SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนสังวาลย์วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นำ้าในร่างกาย แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1.นำ้าที่อยู่นอกเซลล์ (extracellular fluid)
เป็นนำ้าที่อยู่นอกเยื่อเซลล์ มีหน้าที่รักษาสภาวะ
แวดล้อมภายนอกเซลล์ให้คงที่ แบ่งเป็น 3 ส่วน
คือ
พลาสมา (plasma) คือนำ้าที่อยู่ในระบบ
หมุนเวียนเลือด มี
ประมาณ 4-5 %
ของนำ้าหนักตัว
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นำ้าเหลือง (lymph) อยู่ภายในท่อนำ้าเหลือง
และไหลเวียนติดต่อกับนำ้าเลือดได้ มีประมาณ 2-
3% ของนำ้าหนักตัว
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
 นำ้าที่อยู่ระหว่างเซลล์ (intercellular
fluid) อยู่รอบๆเซลล์ตามช่องว่างระหว่างเซลล์
ทำาให้เซลล์เปียกชุ่มตลอดเวลา ช่วยหล่อเลี้ยง
เซลล์ ทั้งช่วยนำาสารอาหารเข้าสู่เซลล์ และนำา
ของเสียออกจากเซลล์ มีประมาณ 16-20 %
ของนำ้าหนักตัว
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
2. นำ้าที่อยู่ในเซลล์ (intracellular fluid) คือ
ส่วนของนำ้าที่อยู่ในเยื่อเซลล์ เป็นนำ้าที่สำาคัญใน
กระบวนการเมทาบอลิซึมของเซลล์ มีประมาณ
30 – 40 % ของนำ้าหนักตัวชนิดของ
เนื้อเยื่อ
ปริมาณของนำ้าโดย
ประมาณ (%)
ไขมัน 20
กระดูก 25 – 30
เนื้อเยื่อเกี่ยว
พัน
60
ตับ 70
กล้ามเนื้อลาย 75
สมองส่วนสีเทา 85
สมองส่วนสีขาว 70
นำ้าเลือด 90
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
การรักษาสมดุลของนำ้าใน
สัตว์
1. ร่างกายได้รับนำ้าจาก
 นำ้าดื่ม เป็นนำ้าที่ร่างกายได้รับมากที่สุด ประมาณ
วันละ 1,200 ลบ.ซม.
 อาหาร ภายในอาหารมีนำ้าเป็นส่วนประกอบอยู่
วันละ 1,000 ลบ.ซม.
 นำ้าจากกระบวนการเมทาบอลิซึม เกิดจาก
กระบวนการออกซิเดชั่นของสารอาหารภายใน
เซลล์ ประมาณวันละ 300 ลบ.ซม.
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
2. ร่างกายเสียนำ้าจาก
 ปัสสาวะ ร่างกายเสียนำ้าโดยการขับถ่ายในรูป
ปัสสาวะมากที่สุด ประมาณวันละ 1,500
ลบ.ซม.
 เหงื่อ ขับเหงื่อทางผิวหนัง ประมาณวันละ 500
ลบ.ซม.
 ลมหายใจ ในรูปของไอนำ้า ประมาณวันละ
350 ลบ.ซม.
 อุจจาระ มีนำ้าปนออกมากับอุจจาระ ประมาณ
วันละ 150 ลบ.ซม.
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ปริมาณที่ร่างกายได้รับนำ้า รวมทั้งสิ้นประมาณ
วันละ 2,500 ลบ.ซม. ในขณะเดียวกันร่างกายก็
สูญเสียนำ้าประมาณวันละ 2,500 ลบ.ซม. เช่นกัน
ร่างกายของเราจึงสมดุลอยู่ได้
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/024/61.files/image002.jpg
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
การควบคุมนำ้าของร่างกาย
 นำ้าดื่ม การดื่มนำ้ามีกลไกที่เรียกว่า การกระหาย
นำ้า (thirst) ประกอบด้วย
- นำ้าที่อยู่นอกเซลล์ ลดปริมาณลง (extracellular
dehydration)
- นำ้าที่อยู่ในเซลล์ ลดปริมาณลง (intracellular
dehydration)
- หัวใจวาย (heart failure) ภาวการณ์ทำางานของ
หัวใจอ่อนลง จนทำาให้ทำางานไม่ไหว
- ปากแห้ง (dryness of mouth)
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ศูนย์การดื่มที่ไฮโพ
ทาลามัส
นำ้านอกเซลล์ลด
น้อยลง
นำ้าในเซลล์ลดน้อย
ลง
หัวใจวาย
กลืนนำ้า
มีนำ้าในทางเดิน
อาหารเต็ม
กระตุ้นโดยตรง ยับยั้งการทำางานทางปลาย
ประสาท
ปาก
แห้ง
กระตุ้น
ทาง
ปลาย
เส้น
ประสาท
ภาพแสดงการควบคุมการดื่มนำ้า
ของร่างกายนางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ไต (Kidneys)
ไตคนมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง 2 เมล็ด
อยู่ในช่องท้องด้านหลังของลำาตัว เมื่อผ่าไตตาม
ยาวจะสังเกตเห็นเนื้อไต 2 ชั้น คือ ชั้นนอกและ
ชั้นใน ซึ่งในเนื้อไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วย
ไต (Nephron) ประมาณ
1 ล้านหน่วย ทำาหน้าที่กำาจัดของเสียในรูปของ
ปัสสาวะ
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
โครงสร้างหน่วยไต
หน่วยไตแต่ละหน่วยประกอบด้วย
โครงสร้างย่อย ดังนี้
1. โบว์แมนส์ แคปซูล (Bowman’s Capsule)
ลักษณะทรงกลมมีผนังบาง ห่อหุ้มกลุ่มหลอด
เลือดฝอย (โกลเมอรูลัส)
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
2. หลอดเลือดฝอย มี 2 ส่วน ได้แก่
• กลุ่มหลอดเลือดฝอยที่อยู่ใน Bowman’s
Capsule เรียกว่า โกลเมอรูลัส (Glomerulus)
• หลอดเลือดฝอยที่พันอยู่ตามท่อของหน่วยไต
โกลเมอรูลัส
หลอดเลือดฝอยตามท่อไ
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
3. ท่อหน่วยไต (Convoluted Tubule) แบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
• ท่อ (ขด) หน่วยไตส่วนต้น มีการดูดสารที่มี
ประโยชน์กลับเข้าสู่ร่างกายมากที่สุด เช่น
กลูโคส กรดอะมิโน วิตามิน และนำ้า
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
• ท่อหน่วยไตส่วนกลาง มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของท่อน้อยกว่าท่อหน่วยไตส่วนต้น
และส่วนท้าย ลักษณะคล้ายอักษรตัวยู (U) มีชื่อ
เรียกเฉพาะว่า เฮนเล ลูป (Loop of Henle)
หรือห่วงเฮนเล เป็นอีกบริเวณหนึ่ง ที่มีการดูด
นำ้ากลับเข้าสู่ร่างกาย
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
• ท่อ (ขด) หน่วยไตส่วนท้าย เป็นบริเวณที่มี
การดูดโซเดียมไอออน (Na+
) ภายใต้การควบคุม
ของฮอร์โมนแอลโดสเทอโรน (Aldosterone)
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
4. ท่อรวม (Collecting Duct) เป็นบริเวณที่มี
การดูดนำ้ากลับเข้าสู่ร่างกายภายใต้การควบคุม
ของฮอร์โมน ADHจากต่อมใต้สมอง และเป็น
แหล่งรวมของเหลวที่เกิดจากการทำางานของ
หน่วยไต ซึ่งสุดท้ายแล้วจะกลายเป็นปัสสาวะ
ก่อนที่จะส่งต่อไปยังกรวยไต
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
กลไกการผลิตปัสสาวะของ
หน่วยไต
ประกอบด้วย 2 กระบวนการ ดังนี้
(1) การกรองสารที่โกลเมอรูลัส (Glomerulus
Filtration)
ผนังของกลุ่มหลอดเลือดฝอย “โกลเมอรูลัส” มี
คุณสมบัติพิเศษในการยอมให้สารโมเลกุลเล็กที่
มีอยู่ในเลือด เช่น นำ้า แร่ธาตุ วิตามิน ยูเรีย
กรดยูริก กลูโคส และกรดอะมิโนผ่าน
ส่วนสารโมเลกุลใหญ่โดยปกติแล้วจะไม่สามารถ
ผ่านไปได้ เช่น เม็ดเลือดแดง โปรตีนขนาดใหญ่
และไขมัน
การกรองสารบริเวณนี้จะอาศัยแรงดันเลือด
เป็นสำาคัญ โดยวันหนึ่งๆ จะมีการกรองสารได้
ประมาณ 180 ลิตร (180 ลูกบาศก์เดซิเมตร)นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
(2) การดูดสารกลับเข้าสู่ร่างกาย
(Reabsorption) บริเวณท่อหน่วยไต
การดูดสารกลับเข้าสู่กระแสเลือดเกิดขึ้นที่ท่อ
ของหน่วยไตซึ่งมีหลอดเลือดฝอยพันล้อมรอบ
ท่ออยู่ โดยใช้วิธีแอกทีฟทรานสปอร์ต (Active
Transport) พาสซีฟทรานสปอร์ต (Passive
Transport) และพิโนไซโทซิส
(Pinocytosis) วันหนึ่งๆ ร่างกายจะมีการดูดสาร
กลับประมาณ 178.5 ลิตร (178.5 ลูกบาศก์
เดซิเมตร)แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (Antidiuretic
Hormone; ADH) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วาโซ
เพรสซิน ( Vasopressin) เป็นฮอร์โมนสำาคัญที่
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ไต ควบคุมนำ้าของร่างกายในรูปของการขับถ่าย
ปัสสาวะ โดยการดูดกลับที่หลอดไตโดย
ฮอร์โมนวาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ
แอนติไดยูริติก ฮอร์โมน (antidiuretic
hormone หรือ ADH)
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ร่างกายได้รับนำ้าน้อย
ความเข้มข้นของเลือดจะสูง
ไฮโพทาลามัส
เข้าสู่ต่อมใต้สมอง
ส่วนหลัง หรือต่อมพิทู
อิทารี ส่วนหลัง
เข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด
ADH
หลอดไตส่วนท้าย (diatal tubule)
ดูดซึมนำ้ามากขึ้น ทำาให้ปัสสาวะน้อยลง
ห
ลั่ง
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา
ถ้าร่างกายขาด ADH ?????
จะทำาให้มีการขับปัสสาวะออกมา
มาก เรียกว่าเป็น โรคเบา
จืด(diabetes insipidus)
นางสาวกันต์กมล คุณรัตน์ ครู คศ.1 โรงเรียนสังวาลย์
วิทยา

More Related Content

What's hot

เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
Oui Nuchanart
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
netzad
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
dnavaroj
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
Chidchanok Puy
 

What's hot (20)

Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
Cell
CellCell
Cell
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560อธิบายข้อสอบOnet2560
อธิบายข้อสอบOnet2560
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิตนำเสนอหน้าชั้นเรื่อง  เซลล์สิ่งมีชีวิต
นำเสนอหน้าชั้นเรื่อง เซลล์สิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
Sumarin Sanguanwong
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
Tatthep Deesukon
 
Renal tubular acidosis
Renal tubular acidosisRenal tubular acidosis
Renal tubular acidosis
irock0722
 
Oxygen dissociation curve
Oxygen dissociation curveOxygen dissociation curve
Oxygen dissociation curve
rajkumarsrihari
 
Renal Physiology
Renal PhysiologyRenal Physiology
Renal Physiology
Kern Rocke
 

Viewers also liked (14)

การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมวิทย์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
Renal tubular acidosis
Renal tubular acidosisRenal tubular acidosis
Renal tubular acidosis
 
Oxygen hemoglobin dissociation curve
Oxygen hemoglobin dissociation curveOxygen hemoglobin dissociation curve
Oxygen hemoglobin dissociation curve
 
Oxygen dissociation curve
Oxygen dissociation curveOxygen dissociation curve
Oxygen dissociation curve
 
Physiology of O2 transport & O2 Dissociation Curve
Physiology of O2 transport & O2 Dissociation CurvePhysiology of O2 transport & O2 Dissociation Curve
Physiology of O2 transport & O2 Dissociation Curve
 
Renal Physiology
Renal PhysiologyRenal Physiology
Renal Physiology
 
Renal tubular acidosis ppt
Renal tubular acidosis pptRenal tubular acidosis ppt
Renal tubular acidosis ppt
 

Similar to การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต

การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
Pew Juthiporn
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
Thitiporn Parama
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
supreechafkk
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์
Melody Minhyok
 

Similar to การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต (20)

Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์
 

More from Kankamol Kunrat

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
Kankamol Kunrat
 

More from Kankamol Kunrat (8)

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงานใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 

การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต