อมีบา การยื่น pseudopodium ออกไปเกิดจากการยืดและหดตัวของ actin filaments
  • 61. ในเซลล์พืช การทำงานร่วมกันของ actin และ myosin ทำให้เกิดการไหลภายใน cytoplasm
  • 62. โครงสร้าง : ประกอบด้วยมัดของหน่วยย่อย โปรตีนที่พันกันเป็นเกลียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง : 6-12 nm องค์ประกอบ : โปรตีนหลายชนิด แล้วแต่ชนิด ของเซลล์ ตย . เช่น keratin Structure of Intermediate Filaments
  • 63.
  • 64. Plant cell walls cell wall เป็นผนังเซลล์ของพืชที่อยู่ภายนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ มีโครงร่างเป็นผนังหนาประกอบด้วย cellulose ฝังตัวอยู่ในโปรตีนและ polysaccharides
  • 66. Extracellular matrix (ECM) เซลล์สัตว์ไม่มี cell wall แต่มีสารที่ถูกสร้างออกมาอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า extracellular matrix
  • 67. Extracellular matrix (ECM) of an animal cell Fibronectin
  • 68. องค์ประกอบและโครงสร้างของ ECM จะแตกต่างกันในเซลล์แต่ละชนิด เซลล์ในตัวอย่างที่แสดงนี้ ECM ประกอบด้วยสารพวก glycoprotein 3 ชนิด ได้แก่ 1. collagen fiber ที่ฝังตัวอยู่ในร่างแหของ proteoglycans ซึ่งประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 95 % 2. fibronectin เป็น glycoprotein ที่เกาะอยู่กับ receptor protein ที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ (integrin) 3. integrin จะเชื่อมโยงระหว่าง ECM กับ microfilament ใน cytoplasm ซึ่งมีบทบาทสำคัญเกี่ยวข้องกับการนำสัญญาณการถูกกระตุ้นระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอกกับภายในเซลล์ได้
  • 69.
  • 70. ออร์แกเนลล์ ร่างแหเอนโดพลาสซึม โรงงานผลิตและลำเลียงสารในเซลล์ กอลจิคอมเพล็กซ์ แหล่งรวบรวมบรรจุและขนส่ง ไลโซโซม ผู้ขนส่งเอนไซม์ แวคิวโอล ถุงบรรจุสาร ไมโทคอนเดรีย แหล่งพลังงานในเซลล์ คลอโรพลาสต์ เม็ดสีเขียวสังเคราะห์ด้วยแสง ไรโบโซม แหล่งสร้างโปรตีน เซนทริโอล โครงร่างทำให้โครมาติดแยกออกจากกัน ไซโทสเกเลตอน โครงร่างค้ำจุนเซลล์
  • 74. Membranes Structure Membrane มีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ Lipids Protein และ Carbohydrates
  • 75. Membrane models นักวิทยาศาสตร์ได้มีแนวคิดเรื่อง membrane model ต่างๆ ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามความรู้ที่เจริญก้าวหน้าขึ้น
  • 76. Artificial membranes (cross section) Hydrophobic tail Hydrophilic head
  • 77. Two generations of membrane models
  • 78.
  • 79. (b) Current fluid mosaic model
  • 80. Freeze fracture and freeze-etch
  • 81. The fluidity of membranes (a) Movement of phospholipids (b) Membrane fluidity
  • 82. Cholesterol ลดการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของ phospholipids ทำให้ membrane คงรูปอยู่ได้ในที่อุณหภูมิสูง แต่ในที่อุณหภูมิต่ำ cholesterol ลดการรวมตัวกันของ phospholipids ทำให้ membrane ไม่แข็งตัว (c ) Cholesterol within the membrane
  • 84. เยื่อหุ้มล้อมรอบเซลล์ ประกอบด้วย phospholipid, membrane protein, carbohydrates และ cholesterols ปัจจุบันเชื่อว่าโครงสร้างทางโมเลกุลของ membrane มีลักษณะเป็น Fluid Mosaic Model เสนอโดย Singer และ Nicholson ในปี ค . ศ . 1972 มีลักษณะดังนี้ 1.   membrane ประกอบด้วย lipid bilayer ที่ต่อเนื่องเป็นแผ่น และมีโปรตีนชนิดต่างๆฝังอยู่ โดยมีการเรียงตัวแบบ mosaic ( คล้ายสิ่งนูนขนาดเล็กหลายชนิดมาเรียงติดต่อกัน ) 2. มี peripheral protein ติดอยู่ที่ผิวด้านในของ membrane 3.   ส่วนที่ผิวด้านนอกมี oligopolysaccharide chains ของ glygoproteins และ glycolipids ยื่นยาวออกมา
  • 85. The structure of transmembrane protein
  • 87. ด้านของ membrane มี 2 ด้านคือ cytoplasmic sides ( ด้านภายใน cytoplasm) และ extracellular sides ( ด้านภายนอกเซลล์ ) มีลักษณะที่แตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ membrane ถูกสร้างมาจาก ER และ Golgi complex ในรูปนี้ สีส้ม เป็น membrane ของ organelles ด้านที่อยู่ภายใน organellles จะเป็นด้าน extracellular sides ส่วนอีกด้านหนึ่งจะเป็น cytoplasmic sides สีเขียว แทน carbohydrates ที่สร้างมาจาก ER และ modified ที่ Golgi complex Vesicles ที่รวมกับ plasma membrane นอกจาก membrane ที่หุ้ม vesicles จะเป็นส่วนของ plasma membrane แล้ว ยังเป็นการหลั่งสารออกจากเซลล์ด้วย ( สีม่วง )
  • 88. เยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้าไปในเซลล์ได้ง่ายกว่าสารบางอย่างชนิดอื่น เรียกว่า selective permeability ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จะควบคุมชนิดและอัตราการลำเลียงโมเลกุลของสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes) Selectively permeable membrane = differentially permeable membrane = semipermeable membrane
  • 89. Selective permeability ของเยื่อหุ้มเซลล์ขึ้นอยู่กับ 1. Phospholipid bilayer    1.1 โมเลกุลไม่มีขั้วไฟฟ้า (nonpolar (hydrophobic) molecules) เช่น hydrocarbons และ O 2 ซึ่งสามารถละลายได้ในเยื่อหุ้มเซลล์จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่ายกว่าสารอื่น และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างสาร 2 ชนิดที่ละลายในไขมันได้เท่ากันสารที่มีขนาดเล็กกว่าสามารถผ่านไปได้ดีกว่า   
  • 90.
  • 91.
  • 92. Diffusion and Passive transport การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ว โมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสองบริเวณ
  • 93. การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทำให้เกิดการแพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ selective permeable ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆจะไม่เท่ากัน น้ำจะสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้อย่างอิสระซึ่งมีความสำคัญมากสำหรับการดำรงอยู่ของเซลล์
  • 94. การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (a) โมเลกุลของสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากกว่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้วโมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนที่อยู่แต่อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทั้งสองด้านของเยื่อหุ้มเซลล์เท่ากัน
  • 95. (b) ในกรณีนี้ แสดงสารละลายของสี 2 ชนิด ที่อยู่คนละด้านของเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยังด้านซ้าย ทั้งๆที่ตอนเริ่มต้นความเข้มข้นของสารในด้านซ้ายสูงกว่า
  • 96. ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต ได้แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมีความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปในเส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้นเลือดเข้าสู่ถุงลม
  • 97. Osmosis Osmosis หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้ำจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำหนาแน่นมากกว่าหรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  • 98. The water balance of living cells ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และเซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
  • 99. The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filling vacuole Contracting vacuole
  • 100. Facilitated diffusion Transport proteins ช่วยในการนำโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดยเซลล์ไม่ต้องใช้พลังงาน
  • 101. Active transport บางครั้งเซลล์ต้องการลำเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า กระบวนการนี้เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานคือ ATP ตัวอย่างเช่น เซลล์ขับ NA + ออกนอกเซลล์และนำ K + เข้าไปในเซลล์ ซึ่งเรียกว่า Sodium-potassium pump
  • 103. Sodium-potassium pump กระบวนการเริ่มต้นจาก Na + จับกับโปรตีนซึ่งเป็น transport protein แล้ว ATP ให้พลังงานแก่โปรตีนทำให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย Na + ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K + เข้าจับกับโปรตีน ทำให้โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ K + ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิมอีกพร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
  • 104. Diffusion Facilitated transport Active transport Passive transport
  • 105. An electrogenic pump Electrogenic pump เป็น transport protein ที่ทำให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์
  • 106. An electrogenic pump ตัวอย่างเช่น Na + /K + pump เป็น electrogenic pump ที่สำคัญของเซลล์สัตว์ Proton pump เป็น electrogenic pump ที่สำคัญของเซลล์พืช แบคทีเรีย และพวกเห็ดรา รวมทั้ง mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP
  • 107. Cotransport ตัวอย่างเช่น ในเซลล์พืชใช้ proton pump ร่วมกับ transport protein ที่นำ sucrose–H + เข้าไปในเซลล์ เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียวทำงานแล้วมีผลไปทำให้ transport protein ตัวต่อไปทำงานเพื่อนำสารเข้าสู่เซลล์
  • 108. Exocytosis and endocytosis transport large molecules สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน และ คาร์โบไฮเครต ผ่านออกนอกเซลล์ด้วยกระบวนการ exocytosis และเข้าไปในเซลล์ด้วยกระบวนการ endocytosis
  • 109. Endocytosis มี 3 แบบ ได้แก่        1. Phagocytosis        2. Pinocytosis       3. Receptor-mediated endocytosis
  • 110. Phagocytosis เป็นการนำสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสารของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป อมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้ Phagocytosis
  • 111. Pinocytosis Pinocytosis เป็นการนำสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนำสารเข้าไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm
  • 112. Receptor-mediated endocytosis Receptor-mediated endocytosis เป็นการนำสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสำหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนำเข้าไปในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนำมาใช้ใหม่ได้อีก
  • 113.
  • 114. ใน สร้าง Mitotic (M) phase การแบ่งเซลล์ interphase cytokinesis ประกอบด้วย ระยะก่อนสร้าง DNA (G 1 ) ระยะสร้าง DNA (S) ระยะหลังสร้าง DNA (G 2 ) ประกอบด้วย prophase metaphase anaphase telophase plant cell animal cell cell plate cell mb. คอด
  • 115.  
  • 116.  
  • 117.  
  • 119.  
  • 120.  
  • 121.  
  • 122.