SlideShare a Scribd company logo
1
ทสัณณกชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๖. ทสัณณกชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๑)
ว่าด้วยดาบแคว้นทสัณณกะ
(พระราชาตรัสถามอายุรบัณฑิตว่า)
[๓๙] ดาบแคว้นทสัณณกะคมกริบดื่มเลือดของคนที่ถูกต้อง
ชายผู้นี้กลืนเข้าไปได้ท่ามกลางชุมชน เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ
เราถามแล้ว จงบอกเหตุนั้น
(อายุรบัณฑิตทูลตอบว่า)
[๔๐] ชายผู้นี้กลืนดาบคมกริบที่ดื่มเลือดของคนที่ถูกต้องเข้าไปได้
เพราะความโลภ แต่ผู้ใดพูดว่าจะให้ คาพูดของเขาทาได้ยากกว่าการกลืนดาบนั้น
เหตุอย่างอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ
ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้
(พระราชาตรัสถามปุกกุสบัณฑิตว่า)
[๔๑] อายุรบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรมได้แก้เนื้อความแห่งปัญหาแล้ว
บัดนี้เราจะถามท่านปุกกุสบัณฑิตบ้าง เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ
เราถามแล้ว ท่านจงบอกเหตุนั้น
(ปุกกุสบัณฑิตทูลตอบว่า)
[๔๒] วาจาที่เปล่งออกมาคนอาศัยไม่ได้ ไม่มีผล แต่ผู้ใดให้แล้วไม่ติดใจ
การกระทาของผู้นั้นทาได้ยากกว่านั้น เหตุอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย
ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้
(พระราชาตรัสถามเสนกบัณฑิตว่า)
[๔๓] ปุกกุสบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรมได้แก้เนื้อความแห่งปัญหาแล้ว
บัดนี้เราจะถามท่านเสนกบัณฑิตบ้าง เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ
เราถามแล้ว ท่านจงบอกเหตุนั้น
(เสนกบัณฑิตทูลตอบว่า)
[๔๔] ทานจะน้อยหรือมากก็ตาม คนก็ควรจะให้ แต่ว่าผู้ใดเมื่อให้แล้ว
ภายหลังไม่เดือดร้อน การให้ของผู้นั้นทาได้ยากกว่า เหตุอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย
ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้
(พระราชาตรัสสดุดีพระโพธิสัตว์ว่า)
[๔๕] ตามที่เสนกบัณฑิตกล่าวมาย่อมครอบคลุมปัญหาทุกข้อ
อายุรบัณฑิตและปุกกุสบัณฑิตได้กล่าวแก้แล้ว
ทสัณณกชาดกที่ ๖ จบ
----------------------------------
2
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ทสัณณกชาดกที่ ๖
ว่าด้วย ให้แล้วไม่เดือดร้อนภายหลังทาได้ยาก
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภการยั่วยวนของภรรยาเก่า (ของภิกษุรูปหนึ่ง) จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ดังจะกล่าวโดยย่อ พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ได้ทราบว่า
เธอกระสันอยากสึก จริงหรือ? เมื่อเธอกราบทูลว่า จริง พระเจ้าข้า. ตรัสถามต่อว่า
ใครยั่วให้กระสัน? เมื่อเธอทูลว่า ภรรยาเก่า พระเจ้าข้า จึงตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุ หญิงนี้ทาอนัตถะให้เธอ ไม่เฉพาะในบัดนี้ แม้ในชาติก่อน
เธออาศัยหญิงนี้กาลังจะตายเพราะโรคเจตสิก ได้อาศัยบัณฑิตจึงได้ชีวิตไว้
แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์กาเนิดในตระกูลพราหมณ์ ญาติทั้งหลายได้ตั้งชื่อเขาว่า เสนกกุมาร.
เขาเติบโตแล้วได้เรียนศิลปะทุกชนิดในเมืองตักกสิลา จบแล้วก็กลับเมืองพาราณสี
ได้เป็นอามาตย์ผู้ถวายอรรถธรรมพระเจ้ามัทวะ. ท่านถูกคนทั้งหลายเรียกว่า
เสนกบัณฑิต รุ่งโรจน์ทั่วทั้งนคร เหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์.
ครั้งนั้น บุตรของราชปุโรหิตมาเฝ้ าในหลวง
เห็นอัครมเหสีของพระราชาผู้ทรงพระรูปโฉมสูงส่ง
ทรงประดับเครื่องทรงครบถ้วน มีจิตปฏิพัทธ์ไปบ้านแล้วนอนอดอาหาร
ถูกเพื่อนฝูงถาม จึงบอกเนื้อความนั้น.
พระราชาตรัสถามว่า ไม่เห็นบุตรของปุโรหิต ไปไหนเล่า?
ได้ทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงตรัสสั่งให้เขาเข้าเฝ้ า แล้วตรัสว่า
ฉันจะมอบให้ท่าน ๗ วัน จะเอาพระอัครมเหสีนี้ไปไว้ที่บ้าน ๗ วัน ในวันที่ ๘
จึงนามาส่ง.
เขารับพระบรมราชโองการแล้ว
นาอัครมเหสีไปบ้านร่วมอภิรมย์กับพระนาง
บุตรปุโรหิตและอัครมเหสีนั้นต่างก็มีจิตรักใคร่กัน
พากันหนีไปทางประตูยอดนั่นเอง โดยไม่ให้ใครรู้
ได้ไปที่แว่นแคว้นของพระราชาองค์อื่น.
ใครๆ ก็ไม่รู้ที่ที่คนทั้ง ๒ ไปแล้ว
ไม่มีร่องรอยเป็นเสมือนทางที่เรือผ่านไปแล้ว ฉะนั้น
ถึงพระราชาทรงให้ตีกลองป่าวประกาศไปในพระนคร ค้นหาโดยประการต่างๆ
ก็ไม่รู้ที่ที่เขาไป.
ต่อมา พระองค์ทรงเกิดความเศร้าโศกเป็นกาลังเพราะอาศัยเขา
พระหทัยร้อน พระโลหิตไหลออก ได้มีพระพยาธิขนาดหนัก
3
หมอหลวงตั้งมากมาย ก็ไม่สามารถจะเยียวยาได้.
พระโพธิสัตว์รู้ว่า พระราชานี้ไม่มีพระพยาธิอะไร
แต่พระองค์ไม่ทรงเห็นพระมเหสี จึงถูกพระโรคจิตกระทบ
เราจักใช้อุบายแก้ไขพระองค์ แล้วจึงเรียกอามาตย์ผู้เป็นราชบัณฑิต ๒ คน
คือ อายุรอามาตย์ ๑ ปุกกุสอามาตย์ ๑ มาหาแล้วบอกว่า
พระราชาไม่ทรงมีพระโรคอื่น เว้นไว้แต่พระโรคจิต
เพราะไม่ทรงเห็นพระราชเทวี พระราชาทรงมีพระอุปการะแก่เรามาก
เพราะฉะนั้น พวกเราจะใช้อุบายแก้ไขพระองค์
คือจักให้คนแสดงการเล่นที่พระลานหลวง แล้วจะให้ผู้รู้วิธีกลืนดาบ
กลืนดาบให้พระราชาประทับยืนทอดพระเนตรการเล่นที่ช่องพระแกล.
พระราชาทรงทอดพระเนตรคนกลืนดาบแล้ว ก็จักตรัสถามปัญหาว่า
ยังมีบ้างไหมสิ่งอื่นที่ทาได้ยากกว่านี้?
สหายอายุระ เธอควรทูลแก้ปัญหานั้นว่า การพูดว่า เราจะให้ของชื่อนี้
เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่านี้.
สหายปุกกุส ต่อนั้นไป พระองค์ก็จะตรัสถามเธอ
เธอควรทูลแก้ถวายพระองค์ว่า เมื่อคนพูดว่าจะให้แต่ไม่ให้ วาจานั้นไร้ผล
คนบางเหล่าหาเข้าถึงวาจาชนิดนั้นดารงชีวิตอยู่ไม่ ไม่เคี้ยวกิน ไม่ดื่ม
ซึ่งไม่ทาให้เหมาะสมแก่ถ้อยคานั้น
ส่วนการให้ประโยชน์ตามที่ปฏิญญาไว้นั่นแหละ การให้ของผู้นั้น
ทาได้ยากกว่าการพูดว่าจะให้.
ต่อจากนั้นไป ผมก็จักรู้เหตุอื่นที่จะต้องทาแก้ปัญหา ดังนี้แล้ว
ได้ให้แสดงการเล่น.
ลาดับนั้น บัณฑิตทั้ง ๓ เหล่านั้นพากันไปราชสานัก กราบทูลว่า
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปกกระหม่อม
ที่พระลานหลวงการเล่นกาลังแสดง เมื่อคนทั้งหลายดูการเล่นอยู่
แม้ทุกข์ก็ไม่เป็นทุกข์ ขอใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจงเสด็จเถิด
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะไปดู แล้วได้นาพระราชาไปเปิดช่องพระแกล
ให้พระองค์ทอดพระเนตรการเล่น คนจานวนมากต่างพากันแสดงศิลปะที่ตนรู้ๆ.
ชายคนหนึ่งกลืนดาบแก้วที่มีคมคมกริบ ยาว ๓๓ นิ้ว
พระราชาทอดพระเนตรชายคนนั้น แล้วทรงดาริว่า ชายคนนี้กลืนดาบอย่างนี้
เราจักถามบัณฑิตเหล่านี้ว่า มีอยู่หรือไม่ การเล่นอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่านี้แล้ว
เมื่อตรัสถามอายุรบัณฑิต จึงตรัสคาถาที่ ๑ ว่า :-
ชายคนนี้กลืนดาบทสรรณกะที่มีคมอันคมกริบ
ดื่มเลือดผู้อื่นที่กระทบแล้ว ฟันแล้ว ในท่ามกลางบริษัทยังมีไหม
สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบนี้ ท่านถูกเราถามแล้ว
4
จงบอกเหตุอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่าแก่เรา.
ลาดับนั้น อายุรบัณฑิต เมื่อทูลบอกพระราชา จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ก็ผู้ใดพึงกล่าวว่า เราจะให้ การกล่าวของเขานั้นเป็ นสิ่งที่ทาได้ยากกว่า
การกลืนดาบที่ดื่มโลหิตของผู้อื่น ที่กระทบเข้าแล้วของชายคนนั้น
เพราะความโลภ เหตุอย่างอื่นทุกอย่างเป็นสิ่งที่ทาได้ง่าย ข้าแต่พระเจ้ามคธ
ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้เถิด.
เมื่อพระราชาทรงสดับคาของอายุรบัณฑิตแล้ว
ทรงพิจารณาถ้อยคานั้นนั่นแหละว่า ได้ทราบว่า การพูดว่า เราจะให้สิ่งของชื่อนี้
เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ และเราก็ได้พูดออกไปแล้วว่า
เราจักให้พระราชเทวีแก่บุตรของปุโรหิต เราทากรรมที่ทาได้ยากแล้วหนอ
ความเศร้าโศกในพระราชหฤทัยเบาบางไปแล้วหน่อยหนึ่ง.
พระองค์ทรงดาริว่า แต่กรรมอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่าการพูดว่า
เราจะให้ของสิ่งนี้แก่ผู้อื่นนั้น ยังมีอยู่หรือไม่หนอ.
เมื่อทรงปราศรัยกับปุกกุสบัณฑิต จึงตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :-
อายุรบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรม กล่าวแก้ข้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้
เราจะขอถามปุกกุสบัณฑิตว่า สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการบอกว่าเราจะให้นั้น
ยังมีอยู่หรือ มีเหตุอย่างอื่นใดที่ทาได้ยาก ท่านผู้ถูกเราถามแล้ว
จงบอกเหตุนั้นแก่เรา.
ลาดับนั้น ปุกกุสบัณฑิต เมื่อจะทูลแก้ปัญหาถวายพระองค์
จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
คนทั้งหลายไม่รักษาคาที่พูดไว้ คาที่พูดที่เปล่งออกไปนั้นก็ไม่มีผล
และผู้ใดให้ปฏิญญาไว้แล้ว ก็บั่นทอนความโลภได้
การบั่นทอนความโลภของผู้นั้นนั้น
เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบและการให้ปฏิญญานั้น
เหตุอย่างอื่นทุกอย่างเป็นสิ่งที่ทาได้ง่าย ข้าแต่พระเจ้ามคธ
ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้เถิด.
แม้เมื่อพระราชาทรงสดับคานั้นแล้ว ทรงปริวิตกอยู่ว่า
เราพูดก่อนแล้วว่า เราจะให้พระเทวีแก่บุตรปุโรหิต ก็ได้ให้พระเทวี
ทาให้สมแก่การพูดแล้ว เราได้ทากรรมที่ทาได้ยากแล้วหนอ
ความเศร้าโศกเบาบางลงกว่าเดิม.
ลาดับนั้น พระองค์ได้มีพระปริวิตกว่า
คนอื่นที่ชื่อว่าเป็ นผู้ฉลาดกว่าเสนกบัณฑิต ไม่มี
เราจักถามปัญหานี้กะเสนกบัณฑิตนั่น.
ลาดับนั้น พระองค์เมื่อตรัสถามปัญหา จึงตรัสคาถาที่ ๕ ว่า :-
ปุกกุสบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรม กล่าวแก้ข้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้
5
เราจะถามเสนกบัณฑิตว่า สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการให้สิ่งของนั้นยังมีอยู่หรือ
เหตุอย่างอื่นใดที่ทาได้ยากยังมีอยู่ ท่านถูกเราถามแล้ว
ขอจงบอกเหตุอื่นที่ทาได้ยากกว่าแก่เรา.
เสนกบัณฑิต เมื่อจะทูลแก้ปัญหาถวายพระองค์ จึงกล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :-
คนควรให้ทานจะน้อยหรือมากก็ไม่ว่า แต่ผู้ใดครั้นให้แล้ว
ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง การไม่เดือดร้อนใจนั้น
เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าจะให้สิ่งของ
และกว่าการให้สิ่งของที่รักนั้น เหตุอย่างอื่นทั้งหมด เป็ นสิ่งที่ทาได้ง่าย
ข้าแต่พระเจ้ามคธ ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้.
ความว่า ผู้ใดครั้นให้ของรัก ที่ตนรักใคร่
ที่ตนชอบใจอย่างยิ่งแก่ผู้อื่นแล้ว ไม่ปรารภถึงของรักนั้น เดือดร้อนใจภายหลัง
คือไม่เศร้าโศกอย่างนี้ว่า เราให้ของสิ่งนี้เพื่ออะไร การไม่เศร้าโศกนี้
เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าเราจะให้สิ่งของชื่อนี้แก่ท่าน
และกว่าการให้สิ่งของนั้น.
พระมหาสัตว์กราบทูลให้พระราชาทรงรับทราบด้วยประการอย่างนี้
เพราะว่า ครั้นให้ทานแล้ว เจตนาในกาลต่อมาจะเป็นสิ่งที่ควรแก่ความเชื่อได้ยาก
ความที่อปรเจตนานั้นควรแก่ความเชื่อได้ยาก เป็นของทาได้ยาก
(พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว
แม้ในเวสสันดร สมจริงตามที่ตรัสไว้ว่า :-
พระมหาสัตว์ทรงถือธนู แล้วทรงคาดพระขรรค์ไว้เบื้องซ้าย
ทรงนาพระราชโอรสและพระราชธิดา ของพระองค์ออกไป เพราะว่า
คนฆ่าบุตรก็เป็ นทุกข์ ข้อที่พระราชกุมารและพระราชธิดาทั้งหลาย
เดือดร้อนมีทุกข์ เป็นรูปนี้ไม่ใช่ฐานะที่เป็นไปได้ และใครรู้ธรรมของสัตบุรุษแล้ว
แต่ให้ทานแล้วก็เดือดร้อนในภายหลัง.)
ฝ่ายพระราชาแล ครั้นทรงสดับคาของพระโพธิสัตว์แล้ว ทรงกาหนดว่า
เราให้พระราชเทวีแก่บุตรปุโรหิตด้วยดวงใจของตนนั่นเอง
แต่ไม่อาจจะทรงไว้ซึ่งดวงใจของตนได้ เศร้าใจลาบากใจอยู่
ข้อนี้ไม่สมควรแก่เรา ถ้าหากพระราชเทวีนั้นพึงมีความเสน่หาในเราไซร้
เธอคงไม่ทอดทิ้งอิสริยยศนี้หนีไป แต่เมื่อเธอไม่ทาความเสน่หาในเราหนีไปแล้ว
เราจักมีประโยชน์อะไร.
เมื่อพระองค์ทรงดาริถึงข้อนี้อยู่ ความเศร้าโศกทั้งหมดก็กลับหายไป
เหมือนหยดน้าที่กลิ้งตกไปจากใบบัวฉะนั้น ในทันใดนั้นเอง
พระนาภิของพระองค์ก็หยุดนิ่ง พระองค์ทรงไร้พระโรคทรงพระเกษมสาราญ.
เมื่อจะทรงทาการสดุดีพระโพธิสัตว์ จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า :-
6
อายุรบัณฑิตแก้ปัญหาแล้ว และปุกกุสบัณฑิตก็แก้ปัญหาแล้ว
ส่วนเสนกบัณฑิตครอบปัญหาหมดทุกข้อว่า คนให้ทานแล้ว
ไม่ควรเดือดร้อนใจภายหลัง อย่างที่เสนกบัณฑิตพูด.
ก็พระราชา ครั้นทรงทาการสดุดีแล้ว ทรงพอพระราชหฤทัยแล้ว
ได้พระราชทานทรัพย์เป็นอันมากแก่เสนกบัณฑิตนั้น.
พระศาสดา
ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มา ทรงประกาศสัจธรรมทั้งหลายแล้ว ทรงประชุม
ชาดกไว้ ในที่สุดแห่งสัจธรรม ภิกษุผู้กระสันจะสึกนั้น ตั้งอยู่แล้วในโสดาปัตติผล.
พระราชมเหสีในครั้งนั้น ได้แก่ ภรรยาเก่าในบัดนี้
พระราชา ได้แก่ ภิกษุผู้กระสันจะสึก
อายุรบัณฑิต ได้แก่ พระโมคคัลลานเถระ
ปุกกุสบัณฑิต ได้แก่ พระสารีบุตรเถระ
ส่วนเสนกบัณฑิต ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล.
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 401 ทสัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๐๑ อชิตปัญหา.pdf
๐๑ อชิตปัญหา.pdf๐๑ อชิตปัญหา.pdf
๐๑ อชิตปัญหา.pdf
maruay songtanin
 

Similar to 401 ทสัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (8)

๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
๑๒ ภัทราวุธปัญหา.pdf
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
315 มังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
362 สีลวีมังสชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๑ อชิตปัญหา.pdf
๐๑ อชิตปัญหา.pdf๐๑ อชิตปัญหา.pdf
๐๑ อชิตปัญหา.pdf
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

401 ทสัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ทสัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๖. ทสัณณกชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๑) ว่าด้วยดาบแคว้นทสัณณกะ (พระราชาตรัสถามอายุรบัณฑิตว่า) [๓๙] ดาบแคว้นทสัณณกะคมกริบดื่มเลือดของคนที่ถูกต้อง ชายผู้นี้กลืนเข้าไปได้ท่ามกลางชุมชน เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ เราถามแล้ว จงบอกเหตุนั้น (อายุรบัณฑิตทูลตอบว่า) [๔๐] ชายผู้นี้กลืนดาบคมกริบที่ดื่มเลือดของคนที่ถูกต้องเข้าไปได้ เพราะความโลภ แต่ผู้ใดพูดว่าจะให้ คาพูดของเขาทาได้ยากกว่าการกลืนดาบนั้น เหตุอย่างอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้ (พระราชาตรัสถามปุกกุสบัณฑิตว่า) [๔๑] อายุรบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรมได้แก้เนื้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้เราจะถามท่านปุกกุสบัณฑิตบ้าง เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ เราถามแล้ว ท่านจงบอกเหตุนั้น (ปุกกุสบัณฑิตทูลตอบว่า) [๔๒] วาจาที่เปล่งออกมาคนอาศัยไม่ได้ ไม่มีผล แต่ผู้ใดให้แล้วไม่ติดใจ การกระทาของผู้นั้นทาได้ยากกว่านั้น เหตุอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้ (พระราชาตรัสถามเสนกบัณฑิตว่า) [๔๓] ปุกกุสบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรมได้แก้เนื้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้เราจะถามท่านเสนกบัณฑิตบ้าง เหตุอื่นใดที่ทาได้ยากกว่านั้นมีอยู่หรือ เราถามแล้ว ท่านจงบอกเหตุนั้น (เสนกบัณฑิตทูลตอบว่า) [๔๔] ทานจะน้อยหรือมากก็ตาม คนก็ควรจะให้ แต่ว่าผู้ใดเมื่อให้แล้ว ภายหลังไม่เดือดร้อน การให้ของผู้นั้นทาได้ยากกว่า เหตุอื่นทั้งหมดทาได้ง่าย ขอเดชะพระเจ้ามัททวะผู้สมมติเทพ ขอพระองค์ทรงทราบอย่างนี้ (พระราชาตรัสสดุดีพระโพธิสัตว์ว่า) [๔๕] ตามที่เสนกบัณฑิตกล่าวมาย่อมครอบคลุมปัญหาทุกข้อ อายุรบัณฑิตและปุกกุสบัณฑิตได้กล่าวแก้แล้ว ทสัณณกชาดกที่ ๖ จบ ----------------------------------
  • 2. 2 คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ทสัณณกชาดกที่ ๖ ว่าด้วย ให้แล้วไม่เดือดร้อนภายหลังทาได้ยาก พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการยั่วยวนของภรรยาเก่า (ของภิกษุรูปหนึ่ง) จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ดังจะกล่าวโดยย่อ พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ได้ทราบว่า เธอกระสันอยากสึก จริงหรือ? เมื่อเธอกราบทูลว่า จริง พระเจ้าข้า. ตรัสถามต่อว่า ใครยั่วให้กระสัน? เมื่อเธอทูลว่า ภรรยาเก่า พระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ หญิงนี้ทาอนัตถะให้เธอ ไม่เฉพาะในบัดนี้ แม้ในชาติก่อน เธออาศัยหญิงนี้กาลังจะตายเพราะโรคเจตสิก ได้อาศัยบัณฑิตจึงได้ชีวิตไว้ แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์กาเนิดในตระกูลพราหมณ์ ญาติทั้งหลายได้ตั้งชื่อเขาว่า เสนกกุมาร. เขาเติบโตแล้วได้เรียนศิลปะทุกชนิดในเมืองตักกสิลา จบแล้วก็กลับเมืองพาราณสี ได้เป็นอามาตย์ผู้ถวายอรรถธรรมพระเจ้ามัทวะ. ท่านถูกคนทั้งหลายเรียกว่า เสนกบัณฑิต รุ่งโรจน์ทั่วทั้งนคร เหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์. ครั้งนั้น บุตรของราชปุโรหิตมาเฝ้ าในหลวง เห็นอัครมเหสีของพระราชาผู้ทรงพระรูปโฉมสูงส่ง ทรงประดับเครื่องทรงครบถ้วน มีจิตปฏิพัทธ์ไปบ้านแล้วนอนอดอาหาร ถูกเพื่อนฝูงถาม จึงบอกเนื้อความนั้น. พระราชาตรัสถามว่า ไม่เห็นบุตรของปุโรหิต ไปไหนเล่า? ได้ทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงตรัสสั่งให้เขาเข้าเฝ้ า แล้วตรัสว่า ฉันจะมอบให้ท่าน ๗ วัน จะเอาพระอัครมเหสีนี้ไปไว้ที่บ้าน ๗ วัน ในวันที่ ๘ จึงนามาส่ง. เขารับพระบรมราชโองการแล้ว นาอัครมเหสีไปบ้านร่วมอภิรมย์กับพระนาง บุตรปุโรหิตและอัครมเหสีนั้นต่างก็มีจิตรักใคร่กัน พากันหนีไปทางประตูยอดนั่นเอง โดยไม่ให้ใครรู้ ได้ไปที่แว่นแคว้นของพระราชาองค์อื่น. ใครๆ ก็ไม่รู้ที่ที่คนทั้ง ๒ ไปแล้ว ไม่มีร่องรอยเป็นเสมือนทางที่เรือผ่านไปแล้ว ฉะนั้น ถึงพระราชาทรงให้ตีกลองป่าวประกาศไปในพระนคร ค้นหาโดยประการต่างๆ ก็ไม่รู้ที่ที่เขาไป. ต่อมา พระองค์ทรงเกิดความเศร้าโศกเป็นกาลังเพราะอาศัยเขา พระหทัยร้อน พระโลหิตไหลออก ได้มีพระพยาธิขนาดหนัก
  • 3. 3 หมอหลวงตั้งมากมาย ก็ไม่สามารถจะเยียวยาได้. พระโพธิสัตว์รู้ว่า พระราชานี้ไม่มีพระพยาธิอะไร แต่พระองค์ไม่ทรงเห็นพระมเหสี จึงถูกพระโรคจิตกระทบ เราจักใช้อุบายแก้ไขพระองค์ แล้วจึงเรียกอามาตย์ผู้เป็นราชบัณฑิต ๒ คน คือ อายุรอามาตย์ ๑ ปุกกุสอามาตย์ ๑ มาหาแล้วบอกว่า พระราชาไม่ทรงมีพระโรคอื่น เว้นไว้แต่พระโรคจิต เพราะไม่ทรงเห็นพระราชเทวี พระราชาทรงมีพระอุปการะแก่เรามาก เพราะฉะนั้น พวกเราจะใช้อุบายแก้ไขพระองค์ คือจักให้คนแสดงการเล่นที่พระลานหลวง แล้วจะให้ผู้รู้วิธีกลืนดาบ กลืนดาบให้พระราชาประทับยืนทอดพระเนตรการเล่นที่ช่องพระแกล. พระราชาทรงทอดพระเนตรคนกลืนดาบแล้ว ก็จักตรัสถามปัญหาว่า ยังมีบ้างไหมสิ่งอื่นที่ทาได้ยากกว่านี้? สหายอายุระ เธอควรทูลแก้ปัญหานั้นว่า การพูดว่า เราจะให้ของชื่อนี้ เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่านี้. สหายปุกกุส ต่อนั้นไป พระองค์ก็จะตรัสถามเธอ เธอควรทูลแก้ถวายพระองค์ว่า เมื่อคนพูดว่าจะให้แต่ไม่ให้ วาจานั้นไร้ผล คนบางเหล่าหาเข้าถึงวาจาชนิดนั้นดารงชีวิตอยู่ไม่ ไม่เคี้ยวกิน ไม่ดื่ม ซึ่งไม่ทาให้เหมาะสมแก่ถ้อยคานั้น ส่วนการให้ประโยชน์ตามที่ปฏิญญาไว้นั่นแหละ การให้ของผู้นั้น ทาได้ยากกว่าการพูดว่าจะให้. ต่อจากนั้นไป ผมก็จักรู้เหตุอื่นที่จะต้องทาแก้ปัญหา ดังนี้แล้ว ได้ให้แสดงการเล่น. ลาดับนั้น บัณฑิตทั้ง ๓ เหล่านั้นพากันไปราชสานัก กราบทูลว่า ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปกกระหม่อม ที่พระลานหลวงการเล่นกาลังแสดง เมื่อคนทั้งหลายดูการเล่นอยู่ แม้ทุกข์ก็ไม่เป็นทุกข์ ขอใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจงเสด็จเถิด ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะไปดู แล้วได้นาพระราชาไปเปิดช่องพระแกล ให้พระองค์ทอดพระเนตรการเล่น คนจานวนมากต่างพากันแสดงศิลปะที่ตนรู้ๆ. ชายคนหนึ่งกลืนดาบแก้วที่มีคมคมกริบ ยาว ๓๓ นิ้ว พระราชาทอดพระเนตรชายคนนั้น แล้วทรงดาริว่า ชายคนนี้กลืนดาบอย่างนี้ เราจักถามบัณฑิตเหล่านี้ว่า มีอยู่หรือไม่ การเล่นอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่านี้แล้ว เมื่อตรัสถามอายุรบัณฑิต จึงตรัสคาถาที่ ๑ ว่า :- ชายคนนี้กลืนดาบทสรรณกะที่มีคมอันคมกริบ ดื่มเลือดผู้อื่นที่กระทบแล้ว ฟันแล้ว ในท่ามกลางบริษัทยังมีไหม สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบนี้ ท่านถูกเราถามแล้ว
  • 4. 4 จงบอกเหตุอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่าแก่เรา. ลาดับนั้น อายุรบัณฑิต เมื่อทูลบอกพระราชา จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- ก็ผู้ใดพึงกล่าวว่า เราจะให้ การกล่าวของเขานั้นเป็ นสิ่งที่ทาได้ยากกว่า การกลืนดาบที่ดื่มโลหิตของผู้อื่น ที่กระทบเข้าแล้วของชายคนนั้น เพราะความโลภ เหตุอย่างอื่นทุกอย่างเป็นสิ่งที่ทาได้ง่าย ข้าแต่พระเจ้ามคธ ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้เถิด. เมื่อพระราชาทรงสดับคาของอายุรบัณฑิตแล้ว ทรงพิจารณาถ้อยคานั้นนั่นแหละว่า ได้ทราบว่า การพูดว่า เราจะให้สิ่งของชื่อนี้ เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ และเราก็ได้พูดออกไปแล้วว่า เราจักให้พระราชเทวีแก่บุตรของปุโรหิต เราทากรรมที่ทาได้ยากแล้วหนอ ความเศร้าโศกในพระราชหฤทัยเบาบางไปแล้วหน่อยหนึ่ง. พระองค์ทรงดาริว่า แต่กรรมอย่างอื่นที่ทาได้ยากกว่าการพูดว่า เราจะให้ของสิ่งนี้แก่ผู้อื่นนั้น ยังมีอยู่หรือไม่หนอ. เมื่อทรงปราศรัยกับปุกกุสบัณฑิต จึงตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :- อายุรบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรม กล่าวแก้ข้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้ เราจะขอถามปุกกุสบัณฑิตว่า สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการบอกว่าเราจะให้นั้น ยังมีอยู่หรือ มีเหตุอย่างอื่นใดที่ทาได้ยาก ท่านผู้ถูกเราถามแล้ว จงบอกเหตุนั้นแก่เรา. ลาดับนั้น ปุกกุสบัณฑิต เมื่อจะทูลแก้ปัญหาถวายพระองค์ จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :- คนทั้งหลายไม่รักษาคาที่พูดไว้ คาที่พูดที่เปล่งออกไปนั้นก็ไม่มีผล และผู้ใดให้ปฏิญญาไว้แล้ว ก็บั่นทอนความโลภได้ การบั่นทอนความโลภของผู้นั้นนั้น เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบและการให้ปฏิญญานั้น เหตุอย่างอื่นทุกอย่างเป็นสิ่งที่ทาได้ง่าย ข้าแต่พระเจ้ามคธ ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้เถิด. แม้เมื่อพระราชาทรงสดับคานั้นแล้ว ทรงปริวิตกอยู่ว่า เราพูดก่อนแล้วว่า เราจะให้พระเทวีแก่บุตรปุโรหิต ก็ได้ให้พระเทวี ทาให้สมแก่การพูดแล้ว เราได้ทากรรมที่ทาได้ยากแล้วหนอ ความเศร้าโศกเบาบางลงกว่าเดิม. ลาดับนั้น พระองค์ได้มีพระปริวิตกว่า คนอื่นที่ชื่อว่าเป็ นผู้ฉลาดกว่าเสนกบัณฑิต ไม่มี เราจักถามปัญหานี้กะเสนกบัณฑิตนั่น. ลาดับนั้น พระองค์เมื่อตรัสถามปัญหา จึงตรัสคาถาที่ ๕ ว่า :- ปุกกุสบัณฑิตผู้ฉลาดในธรรม กล่าวแก้ข้อความแห่งปัญหาแล้ว บัดนี้
  • 5. 5 เราจะถามเสนกบัณฑิตว่า สิ่งที่ทาได้ยากกว่าการให้สิ่งของนั้นยังมีอยู่หรือ เหตุอย่างอื่นใดที่ทาได้ยากยังมีอยู่ ท่านถูกเราถามแล้ว ขอจงบอกเหตุอื่นที่ทาได้ยากกว่าแก่เรา. เสนกบัณฑิต เมื่อจะทูลแก้ปัญหาถวายพระองค์ จึงกล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :- คนควรให้ทานจะน้อยหรือมากก็ไม่ว่า แต่ผู้ใดครั้นให้แล้ว ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง การไม่เดือดร้อนใจนั้น เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าจะให้สิ่งของ และกว่าการให้สิ่งของที่รักนั้น เหตุอย่างอื่นทั้งหมด เป็ นสิ่งที่ทาได้ง่าย ข้าแต่พระเจ้ามคธ ขอพระองค์โปรดทรงทราบอย่างนี้. ความว่า ผู้ใดครั้นให้ของรัก ที่ตนรักใคร่ ที่ตนชอบใจอย่างยิ่งแก่ผู้อื่นแล้ว ไม่ปรารภถึงของรักนั้น เดือดร้อนใจภายหลัง คือไม่เศร้าโศกอย่างนี้ว่า เราให้ของสิ่งนี้เพื่ออะไร การไม่เศร้าโศกนี้ เป็นสิ่งที่ทาได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าเราจะให้สิ่งของชื่อนี้แก่ท่าน และกว่าการให้สิ่งของนั้น. พระมหาสัตว์กราบทูลให้พระราชาทรงรับทราบด้วยประการอย่างนี้ เพราะว่า ครั้นให้ทานแล้ว เจตนาในกาลต่อมาจะเป็นสิ่งที่ควรแก่ความเชื่อได้ยาก ความที่อปรเจตนานั้นควรแก่ความเชื่อได้ยาก เป็นของทาได้ยาก (พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว แม้ในเวสสันดร สมจริงตามที่ตรัสไว้ว่า :- พระมหาสัตว์ทรงถือธนู แล้วทรงคาดพระขรรค์ไว้เบื้องซ้าย ทรงนาพระราชโอรสและพระราชธิดา ของพระองค์ออกไป เพราะว่า คนฆ่าบุตรก็เป็ นทุกข์ ข้อที่พระราชกุมารและพระราชธิดาทั้งหลาย เดือดร้อนมีทุกข์ เป็นรูปนี้ไม่ใช่ฐานะที่เป็นไปได้ และใครรู้ธรรมของสัตบุรุษแล้ว แต่ให้ทานแล้วก็เดือดร้อนในภายหลัง.) ฝ่ายพระราชาแล ครั้นทรงสดับคาของพระโพธิสัตว์แล้ว ทรงกาหนดว่า เราให้พระราชเทวีแก่บุตรปุโรหิตด้วยดวงใจของตนนั่นเอง แต่ไม่อาจจะทรงไว้ซึ่งดวงใจของตนได้ เศร้าใจลาบากใจอยู่ ข้อนี้ไม่สมควรแก่เรา ถ้าหากพระราชเทวีนั้นพึงมีความเสน่หาในเราไซร้ เธอคงไม่ทอดทิ้งอิสริยยศนี้หนีไป แต่เมื่อเธอไม่ทาความเสน่หาในเราหนีไปแล้ว เราจักมีประโยชน์อะไร. เมื่อพระองค์ทรงดาริถึงข้อนี้อยู่ ความเศร้าโศกทั้งหมดก็กลับหายไป เหมือนหยดน้าที่กลิ้งตกไปจากใบบัวฉะนั้น ในทันใดนั้นเอง พระนาภิของพระองค์ก็หยุดนิ่ง พระองค์ทรงไร้พระโรคทรงพระเกษมสาราญ. เมื่อจะทรงทาการสดุดีพระโพธิสัตว์ จึงตรัสพระคาถาสุดท้ายว่า :-
  • 6. 6 อายุรบัณฑิตแก้ปัญหาแล้ว และปุกกุสบัณฑิตก็แก้ปัญหาแล้ว ส่วนเสนกบัณฑิตครอบปัญหาหมดทุกข้อว่า คนให้ทานแล้ว ไม่ควรเดือดร้อนใจภายหลัง อย่างที่เสนกบัณฑิตพูด. ก็พระราชา ครั้นทรงทาการสดุดีแล้ว ทรงพอพระราชหฤทัยแล้ว ได้พระราชทานทรัพย์เป็นอันมากแก่เสนกบัณฑิตนั้น. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มา ทรงประกาศสัจธรรมทั้งหลายแล้ว ทรงประชุม ชาดกไว้ ในที่สุดแห่งสัจธรรม ภิกษุผู้กระสันจะสึกนั้น ตั้งอยู่แล้วในโสดาปัตติผล. พระราชมเหสีในครั้งนั้น ได้แก่ ภรรยาเก่าในบัดนี้ พระราชา ได้แก่ ภิกษุผู้กระสันจะสึก อายุรบัณฑิต ได้แก่ พระโมคคัลลานเถระ ปุกกุสบัณฑิต ได้แก่ พระสารีบุตรเถระ ส่วนเสนกบัณฑิต ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล. -----------------------------------------------------