SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมี
ชีวิตชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
กลไกการรักษาดุลยภาพ
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีการรักษาดุลยภาพของ
สภาวะและสารต่างๆ ภายในร่างกาย ดังนี้
1. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ
2. การรักษาดุลยภาพของนำ้า
3. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส
4. การรักษาดุลยภาพของแร่ธาตุ
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
สาเหตุที่สิ่งมีชีวิตต้องมีกลไกการ
รักษาดุลยภาพของร่างกาย เพราะว่าสภาวะและ
สารต่างๆ ภายในร่างกาย
มีผลต่อการทำางานของเอนไซม์ซึ่งมีหน้าที่เร่ง
ปฏิกิริยาชีวเคมีต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์และ
ร่างกาย
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-
darwin/images/Mammals1Part1.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
การรักษาดุลยภาพของกรดการรักษาดุลยภาพของกรด --
เบสในร่างกายคนเบสในร่างกายคน
ถ้าร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงความเป็นก
รด-เบสมากๆ จะทำาให้เอนไซม์ (Enzyme)
ภายในเซลล์หรือร่างกายไม่สามารถทำางานได้
ดังนั้นร่างกายจึงมีกลไกการรักษาดุลยภาพ
ความเป็นกรด-เบสให้คงที่ ซึ่งมี 3 วิธี คือ
http://www.thaimtb.com/webboard/451/225620-2.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
การเพิ่มหรือลดอัตราการ
หายใจ
ถ้า CO2 ในเลือดมีปริมาณมาก เช่น หลัง
จากที่ออกกำาลังกายอย่างหนักจะส่งผลให้ศูนย์
ควบคุมการหายใจ ซึ่งคือ สมองส่วนเมดัลลา
ออบลองกาตา (Medulla Oblongata) ส่งกระแส
ประสาทไปควบคุมให้
กล้ามเนื้อกะบังลมและกล้ามเนื้อยึดกระดูก
ซี่โครงทำางานมากขึ้น เพื่อจะได้หายใจออกถี่ขึ้น
ทำาให้ปริมาณ CO2 ในเลือดลดลง
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
และเมื่อ CO2 ในเลือดมีปริมาณน้อยจะไป
ยับยั้ง Medulla Oblongata ซึ่งจะมีผลให้กล้าม
เนื้อกะบังลมและกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครง
ทำางานน้อยลง
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/1/biology/r
espiration/respiration/respiration_files/slide0011_image017.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
ระบบบัฟเฟอร์ (Buffer)
คือ ระบบที่ทำาให้เลือดมีค่า pH คงที่ แม้ว่า
จะมีการเพิ่มของสารที่มี
ฤทธิ์เป็นกรดหรือเบสก็ตาม
สารที่เป็นบัฟเฟอร์ในเลือด ได้แก่
1. ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ในเม็ดเลือด
แดง
2. โปรตีน (Protein) ในพลาสมา เช่น อัลบูมิ
น โกลบูลิน
http://altered-states.net/barry/update178/oxidation.jpg http://www.sciencecases.org/tazswana/hemoglobin.gif
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
การควบคุมกรดและเบสของไต
ไต (Kidneys) สามารถปรับระดับกรดหรือ
เบสออกทางปัสสาวะได้มาก ระบบนี้จึงมีการ
ทำางานมาก สามารถแก้ไข pH ที่เปลี่ยนแปลง
ไปมากให้เข้าสู่ภาวะปกติ (สมดุล) ได้ แต่ใช้
เวลานาน
http://img.webmd.com/dtmcms/live/webmd/consumer_assets/site_ima
ges/articles/image_article_collections/anatomy_pages/Kidney2.jpg
http://www.infobarrel.com/media/image/67135.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
การรักษาดุลยภาพของนำ้าและการรักษาดุลยภาพของนำ้าและ
แร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาดุลยภาพของนำ้าและแร่ธาตุใน
ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเกี่ยวข้องกับแรงดันออสโม
ติก (Osmotic Pressure) โดยสิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิดมีกลไกการรักษาสมดุลของ
นำ้าและแร่ธาตุในร่างกาย ดังนี้
http://t2.gstatic.com/images?
q=tbn:ANd9GcSecAgeQCzNEPhCaqLtabjZRwSd5NUNaNTKCQw3x6
ojjufmbrYL-40ZDzEAkw
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
โพรทิสต์ (Protist)
ใช้คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile
Vacuole) กำาจัดนำ้าส่วนเกินออกจากเซลล์
http://protist.i.hosei.ac.jp/pdb/imag
es/ciliophora/paramecium/bursaria/
sample_4.jpg
http://www.kk.org/thetechnium/proti
st.jpg
http://www.mlm
s.loganschools.
org/~ckircalli/ho
mework/MATH_
SCIENCE
%20LINK
%20PAGES/pa
ramecium.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
ปลานำ้าจืด
(Osmotic Pressure ของของเหลวใน
ร่างกายมากกว่านำ้าจืด)
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีผิวหนังและเกล็ดป้องกันนำ้าซึมเข้า
• ขับปัสสาวะมากและปัสสาวะเจือจาง
• มีโครงสร้างพิเศษที่เหงือกทำาหน้าที่ดูดแร่
ธาตุกลับคืนสู่ร่างกาย
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
ปลานำ้าเค็ม
(Osmotic Pressure ของของเหลวใน
ร่างกายน้อยกว่านำ้าทะเล)
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีผิวหนังและเกล็ดป้องกันนำ้าซึมออก
• ขับปัสสาวะน้อยและปัสสาวะมีความเข้มข้น
สูง
• มีเซลล์ซึ่งอยู่บริเวณเหงือกทำาหน้าที่ขับแร่
ธาตุส่วนเกินออกโดยวิธี แอกทีฟ
ทรานสปอร์ต (Active Transport)
• ขับแร่ธาตุส่วนเกินออกทางทวารหนัก
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
สัตว์ทะเลชนิดอื่นๆ
(Osmotic Pressure ของของเหลวใน
ร่างกายใกล้เคียงกับนำ้าทะเล จึงไม่
ต้องมีกลไกในการปรับสมดุลเหมือนปลาทะเล)
http://learners.in.th/file/12v37aomaom/T5-800.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นกทะเล
กลไกการรักษาสมดุล คือ
• มีต่อมนาซัล (Nasal Gland) หรือต่อม
เกลือ (Salt Gland) ขับเกลือส่วนเกินออก
จากร่างกาย
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ
ร่างกายของสัตว์ร่างกายของสัตว์
สัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกาย ดังนี้
1. สัตว์เลือดเย็น หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิ
ร่างกายไม่คงที่ เพราะจะเปลี่ยนแปลงไปตาม
อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมภายนอก ตัวอย่างเช่น
ไส้เดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตว์สะเทินนำ้า
สะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน
• 2. สัตว์เลือดอุ่น หมายถึง สัตว์ที่มีกลไกรักษา
อุณหภูมิร่างกายให้คงที่ ไม่
เปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม
ได้แก่ สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ้านม
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
กลไกการรักษาอุณหภูมิ
ร่างกายของสัตว์เลือดอุ่นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย คือ สม
องส่วนไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งจะ
ส่งสัญญาณไปตามระบบประสาทและระบบต่อม
ไร้ท่อ ดังนี้
http://www.rakbankerd.com/kaset/Animal/1098_6.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา

More Related Content

What's hot

บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การทำแผล.ppt
การทำแผล.pptการทำแผล.ppt
การทำแผล.pptThanakornThanawat
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546Trd Wichai
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 

What's hot (20)

การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การทำแผล.ppt
การทำแผล.pptการทำแผล.ppt
การทำแผล.ppt
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ ชีววิทยา มีนาคม 2546
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 

Viewers also liked

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตKankamol Kunrat
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์Wichai Likitponrak
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 Fay Wanida
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
Osmoregulation
OsmoregulationOsmoregulation
Osmoregulationkristenw3
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (15)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
Cell
CellCell
Cell
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
Ch44
Ch44Ch44
Ch44
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
Osmoregulation
OsmoregulationOsmoregulation
Osmoregulation
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 

Similar to การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 

Similar to การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (9)

ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 

More from Kankamol Kunrat

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันKankamol Kunrat
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานKankamol Kunrat
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์Kankamol Kunrat
 

More from Kankamol Kunrat (9)

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 

การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ