SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พฤติกรรม
จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
เรื่อง ประเภทของพฤติกรรมสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ เขียนสรุป
แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปแผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ได้
อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของสัตว์ได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น (stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง
(respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ การ
ขับถ่าย เป็นต้น
- สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli)
2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli)
- ระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อ เป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททา
หน้าที่ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึกแล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อ
ตอบสนองต่อไป
- อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1.รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor)
2.รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor)
3.รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปแผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม
ของสัตว์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> พฤติกรรมหมายถึงอะไร มีบทบาทความสาคัญอย่างไรต่อกระบวนการดารงชีวิต
> กระบวนการเกิดพฤติกรรมมีลาดับขั้นตอนอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
> กลไกการเกิดพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเหมือนหรือความแตกต่างกันหรือไม่
อย่างไรบ้าง
เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมี
ความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการอย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น การเกิดพฤติกรรมมีความสาคัญต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอย่างไรจงยกตัวอย่าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์” ว่า
> พฤติกรรม คือ กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า อันเป็นไปอย่าง
เหมาะสมเพื่อการอยู่รอดของชีวิต ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมกับ
ความพร้อมภายในร่างกายของสัตว์ ทาให้สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมาได้เรียกว่า ตัวกระตุ้นปลด ปล่อย
(Releasing stimulus) วงจรกระแสประสาทที่ไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อย เรียกว่า กลไกการปลดปล่อย
พฤติกรรม (Releasing mechanism)
> ปัจจัยต่าง ๆ ที่สาคัญต่อการเกิดพฤติกรรม
1. หน่วยรับความรู้สึก (Receptor) ส่วนของเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่ ไวเป็นพิเศษต่อสิ่งเร้า
2. ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ศูนย์รวบรวมข้อมูลและออก คาสั่ง
3. หน่วยปฏิบัติงาน (Effector) ส่วนของร่างกายที่ใช้ตอบสนอง สิ่งเร้า
> การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น (stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง
(respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ เป็น
ต้น สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli) คือ สิ่งเร้าที่อยู่นอกตัวผู้แสดงพฤติกรรม เช่น อาหาร
แสงสว่าง ความร้อน น้า สารเคมี เสียง แรงดึงดูดของโลก
2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli) เป็นสิ่งเร้าที่อยู่ภายในตัว ของผู้ที่แสดงพฤติกรรมเอง
เช่น ความกระหาย ความหิว ความต้องการทางเพศ สิ่งเร้าเหล่านี้ เป็นผลการทางานของระบบ
ประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
> ระบบประสาท และระบบกล้ามเนื้อ เป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททา
หน้าที่ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึก แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อ
ตอบสนองต่อไป เขียนเป็นไดอะแกรม ดังนี้
> อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1.รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น
ตารับแสง หูรับเสียง จมูกรับกลิ่น ผิวหนังรับอุณหภูมิ เป็นต้น
2.รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายใน เช่น
ความรู้สึกกระหายน้า ความรู้สึกหิว ความรู้สึกต้องการทางเพศ
3.รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) พวกนี้ช่วยทาให้เราทราบ
ตาแหน่งของร่างกายว่าอยู่อย่างไร ได้แก่ อวัยวะที่ทาหน้าที่ทรงตัวในหู รวมทั้ง ตัวรับความรู้สึกที่อยู่ใน
กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อด้วย
> สาหรับหน่วยตอบสนองเป็นหน่วยที่แสดงออกของพฤติกรรม ระดับความเจริญและพัฒนาของ
ระบบตอบสนองจะสัมพันธ์กับหน่วยรับความรู้สึกและระบบประสาทส่วนกลาง กล้ามเนื้อเป็นหน่วยตอบสนอง
ในสัตว์ทั่วๆไป ส่วนในพวกโพรทิสต์ไม่มีกล้ามเนื้อ อาศัยอวัยวะอื่นทาหน้าที่แทน เช่น ซิเลีย แฟลเจลลาหรือ
การไหลเวียนของโพรโทพลาซึมในพวกอะมีบา (amoeboid movement) การตอบสนองมักเกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่เสมอ
> โดยทั่วไปเหตุจูงใจและตัวกระตุ้นปลดปล่อยจะเป็นปฏิภาคผกผันกัน คือ ถ้ามีเหตุจูงใจสูง สัตว์จะ
แสดงพฤติกรรมได้ โดยตัวกระตุ้นปลดปล่อย ไม่ต้องสูงมากนัก ในทางตรงกันข้ามถ้าเหตุจูงใจต่าตัวกระตุ้น
ปลดปล่อยต้องสูงมาก ถึงแสดงพฤติกรรมได้ เช่น
- สัตว์อิ่ม (เหตุจูงใจต่า) เมื่อนาอาหารธรรมดา (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยต่า) มาให้สัตว์กินสัตว์ไม่
แสดงพฤติกรรมกินอาหาร แต่ถ้าเป็นอาหารชนิดพิเศษ (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยสูง) สัตว์แสดงพฤติกรรม
การกินอาหารได้
- สัตว์หิว (เหตุจูงใจสูง) เมื่อนาอาหารธรรมดา (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยต่า) มาให้สัตว์กินสัตว์ก็
สามารถแสดงพฤติกรรมการกินอาหารได้
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
ขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม
ของสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ
mind map พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
ขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม
ของสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ประเภทของพฤติกรรมสัตว์
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ เขียนสรุปการ
จาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญในการประเภทของพฤติกรรมสัตว์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
> พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (Inherited behavior หรือ innate behavior) เป็นพฤติกรรม
แบบง่าย ๆ มีแบบ แผนที่แน่นอนในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมแบบนี้สามารถ ถ่ายทอด
กรรมพันธุ์ได้ มีทั้งในพืชและสัตว์
- ไคนีซีส (kinesis) หมายถึง พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหา หรือหนีจากสิ่งเร้าโดยมี
ทิศทางไม่แน่นอน สะเปะสะปะ
- แทกซิส (taxis) หมายถึง พฤติกรรมของสัตว์ที่เคลื่อนที่ เข้าหาหรือหนีสิ่งเร้าอย่าง
มีทิศทางแน่นอน เช่น แมลงเม่าบินเข้า กองไฟ
- รีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไปกระตุ้นในทันที เพื่อ
หลีกเลี่ยงอันตราย เช่น การกระพริบตาเมื่อมีผงเข้าตา
- รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (Chain of reflex) สัญชาตญาณเป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าอย่าง อัตโนมัติ มีแบบแผนแน่นอน และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละ species
พฤติกรรมการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายหลังอัน เนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ
ในอดีต
> พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ แบ่งออกเป็นหลายประเภท คือ
1. ความเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มี
ความหมายต่อการดารงชีวิต ในที่สุดสัตว์จะค่อยลดพฤติกรรมลงทั้งๆ ที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่
2. การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioned reflex) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2
ชนิด คือสิ่งเร้าที่แท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ผลที่สุดแม้จะใช้เพียงสิ่งเร้าไม่
แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์แสดงการตอบสนองได้
3. การเรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and error learning) เป็นพฤติกรรมที่อาศัยการ
ทดลองทาดูก่อนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ถ้าผลการกระทาเป็นที่พอใจก็จะทาพฤติกรรมนั้นอีกหากไม่เป็น
ที่พอใจ ก็จะหลีกเลี่ยงไม่กระทาอีก
4. การฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอันเนื่องมา จากประสบการณ์แรกๆ ของ
ชีวิต เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับ สิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ เป็นพฤติกรรมที่ช่วย
ให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่
ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ ค่อยได้
5. การใช้เหตุผล (Reasoning) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออก โดยใช้สติปัญญาในการ
แก้ปัญหาต่างๆ เกิดกับสัตว์ที่มีสมองส่วนหน้า (cerebrum) เจริญดี โดยอาศัยประสบการณ์เดิมมา
ประยุกต์
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญในการประเภทของพฤติกรรมสัตว์ต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> ประเภทของพฤติกรรมสัตว์คืออะไร มีความสาคัญอย่างไรต่อการศึกษาในปัจจุบัน
> การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์มีลักษณะอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
> พฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมี
ความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการอย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น การเกิดพฤติกรรมมีความสาคัญต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอย่างไรจงยกตัวอย่าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ประเภทของพฤติกรรมสัตว์” ว่า
> พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated behavior) พฤติกรรม
แบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทางพันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ เป็น
ลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่ง
เรียกว่า ฟิกแอกชันแพทเทอร์น (fix action pattern, FAP) แบ่งออกเป็น
1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่
กาเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์
1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น
1.2.1 ไคนีซีส (kinesis)
1.2.2 แทกซีส (taxis)
1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex)
1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า
สัญชาตญาณ (instinct หรือinnate behavior)
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior) แบ่งเป็น
2.1 การฝังใจ (imprinting)
2.2 ความเคยชิน (habituation)
2.3 การมีเงื่อนไข (conditioning หรือ condition reflex)
2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning)
2.5 การใช้เหตุผล (reasoning หรือ insight learning)
> พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (Inherited behavior หรือ innate behavior) เป็นพฤติกรรมแบบ
ง่ายๆ มีแบบแผนที่แน่นอนในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมแบบนี้สามารถถ่ายทอดกรรมพันธุ์ได้ มีทั้งในพืช
และสัตว์
> ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูกควบคุมโดยจีน
(gene) ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้
2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดงพฤติกรรมได้
3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน
4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด
- ไคนีซีส (kinesis) หมายถึง พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหา หรือหนีจากสิ่งเร้าโดยมี
ทิศทางไม่แน่นอน สะเปะสะปะ
- แทกซิส (taxis) หมายถึง พฤติกรรมของสัตว์ที่เคลื่อนที่ เข้าหาหรือหนีสิ่งเร้าอย่าง
มีทิศทางแน่นอน เช่น แมลงเม่าบินเข้า กองไฟ
- รีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไปกระตุ้นในทันที เพื่อ
หลีกเลี่ยงอันตราย เช่น การกระพริบตาเมื่อมีผงเข้าตา
- รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (Chain of reflex) สัญชาตญาณเป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าอย่าง อัตโนมัติ มีแบบแผนแน่นอน และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละ species
พฤติกรรมการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายหลังอัน เนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ
ในอดีต
> พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ แบ่งออกเป็นหลายประเภท คือ
1. ความเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มี
ความหมายต่อการดารงชีวิต ในที่สุดสัตว์จะค่อยลดพฤติกรรมลงทั้งๆ ที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่
2. การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioned reflex) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2
ชนิด คือสิ่งเร้าที่แท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ผลที่สุดแม้จะใช้เพียงสิ่งเร้าไม่
แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์แสดงการตอบสนองได้
3. การเรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and error learning) เป็นพฤติกรรมที่อาศัยการ
ทดลองทาดูก่อนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ถ้าผลการกระทาเป็นที่พอใจก็จะทาพฤติกรรมนั้นอีกหากไม่เป็น
ที่พอใจ ก็จะหลีกเลี่ยงไม่กระทาอีก
4. การฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอันเนื่องมา จากประสบการณ์แรกๆ ของ
ชีวิต เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับ สิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ เป็นพฤติกรรมที่ช่วย
ให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่
ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ ค่อยได้
5. การใช้เหตุผล (Reasoning) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออก โดยใช้สติปัญญาในการ
แก้ปัญหาต่างๆ เกิดกับสัตว์ที่มีสมองส่วนหน้า (cerebrum) เจริญดี โดยอาศัยประสบการณ์เดิมมา
ประยุกต์
แผงผังสรุปประเภทพฤติกรรมของสัตว์
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ
การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ รูปแบบการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์
อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน
ระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการจาแนก
ประเภทของพฤติกรรมสัตว์ รูปแบบการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ อีกทั้งการ
ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสาร
ระหว่างสัตว์ เขียนสรุปหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่าง
สัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปบทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการสื่อสารระหว่าง
สัตว์ได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนต่อกระบวนการดารงชีวิตของ
สัตว์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- พฤติกรรมสื่อสารระหว่างสัตว์(animal communication behavior) มีหลายลักษณะดังนี้
1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสารด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์
หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว
2. . การสื่อสารด้วยเสียง (sound communication) การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่
คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และยังพบในแมลงด้วย เสียงจะมีความแตกต่างออกไปโดยมีจุดมุ่งหมาย
คล้ายๆ กัน
3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (tactile communication) การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่ง
ของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการแสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วยน้านมของแม่
เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่
4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (chemical communication) มีความสาคัญมากในสัตว์ต่างๆ
แต่ในคนมีความสาคัญน้อย สัตว์ต่างๆ จะสร้างสารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน (pheromone) ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารในสัตว์ชนิดเดียวกัน
5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (luminous communication) การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่
มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น
หิ่งห้อย จะมีกระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของสารลูซิเฟอริน
(luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส (luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงาน
ปลดปล่อยออกมา
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสาร
ระหว่างสัตว์
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปบทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการ
สื่อสารระหว่างสัตว์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนต่อ
กระบวนการดารงชีวิตของสัตว์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> สารเคมีจาพวกฟีโรโมนคืออะไร มีความสาคัญอย่างไรต่อการดารงชีวิตของสัตว์
> กระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์มีลาดับขั้นตอนอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
> สารเคมีจาพวกฟีโรโมนแต่ละประเภทส่งผลต่อสัตว์เหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารเคมีจาพวกฟีโรโมนมีความสัมพันธ์กับ
กระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์หรือไม่ อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น การเกิดพฤติกรรมของสัตว์มีความจาเป็นต้องอาศัยสารจาพวกฟีโรโมนเสมอไปหรือไม่อย่างไร พร้อมกับ
ยกตัวอย่างประกอบให้เห็นอย่างชัดเจน
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน” ว่า
> พฤติกรรมทางสังคม (Social behavior) ของสัตว์ พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ หมายถึง
พฤติกรรมที่สัตว์ชนิดเดียวกัน (species เดียวกัน) ใช้สื่อสารติดต่อกันในหมู่พวกของตน เช่น
1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสารด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์
หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว
1.1 การสื่อสารของผึ้ง
-การเต้นราแบบวงกลม (round dance)
-การเต้นราแบบส่ายท้อง (wagging dance) หรือการเต้นระบาแบบเลขแปด
1.2 การสื่อสารของปลาสติกเกิลสามหนาม (three spined stickleback)
2. . การสื่อสารด้วยเสียง (sound communication) การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่
คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และยังพบในแมลงด้วย เสียงจะมีความแตกต่างออกไปโดยมีจุดมุ่งหมาย
คล้ายๆ กัน ดังนี้ คือ
2.1 ใช้บอกชนิดของสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน
2.2 ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย
2.3 ใช้บอกตาแหน่งของตนเองให้ทราบว่าอยู่ที่จุดใด
2.4 เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆ รู้
2.5 ใช้บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่
2.6 ใช้บอกความรู้สึกต่างๆ และการเกี้ยวพาราสี
3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (tactile communication) การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่ง
ของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการแสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วยน้านมของแม่
เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่
4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (chemical communication) มีความสาคัญมากในสัตว์ต่างๆ
แต่ในคนมีความสาคัญน้อย สัตว์ต่างๆ จะสร้างสารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน (pheromone) ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารในสัตว์ชนิดเดียวกันแบ่งออกเป็น
4.1 ฟีโรโมนที่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (releaser pheromone) เช่น สารดึงดูด
เพศตรงข้าม (sex attractants) เช่น ฟีโรโมนที่ผีเสื้อไหมตัวเมียปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความ
สนใจของผีเสื้อไหมตัวผู้
4.2 ฟีโรโมนที่ไปกระตุ้น แต่ไม่เกิดพฤติกรรมทันที (primer pheromone) ฟีโรโมน
ชนิดนี้จะไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และเกิดพฤติกรรมในเวลาต่อมา
เช่น ฟีโรโมนของหนูตัวผู้ชักนาให้หนูตัวเมีย เป็นสัดและพร้อมที่จะผสมพันธุ์
ฟีโรโมนของแมลงส่วนใหญ่เป็นสารพวกแอลกอฮอล์โมเลกุลสั้นๆ จึงระเหยไปในอากาศ ได้ดี จึงสามารถไป
กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้ฟีโรโมนที่สาคัญ ได้แก่
1) ฟีโรโมนทางเพศ (sex pheromone)
2) ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromon)
3) ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone)
4) ฟีโรโมนตามรอย (trail rhermone)
5) ฟีโรโมนนางพญา (queen – substance pheromone)
5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (luminous communication) การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่
มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น
หิ่งห้อย จะมีกระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของสารลูซิเฟอริน
(luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส (luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงาน
ปลดปล่อยออกมา
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของ
สารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่างสัตว์ บทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมน
และกระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสื่อสารระหว่างสัตว์และ
ฟีโรโมนในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนใน
สัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่างสัตว์ บทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการ
สื่อสารระหว่างสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบกิจกรรม เรื่อง พฤติกรรม
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง
พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ.............
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก
ที่ ชื่อ-สกุล
การตอบคาถาม
การร่วมกิจกรรม
การแสดงความคิดเห็น
การซักถาม
รวมคะแนน
ระดับคะแนน
10-12 7-9 4-6
3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............
ที่ ชื่อ-สกุล
ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน
ความรับผิดชอบของ
แต่ละคน
การมีส่วนร่วมในการ
ทางาน
ความคิดสร้างสรรค์
ผลงาน
รวม 20-25 12-19 5-11
5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบความรู้ เรื่อง พฤติกรรม
กลไกการเกิดพฤติกรรม
การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น ( stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง
(respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ เป็น
ต้น สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
ภาพแสดงพฤติกรรมสัตว์ในห้องทดลอง
1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli) คือ สิ่งเร้าที่อยู่นอกตัวผู้แสดงพฤติกรรม เช่น อาหาร แสงสว่าง
ความร้อน น้า สารเคมี เสียง แรงดึงดูดของโลก
2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli) เป็นสิ่งเร้าที่อยู่ภายในตัว ของผู้ที่แสดงพฤติกรรมเอง เช่น ความ
กระหาย ความหิว ความต้องการทางเพศ อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ สิ่งเร้าเหล่านี้เป็นผลการทางานของ
ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อเป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททาหน้าที่
ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึกแล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อตอบสนอง
ต่อไป เขียนเป็นไดอะแกรม ดังนี้
ไดอะแกรมการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
พวกซีเลนเทอเรต ระบบประสาทเริ่มพัฒนาแต่ก็ไม่มาก โดยระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท
(nerve net) ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท จึงไม่มีทิศทางแน่นอน พฤติกรรมเป็นแบบง่ายๆ
เช่นเดียวกับพวกโพรทิสต์ ส่วนในสิ่งมีชีวิตขั้นสูง มีระบบประสาทที่พัฒนาไปมาก ทั้งในส่วนของอวัยวะรับ
ความรู้สึกและอวัยวะตอบสนอง ดังนั้น พฤติกรรมจึงมีความสลับซับซ้อนกว่าพวกแรกมาก สัตว์ชนิดเดียวกัน
หรือต่างกัน เมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นอย่างเดียวกัน อาจแสดงพฤติกรรมเหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
สภาวะของสัตว์ในขณะนั้นๆ เช่น อายุ เพศ ความเจริญของระบบประสาทและกล้ามเนื้อรวมไปถึงมูลเหตุจูงใจ
ด้วย ว่ามากน้อยขนาดไหน อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1. รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ตารับแสง
หูรับเสียง จมูกรับกลิ่น ผิวหนังรับอุณหภูมิ เป็นต้น
2. รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายใน เช่น ความรู้สึก
กระหายน้า ความรู้สึกหิว ความรู้สึกต้องการทางเพศ
3. รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) พวกนี้ช่วยทาให้เราทราบตาแหน่งของ
ร่างกายว่าอยู่อย่างไร ได้แก่ อวัยวะที่ทาหน้าที่ทรงตัวในหู รวมทั้งตัวรับความรู้สึกที่อยู่ในกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ
สาหรับหน่วยตอบสนองเป็นหน่วยที่แสดงออกของพฤติกรรม ระดับความเจริญและพัฒนาของระบบ
ตอบสนองจะสัมพันธ์กับหน่วยรับความรู้สึกและระบบประสาทส่วนกลาง กล้ามเนื้อเป็นหน่วยตอบสนองใน
สัตว์ทั่วๆไป ส่วนในพวกโพรทิสต์ ไม่มีกล้ามเนื้อ อาศัยอวัยวะอื่น ทาหน้าที่แทน เช่น ซิเลีย แฟลเจลลา หรือ
การไหลเวียนของโพรโทพลาซึมในพวกอะมีบา (amoeboid movement) การตอบสนองมักเกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่เสมอ
การแสดงพฤติกรรมของสัตว์ต้องมีสิ่งเร้ามากระตุ้น สัตว์จะแสดงพฤติกรรมเมื่อ มีเหตุจูงใจ มีเหตุจูงใจ
(motivation) ให้แสดงพฤติกรรมนั้นๆ เหตุจูงใจ คือ ความพร้อมภายในร่างกายของสัตว์ เช่น ความหิว ความ
กระหาย ความต้องการทางเพศ เหตุจูงใจจะทางานร่วมกับปัจจัยภายในร่างกายของสัตว์อีกหลายประการ เช่น
สุขภาพ ระดับฮอร์โมน ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ หรือประสบการณ์ต่างๆ ที่สัตว์ได้รับเหตุจูงใจตามปกติ
ต้องสูงพอประมาณ เช่น ร่างกายขาดน้าเนื่องจากเสียเหงื่อมาก จะมีผลไปกระตุ้นสมองส่วนไฮโพทาลามัส
(hypothalamus) ให้เกิดการกระหายน้า ขณะเดียวกันสมองสั่งการไปหน่วยปฏิบัติการ (effector) ให้เดินหา
น้าและเมื่อพบน้าก็จะดื่มได้ทันที ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมคือ น้า และความพร้อมของร่างกายสัตว์ ทาให้สัตว์
ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมาได้ คือ พฤติกรรมการดื่มน้าเรียกตัวกระตุ้นนี้ว่า ตัวกระตุ้นปลดปล่อย (releasing
stimulus) ส่วนกระแสประสาทที่ไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อยน้านี้ เรียกว่า กลไกการปลดปล่อยพฤติกรรม
(releasing mechanism) โดยทั่วไปเหตุจูงใจและตัวกระตุ้นปลดปล่อยจะเป็นปฏิภาคผกผันกัน คือ ถ้ามีเหตุ
ภาพแสดงพฤติกรรมในการทางานของระบบ
ประสาทของพวกซีเลนเทอเรต
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan
5 behavi plan

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 

Similar to 5 behavi plan

ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนY'tt Khnkt
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1Abhai Lawan
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 

Similar to 5 behavi plan (20)

บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคน
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
Lessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowthLessonplan 5animalgrowth
Lessonplan 5animalgrowth
 
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
Lessonplanunit5animalgrowth kr uwichai62
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

5 behavi plan

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พฤติกรรม จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 เรื่อง ประเภทของพฤติกรรมสัตว์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ เขียนสรุป แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปแผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ได้ อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของสัตว์ได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น (stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง (respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ การ ขับถ่าย เป็นต้น - สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli) 2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli) - ระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อ เป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททา หน้าที่ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึกแล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อ ตอบสนองต่อไป - อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor) 2.รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor) 3.รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
  • 3. ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปแผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม ของสัตว์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ต่อ กระบวนการดารงชีวิตของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > พฤติกรรมหมายถึงอะไร มีบทบาทความสาคัญอย่างไรต่อกระบวนการดารงชีวิต > กระบวนการเกิดพฤติกรรมมีลาดับขั้นตอนอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป > กลไกการเกิดพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเหมือนหรือความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไรบ้าง เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมี ความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการอย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การเกิดพฤติกรรมมีความสาคัญต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอย่างไรจงยกตัวอย่าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์” ว่า > พฤติกรรม คือ กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า อันเป็นไปอย่าง เหมาะสมเพื่อการอยู่รอดของชีวิต ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมกับ
  • 4. ความพร้อมภายในร่างกายของสัตว์ ทาให้สัตว์ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมาได้เรียกว่า ตัวกระตุ้นปลด ปล่อย (Releasing stimulus) วงจรกระแสประสาทที่ไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อย เรียกว่า กลไกการปลดปล่อย พฤติกรรม (Releasing mechanism) > ปัจจัยต่าง ๆ ที่สาคัญต่อการเกิดพฤติกรรม 1. หน่วยรับความรู้สึก (Receptor) ส่วนของเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่ ไวเป็นพิเศษต่อสิ่งเร้า 2. ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ศูนย์รวบรวมข้อมูลและออก คาสั่ง 3. หน่วยปฏิบัติงาน (Effector) ส่วนของร่างกายที่ใช้ตอบสนอง สิ่งเร้า > การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น (stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง (respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ เป็น ต้น สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli) คือ สิ่งเร้าที่อยู่นอกตัวผู้แสดงพฤติกรรม เช่น อาหาร แสงสว่าง ความร้อน น้า สารเคมี เสียง แรงดึงดูดของโลก 2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli) เป็นสิ่งเร้าที่อยู่ภายในตัว ของผู้ที่แสดงพฤติกรรมเอง เช่น ความกระหาย ความหิว ความต้องการทางเพศ สิ่งเร้าเหล่านี้ เป็นผลการทางานของระบบ ประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
  • 5. > ระบบประสาท และระบบกล้ามเนื้อ เป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททา หน้าที่ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึก แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อ ตอบสนองต่อไป เขียนเป็นไดอะแกรม ดังนี้ > อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ตารับแสง หูรับเสียง จมูกรับกลิ่น ผิวหนังรับอุณหภูมิ เป็นต้น 2.รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายใน เช่น ความรู้สึกกระหายน้า ความรู้สึกหิว ความรู้สึกต้องการทางเพศ 3.รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) พวกนี้ช่วยทาให้เราทราบ ตาแหน่งของร่างกายว่าอยู่อย่างไร ได้แก่ อวัยวะที่ทาหน้าที่ทรงตัวในหู รวมทั้ง ตัวรับความรู้สึกที่อยู่ใน กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อด้วย > สาหรับหน่วยตอบสนองเป็นหน่วยที่แสดงออกของพฤติกรรม ระดับความเจริญและพัฒนาของ ระบบตอบสนองจะสัมพันธ์กับหน่วยรับความรู้สึกและระบบประสาทส่วนกลาง กล้ามเนื้อเป็นหน่วยตอบสนอง ในสัตว์ทั่วๆไป ส่วนในพวกโพรทิสต์ไม่มีกล้ามเนื้อ อาศัยอวัยวะอื่นทาหน้าที่แทน เช่น ซิเลีย แฟลเจลลาหรือ การไหลเวียนของโพรโทพลาซึมในพวกอะมีบา (amoeboid movement) การตอบสนองมักเกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่เสมอ
  • 6. > โดยทั่วไปเหตุจูงใจและตัวกระตุ้นปลดปล่อยจะเป็นปฏิภาคผกผันกัน คือ ถ้ามีเหตุจูงใจสูง สัตว์จะ แสดงพฤติกรรมได้ โดยตัวกระตุ้นปลดปล่อย ไม่ต้องสูงมากนัก ในทางตรงกันข้ามถ้าเหตุจูงใจต่าตัวกระตุ้น ปลดปล่อยต้องสูงมาก ถึงแสดงพฤติกรรมได้ เช่น - สัตว์อิ่ม (เหตุจูงใจต่า) เมื่อนาอาหารธรรมดา (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยต่า) มาให้สัตว์กินสัตว์ไม่ แสดงพฤติกรรมกินอาหาร แต่ถ้าเป็นอาหารชนิดพิเศษ (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยสูง) สัตว์แสดงพฤติกรรม การกินอาหารได้ - สัตว์หิว (เหตุจูงใจสูง) เมื่อนาอาหารธรรมดา (ตัวกระตุ้นปลดปล่อยต่า) มาให้สัตว์กินสัตว์ก็ สามารถแสดงพฤติกรรมการกินอาหารได้ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ ขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม ของสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ ขั้นตอนของกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ แผนผังกระบวนการพร้อมยกตัวอย่างของกลไกการเกิดพฤติกรรม ของสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องกลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
  • 7. 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ประเภทของพฤติกรรมสัตว์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ เขียนสรุปการ จาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญในการประเภทของพฤติกรรมสัตว์ต่อกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ > พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (Inherited behavior หรือ innate behavior) เป็นพฤติกรรม แบบง่าย ๆ มีแบบ แผนที่แน่นอนในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมแบบนี้สามารถ ถ่ายทอด กรรมพันธุ์ได้ มีทั้งในพืชและสัตว์ - ไคนีซีส (kinesis) หมายถึง พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหา หรือหนีจากสิ่งเร้าโดยมี ทิศทางไม่แน่นอน สะเปะสะปะ - แทกซิส (taxis) หมายถึง พฤติกรรมของสัตว์ที่เคลื่อนที่ เข้าหาหรือหนีสิ่งเร้าอย่าง มีทิศทางแน่นอน เช่น แมลงเม่าบินเข้า กองไฟ - รีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไปกระตุ้นในทันที เพื่อ หลีกเลี่ยงอันตราย เช่น การกระพริบตาเมื่อมีผงเข้าตา - รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (Chain of reflex) สัญชาตญาณเป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าอย่าง อัตโนมัติ มีแบบแผนแน่นอน และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายหลังอัน เนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ ในอดีต > พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ แบ่งออกเป็นหลายประเภท คือ 1. ความเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มี ความหมายต่อการดารงชีวิต ในที่สุดสัตว์จะค่อยลดพฤติกรรมลงทั้งๆ ที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่
  • 9. 2. การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioned reflex) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด คือสิ่งเร้าที่แท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ผลที่สุดแม้จะใช้เพียงสิ่งเร้าไม่ แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์แสดงการตอบสนองได้ 3. การเรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and error learning) เป็นพฤติกรรมที่อาศัยการ ทดลองทาดูก่อนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ถ้าผลการกระทาเป็นที่พอใจก็จะทาพฤติกรรมนั้นอีกหากไม่เป็น ที่พอใจ ก็จะหลีกเลี่ยงไม่กระทาอีก 4. การฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอันเนื่องมา จากประสบการณ์แรกๆ ของ ชีวิต เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับ สิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ เป็นพฤติกรรมที่ช่วย ให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่ ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ ค่อยได้ 5. การใช้เหตุผล (Reasoning) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออก โดยใช้สติปัญญาในการ แก้ปัญหาต่างๆ เกิดกับสัตว์ที่มีสมองส่วนหน้า (cerebrum) เจริญดี โดยอาศัยประสบการณ์เดิมมา ประยุกต์ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมายและความสาคัญของการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญในการประเภทของพฤติกรรมสัตว์ต่อ กระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก
  • 10. 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > ประเภทของพฤติกรรมสัตว์คืออะไร มีความสาคัญอย่างไรต่อการศึกษาในปัจจุบัน > การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์มีลักษณะอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป > พฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความเหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมี ความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการอย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การเกิดพฤติกรรมมีความสาคัญต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอย่างไรจงยกตัวอย่าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ประเภทของพฤติกรรมสัตว์” ว่า > พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated behavior) พฤติกรรม แบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทางพันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ เป็น ลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่ง เรียกว่า ฟิกแอกชันแพทเทอร์น (fix action pattern, FAP) แบ่งออกเป็น 1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่ กาเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์ 1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น 1.2.1 ไคนีซีส (kinesis) 1.2.2 แทกซีส (taxis) 1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex) 1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct หรือinnate behavior) 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior) แบ่งเป็น 2.1 การฝังใจ (imprinting) 2.2 ความเคยชิน (habituation) 2.3 การมีเงื่อนไข (conditioning หรือ condition reflex) 2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning) 2.5 การใช้เหตุผล (reasoning หรือ insight learning) > พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด (Inherited behavior หรือ innate behavior) เป็นพฤติกรรมแบบ ง่ายๆ มีแบบแผนที่แน่นอนในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมแบบนี้สามารถถ่ายทอดกรรมพันธุ์ได้ มีทั้งในพืช และสัตว์ > ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด 1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูกควบคุมโดยจีน (gene) ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ 2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดงพฤติกรรมได้ 3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน
  • 11. 4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด - ไคนีซีส (kinesis) หมายถึง พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหา หรือหนีจากสิ่งเร้าโดยมี ทิศทางไม่แน่นอน สะเปะสะปะ - แทกซิส (taxis) หมายถึง พฤติกรรมของสัตว์ที่เคลื่อนที่ เข้าหาหรือหนีสิ่งเร้าอย่าง มีทิศทางแน่นอน เช่น แมลงเม่าบินเข้า กองไฟ - รีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไปกระตุ้นในทันที เพื่อ หลีกเลี่ยงอันตราย เช่น การกระพริบตาเมื่อมีผงเข้าตา - รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง (Chain of reflex) สัญชาตญาณเป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าอย่าง อัตโนมัติ มีแบบแผนแน่นอน และมีลักษณะเฉพาะในสัตว์แต่ละ species พฤติกรรมการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายหลังอัน เนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ ในอดีต
  • 12. > พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ แบ่งออกเป็นหลายประเภท คือ 1. ความเคยชิน (Habituation) เป็นพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ที่มิได้มี ความหมายต่อการดารงชีวิต ในที่สุดสัตว์จะค่อยลดพฤติกรรมลงทั้งๆ ที่สัตว์ยังคงถูกกระตุ้นอยู่ 2. การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioned reflex) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด คือสิ่งเร้าที่แท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ผลที่สุดแม้จะใช้เพียงสิ่งเร้าไม่ แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์แสดงการตอบสนองได้ 3. การเรียนรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and error learning) เป็นพฤติกรรมที่อาศัยการ ทดลองทาดูก่อนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ถ้าผลการกระทาเป็นที่พอใจก็จะทาพฤติกรรมนั้นอีกหากไม่เป็น ที่พอใจ ก็จะหลีกเลี่ยงไม่กระทาอีก
  • 13. 4. การฝังใจ (Imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอันเนื่องมา จากประสบการณ์แรกๆ ของ ชีวิต เกิดความผูกพันและโต้ตอบกับ สิ่งเร้าชนิดแรกที่รับรู้ได้ในขณะที่เกิดใหม่ ๆ เป็นพฤติกรรมที่ช่วย ให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้โดยได้รับการดูแลและคุ้มภัยอันตรายจากแม่ของมันในขณะที่ ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ ค่อยได้ 5. การใช้เหตุผล (Reasoning) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออก โดยใช้สติปัญญาในการ แก้ปัญหาต่างๆ เกิดกับสัตว์ที่มีสมองส่วนหน้า (cerebrum) เจริญดี โดยอาศัยประสบการณ์เดิมมา ประยุกต์ แผงผังสรุปประเภทพฤติกรรมของสัตว์
  • 14. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของ การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ รูปแบบการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาใน ระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสาคัญของการจาแนก ประเภทของพฤติกรรมสัตว์ รูปแบบการจาแนกประเภทพร้อมยกตัวอย่างสาคัญของพฤติกรรมสัตว์ อีกทั้งการ ประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การจาแนกประเภทของพฤติกรรมสัตว์ 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 15. บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสาร ระหว่างสัตว์ เขียนสรุปหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่าง สัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปบทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการสื่อสารระหว่าง สัตว์ได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนต่อกระบวนการดารงชีวิตของ สัตว์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - พฤติกรรมสื่อสารระหว่างสัตว์(animal communication behavior) มีหลายลักษณะดังนี้ 1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสารด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์ หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว 2. . การสื่อสารด้วยเสียง (sound communication) การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่ คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และยังพบในแมลงด้วย เสียงจะมีความแตกต่างออกไปโดยมีจุดมุ่งหมาย คล้ายๆ กัน 3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (tactile communication) การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่ง ของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการแสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วยน้านมของแม่ เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่ 4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (chemical communication) มีความสาคัญมากในสัตว์ต่างๆ แต่ในคนมีความสาคัญน้อย สัตว์ต่างๆ จะสร้างสารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน (pheromone) ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารในสัตว์ชนิดเดียวกัน 5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (luminous communication) การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่ มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น หิ่งห้อย จะมีกระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของสารลูซิเฟอริน
  • 17. (luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส (luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงาน ปลดปล่อยออกมา 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสาร ระหว่างสัตว์ ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปบทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการ สื่อสารระหว่างสัตว์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนต่อ กระบวนการดารงชีวิตของสัตว์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > สารเคมีจาพวกฟีโรโมนคืออะไร มีความสาคัญอย่างไรต่อการดารงชีวิตของสัตว์ > กระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์มีลาดับขั้นตอนอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป > สารเคมีจาพวกฟีโรโมนแต่ละประเภทส่งผลต่อสัตว์เหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารเคมีจาพวกฟีโรโมนมีความสัมพันธ์กับ กระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์หรือไม่ อย่างไร
  • 18. นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การเกิดพฤติกรรมของสัตว์มีความจาเป็นต้องอาศัยสารจาพวกฟีโรโมนเสมอไปหรือไม่อย่างไร พร้อมกับ ยกตัวอย่างประกอบให้เห็นอย่างชัดเจน ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน” ว่า > พฤติกรรมทางสังคม (Social behavior) ของสัตว์ พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ หมายถึง พฤติกรรมที่สัตว์ชนิดเดียวกัน (species เดียวกัน) ใช้สื่อสารติดต่อกันในหมู่พวกของตน เช่น 1. การสื่อสารด้วยท่าทาง (visual communication) การสื่อสารด้วยท่าทาง พบได้ในสัตว์ หลายชนิด เช่น การกระดิกหางของสุนัข แสดงการต้อนรับ และหางตกแสดงอาการกลัว 1.1 การสื่อสารของผึ้ง -การเต้นราแบบวงกลม (round dance) -การเต้นราแบบส่ายท้อง (wagging dance) หรือการเต้นระบาแบบเลขแปด 1.2 การสื่อสารของปลาสติกเกิลสามหนาม (three spined stickleback) 2. . การสื่อสารด้วยเสียง (sound communication) การสื่อสารด้วยเสียงเป็นการสื่อสารที่ คุ้นพบมากในสัตว์ชั้นสูงทั่วๆไป และยังพบในแมลงด้วย เสียงจะมีความแตกต่างออกไปโดยมีจุดมุ่งหมาย คล้ายๆ กัน ดังนี้ คือ 2.1 ใช้บอกชนิดของสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน 2.2 ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย 2.3 ใช้บอกตาแหน่งของตนเองให้ทราบว่าอยู่ที่จุดใด 2.4 เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆ รู้ 2.5 ใช้บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่ 2.6 ใช้บอกความรู้สึกต่างๆ และการเกี้ยวพาราสี
  • 19. 3. การสื่อสารด้วยการสัมผัส (tactile communication) การสัมผัสเป็นสื่อสาคัญอย่างหนึ่ง ของสัตว์ การอุ้มกอดซึ่งเป็นการแสดงถึงความรัก ทารกจะมีพัฒนาการดี ถ้าหากแม่เลี้ยงลูกด้วยน้านมของแม่ เอง ลูกได้รับการสัมผัส ได้รับความอบอุ่นจากแม่ 4. การสื่อสารด้วยสารเคมี (chemical communication) มีความสาคัญมากในสัตว์ต่างๆ แต่ในคนมีความสาคัญน้อย สัตว์ต่างๆ จะสร้างสารเคมีที่เรียกว่า ฟีโรโมน (pheromone) ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารในสัตว์ชนิดเดียวกันแบ่งออกเป็น 4.1 ฟีโรโมนที่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (releaser pheromone) เช่น สารดึงดูด เพศตรงข้าม (sex attractants) เช่น ฟีโรโมนที่ผีเสื้อไหมตัวเมียปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความ สนใจของผีเสื้อไหมตัวผู้ 4.2 ฟีโรโมนที่ไปกระตุ้น แต่ไม่เกิดพฤติกรรมทันที (primer pheromone) ฟีโรโมน ชนิดนี้จะไปกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และเกิดพฤติกรรมในเวลาต่อมา เช่น ฟีโรโมนของหนูตัวผู้ชักนาให้หนูตัวเมีย เป็นสัดและพร้อมที่จะผสมพันธุ์
  • 20. ฟีโรโมนของแมลงส่วนใหญ่เป็นสารพวกแอลกอฮอล์โมเลกุลสั้นๆ จึงระเหยไปในอากาศ ได้ดี จึงสามารถไป กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้ฟีโรโมนที่สาคัญ ได้แก่ 1) ฟีโรโมนทางเพศ (sex pheromone) 2) ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromon) 3) ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone) 4) ฟีโรโมนตามรอย (trail rhermone) 5) ฟีโรโมนนางพญา (queen – substance pheromone) 5. การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง (luminous communication) การสื่อสารแบบนี้ พบในสัตว์ที่ มีกิจกรรมกลางคืน หรือในที่มีแสงน้อย เช่น ใต้ทะเลลึก ซึ่งไม่มีแสง (aphontic zone) สัตว์กลุ่มนี้ เช่น หิ่งห้อย จะมีกระบวนการไบโอลูมิเนสเซนซ์ (bioluminescence) โดยการทางานของสารลูซิเฟอริน (luciferin) กับ แก๊สออกซิเจน และมีเอนไซม์ ลูซิเฟอเรส (luciferase) เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาและมีพลังงาน ปลดปล่อยออกมา นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของ สารเคมีฟีโรโมนในสัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่างสัตว์ บทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมน และกระบวนการสื่อสารระหว่างสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสื่อสารระหว่างสัตว์และ ฟีโรโมนในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
  • 21. ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของสารเคมีฟีโรโมนใน สัตว์และขั้นตอนของการสื่อสารระหว่างสัตว์ บทบาทหน้าที่ในแต่ละประเภทของฟีโรโมนและกระบวนการ สื่อสารระหว่างสัตว์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมนในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การสื่อสารระหว่างสัตว์และฟีโรโมน 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 22. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบกิจกรรม เรื่อง พฤติกรรม คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
  • 23. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก ที่ ชื่อ-สกุล การตอบคาถาม การร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การซักถาม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 24. แบบประเมินการทางานกลุ่ม รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ความรับผิดชอบของ แต่ละคน การมีส่วนร่วมในการ ทางาน ความคิดสร้างสรรค์ ผลงาน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
  • 25. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบความรู้ เรื่อง พฤติกรรม กลไกการเกิดพฤติกรรม การเกิดพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตจะต้องมีสิ่งมากระตุ้น ( stimulus) แล้วสิ่งมีชีวิตนั้นตอบสนอง (respond) ต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งจะออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การวิ่ง การร้องไห้ การกินอาหาร การสืบพันธุ์ เป็น ต้น สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดพฤติกรรม แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ ภาพแสดงพฤติกรรมสัตว์ในห้องทดลอง 1. สิ่งเร้าภายนอก (external stimuli) คือ สิ่งเร้าที่อยู่นอกตัวผู้แสดงพฤติกรรม เช่น อาหาร แสงสว่าง ความร้อน น้า สารเคมี เสียง แรงดึงดูดของโลก 2. สิ่งเร้าภายใน (internal stimuli) เป็นสิ่งเร้าที่อยู่ภายในตัว ของผู้ที่แสดงพฤติกรรมเอง เช่น ความ กระหาย ความหิว ความต้องการทางเพศ อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ สิ่งเร้าเหล่านี้เป็นผลการทางานของ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อเป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดพฤติกรรมโดยที่ระบบประสาททาหน้าที่ ในการรับความรู้สึก จากหน่วยรับความรู้สึกแล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองหรือไขสันหลังเพื่อตอบสนอง ต่อไป เขียนเป็นไดอะแกรม ดังนี้ ไดอะแกรมการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
  • 26. พวกซีเลนเทอเรต ระบบประสาทเริ่มพัฒนาแต่ก็ไม่มาก โดยระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท (nerve net) ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท จึงไม่มีทิศทางแน่นอน พฤติกรรมเป็นแบบง่ายๆ เช่นเดียวกับพวกโพรทิสต์ ส่วนในสิ่งมีชีวิตขั้นสูง มีระบบประสาทที่พัฒนาไปมาก ทั้งในส่วนของอวัยวะรับ ความรู้สึกและอวัยวะตอบสนอง ดังนั้น พฤติกรรมจึงมีความสลับซับซ้อนกว่าพวกแรกมาก สัตว์ชนิดเดียวกัน หรือต่างกัน เมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นอย่างเดียวกัน อาจแสดงพฤติกรรมเหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับ สภาวะของสัตว์ในขณะนั้นๆ เช่น อายุ เพศ ความเจริญของระบบประสาทและกล้ามเนื้อรวมไปถึงมูลเหตุจูงใจ ด้วย ว่ามากน้อยขนาดไหน อวัยวะรับความรู้สึกแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. รับความรู้สึกจากภายนอก (exteroceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ตารับแสง หูรับเสียง จมูกรับกลิ่น ผิวหนังรับอุณหภูมิ เป็นต้น 2. รับความรู้สึกจากภายใน (interoceptor) โดยรับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายใน เช่น ความรู้สึก กระหายน้า ความรู้สึกหิว ความรู้สึกต้องการทางเพศ 3. รับการกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก (propioceptor) พวกนี้ช่วยทาให้เราทราบตาแหน่งของ ร่างกายว่าอยู่อย่างไร ได้แก่ อวัยวะที่ทาหน้าที่ทรงตัวในหู รวมทั้งตัวรับความรู้สึกที่อยู่ในกล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ สาหรับหน่วยตอบสนองเป็นหน่วยที่แสดงออกของพฤติกรรม ระดับความเจริญและพัฒนาของระบบ ตอบสนองจะสัมพันธ์กับหน่วยรับความรู้สึกและระบบประสาทส่วนกลาง กล้ามเนื้อเป็นหน่วยตอบสนองใน สัตว์ทั่วๆไป ส่วนในพวกโพรทิสต์ ไม่มีกล้ามเนื้อ อาศัยอวัยวะอื่น ทาหน้าที่แทน เช่น ซิเลีย แฟลเจลลา หรือ การไหลเวียนของโพรโทพลาซึมในพวกอะมีบา (amoeboid movement) การตอบสนองมักเกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่เสมอ การแสดงพฤติกรรมของสัตว์ต้องมีสิ่งเร้ามากระตุ้น สัตว์จะแสดงพฤติกรรมเมื่อ มีเหตุจูงใจ มีเหตุจูงใจ (motivation) ให้แสดงพฤติกรรมนั้นๆ เหตุจูงใจ คือ ความพร้อมภายในร่างกายของสัตว์ เช่น ความหิว ความ กระหาย ความต้องการทางเพศ เหตุจูงใจจะทางานร่วมกับปัจจัยภายในร่างกายของสัตว์อีกหลายประการ เช่น สุขภาพ ระดับฮอร์โมน ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ หรือประสบการณ์ต่างๆ ที่สัตว์ได้รับเหตุจูงใจตามปกติ ต้องสูงพอประมาณ เช่น ร่างกายขาดน้าเนื่องจากเสียเหงื่อมาก จะมีผลไปกระตุ้นสมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ให้เกิดการกระหายน้า ขณะเดียวกันสมองสั่งการไปหน่วยปฏิบัติการ (effector) ให้เดินหา น้าและเมื่อพบน้าก็จะดื่มได้ทันที ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมคือ น้า และความพร้อมของร่างกายสัตว์ ทาให้สัตว์ ปลดปล่อยพฤติกรรมออกมาได้ คือ พฤติกรรมการดื่มน้าเรียกตัวกระตุ้นนี้ว่า ตัวกระตุ้นปลดปล่อย (releasing stimulus) ส่วนกระแสประสาทที่ไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อยน้านี้ เรียกว่า กลไกการปลดปล่อยพฤติกรรม (releasing mechanism) โดยทั่วไปเหตุจูงใจและตัวกระตุ้นปลดปล่อยจะเป็นปฏิภาคผกผันกัน คือ ถ้ามีเหตุ ภาพแสดงพฤติกรรมในการทางานของระบบ ประสาทของพวกซีเลนเทอเรต