SlideShare a Scribd company logo
1
                           ตัวอย่างข้อสอบ
     เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี(ออกข้อสอบประมาณ 3 ข้อ)
1. การพิจารณาว่าสารใดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดหรืออัตราการลดลงของสาร
ใดสารหนึ่งในสมการเคมี
3. การหาสมการกฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยา ค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. กราฟการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. พลังงานกับการดำาเนินไปของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

                        1. การพิจารณาว่าสารใดมีผลต่อ
                           อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ปฏิกิริยา 2A + 2B                        2C + D
       การ         ความเข้มข้นเมื่อเริ่มต้น (mol/dm3)       อัตราการเกิด
     ทดลอง           A               B               M      D (mol/dm3)
        I        4 x 10- 3        2 x 10- 3      1 x 10- 2   0.48 x 10- 3
        II       2 x 10- 3        4 x 10- 3      1 x 10- 2   0.48 x 10- 3
       III       2 x 10- 3        2 x 10- 3      1 x 10- 2   0.24 x 10- 3
       IV        2 x 10- 3        2 x 10- 3      5 x 10- 3   0.96 x 10- 3
   อัตราการเกิดปฏิกิริยาข้างต้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารดังข้อใด(ent
ต.ค. 41)
   1) ความเข้มข้นของ A , B และ M            2) ความเข้มข้นของ A และ B
   3) ความเข้มข้นของ A และ M                4) ความเข้มข้นของ B และ M
2. พิจารณาข้อมูลของการเกิดปฏิกิริยา A + B + 2C          D + 2E ดังต่อ
ไปนี(ENT’มี.ค.47)
    ้
   การ     [A]    [B]   [C]     อัตราการเกิด
 ทดลอง mol/ mol/ mol/              ปฏิกิริยา
          dm3 dm3 dm3            mol/dm3.s
    1     0.01 0.01 0.00            0.24
    2     0.02 0.01      1          0.48
    3     0.01 0.01 0.00            0.24
    4     0.01 0.02      1          0.48
    5     0.03 0.01 0.00            0.72
                         2
                       0.00
                         2
2
                           0.00
                            3
  อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของสารใดบ้าง
  1) A และ B        2) B และ C เท่านั้น       3) A และ C เท่านั้น
  4) A B และ C


3. ข้อมูลต่อไปนี้ได้จากการทดลองสำาหรับปฏิกิริยา
   2A + B + 3C → 3D ที่อุณหภูมิ 25 °C
       ความเข้มข้นเริมต้น
                     ่      อัตราเริ่มต้นของ
                   -3
          ( mol.dm )            ปฏิกิริยา
      [A]    [B]       [C]    ( mol.dm-3)
      0.1    0.1       0.1        0.3
      0.2    0.1       0.1        0.6
      0.2    0.2       0.1        1.2
      0.2    0.2       0.2        1.2

  ข้อใดถูก
  1) ถ้าใช้สาร A B และ C อย่างละ 1 mol จะเกิดสาร D 1 mol เช่นกัน
  2) ถ้าใช้สาร A B และ C อย่างละ 1 mol สาร B จะทำาปฏิกิริยาหมดก่อนสา
     รอื่นๆ
  3) ถ้า [A] = 0.2 [B] = 0.2 และ [C] = 0.4 mol.dm-3 อัตราเริ่มต้นของ
     ปฏิกิริยาจะเท่ากับ 2.4 mol.dm-3s-1
  4) สาร C ไม่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา

     2. การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดหรืออัตราการ
                   ลดลงของสารใดสารหนึ่งในสมการเคมี
1. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2(g) →            2NO(g) + O2(g) ถ้า
อัตราการสลายตัวของ NO2(g)
   เท่ากับ 4.4 x 10-5 mol.dm-3.s-1 อัตราการเกิด O2(g) จะเป็นเท่าใดในหน่วย
   1)     1.1 x 10-5       2)    2.2 x 10-5        3)    4.4 x 10-5
   4)     8.8 x 10-5

2. สาร X สามารถสลายตัวได้ดังสมการ
   3X         5Y + 6Z
   เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวพบว่าได้
ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้
    เวลา(วินาที    [X](mol/dm3)
3
           )
         0.00          1.000
         5.00          0.850
        10.00          0.750
        15.00          0.700
        20.00          0.670
    ทีเวลา 5 วินาที จะมีสาร Y เข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
      ่
   1) 0.15        2) 0.25         3) 0.85        4) 1.42



3. จากโจทย์ข้อ 2. ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 15 ถึง 20 วินาที มีค่า
   คงที่ และมีค่าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลานี้ ความเข้มข้นของ
   สาร X ในหน่วย mol.dm-3 ทีเวลา 17 วินาที มีค่าเท่าใด
                               ่
   1) 0.670        2) 0.688         3)      0.690          4)   0.700
4. ปฏิกิริยา 2A + 2B                       2C + D
       การ         ความเข้มข้นเมื่อเริ่มต้น (mol/dm3)        อัตราการเกิด
     ทดลอง          A              B               M         D (mol/dm3)
        I        4 x 10- 3     2 x 10- 3        1 x 10- 2    0.48 x 10- 3
        II       2 x 10- 3     4 x 10- 3        1 x 10- 2    0.48 x 10- 3
       III       2 x 10- 3     2 x 10- 3        1 x 10- 2    0.24 x 10- 3
       IV        2 x 10- 3     2 x 10- 3        5 x 10- 3    0.96 x 10- 3
   อัตราการสลายตัวของสาร A ในการทดลองที่ III เป็นเท่าใด (ent ต.ค.
41)
   1) 0.96 x 10-3 mol/dm3                     2) 0.48 x 10-3 mol/dm3
   3) 0.24 x 10-3 mol/dm3                     4) 0.12 x 10-3 mol/dm3
5. พิจารณาสมการ A +             3B                   5C     +   4D นำา
สาร A 1 โมล ทำาปฏิกิริยากับ B 3 โมลในสารละลาย 1 ลิตร เมื่อเวลาผ่านไป
10 วินาที พบว่ามี C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ B ในช่วง 0
ถึง 10 วินาที เป็นกี่โมลต่อวินาที(ent ต.ค. 41) อัตนัย
6. ณ อุณหภูมิหนึ่ง A สลายตัวให้ B ร้อยละ 90 โดยนำ้าหนัก ใช้เวลา 40 นาที
เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 °C อัตราการสลายตัวจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ถ้าต้องการให้ A
สลายตัวไปร้อยละ 90 โดยนำ้าหนักในเวลาเพียง 10 นาที จะต้องเพิ่มอุณหภูมิ
ขึ้นกี่องศาเซลเซียส(ent.มี.ค.’45 )
    1) 10            2) 20         3) 30      4) 40
4
7. ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์เป็นของแข็งไอออนิกไม่มีสี ([NO2]+[NO3]-(s
   ) )เมื่อให้ความร้อนที่ 32 °C , 1 atm จะได้แก๊ส N2O5 ซึ่งจะสลายต่อไปเป็น
   แก๊สสีนำ้าตาลของไนโตรเจนไดออกไซด์และออกซิเจน ดังสมการ
           [NO2]+[NO3]-(s) → N2O5
           2N2O5(g)             → 4NO2(g) + O2(g)
   ข้อสรุปใดผิด (ent.ต.ค.’44 )
   1)       อัตราการเกิด NO2 = 4 เท่าของอัตราการเกิด O2
   2) อัตราการเกิด NO2 = 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5
   3) อัตราการเกิด O2 = 1/4 เท่าของอัตราการเกิด NO2
   4) อัตราการเกิด O2 = 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5


8. ในการศึกษาอัตราของปฏิกิริยา 2A + 3B         → C ได้ข้อมูลดัง
ตาราง
                [A]        [B]      [C]
      เวลา mol.dm mol.dm mol.dm-
                      -

    (วินาที       3         -3        3

        )
        0       10         20        0
        2        7          x1       y1
        4        5          x2       y2
        6        4          x3       y3
   ข้อใดถูกต้อง (ent.มี.ค.’45 )
   1) อัตราการเกิดสาร C > อัตราการสลายตัวของสาร A > อัตราการสลาย
   ตัวของสาร B
   2) x1 = 15 , x2 = 13 , x3 = 12
   3) อัตราการสลายตัวของ A ในช่วงเวลา 0 – 2 นาที มีค่าเป็น 3 เท่าของ
       อัตราการเกิด C ในช่วงเวลา 2 – 4 นาที
   4) y1 = 3 , y2 = 5 , y3 = 6

9. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดในสถานะแก๊สและอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความ
เข้มข้นของสารทั้งสาร A และสาร B
       A + B → C
   ระบบ ก. สาร A 1 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 1 mol ในภาชนะขนาด 1 dm3
   ระบบ ข. สาร A 2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 2 mol ในภาชนะขนาด 2 dm3
   ระบบ ค. สาร A 0.2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 0.2 mol ในภาชนะขนาด
   0.1 dm3
   จากข้อมูลข้างต้น จงหาว่า
5
       I ระบบใดได้สาร C มากที่สุดภายในเวลาที่กำาหนด
       II ระบบใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุด
    ข้       I      II
    อ
    1)      ก        ข
    2)      ข        ค
    3)      ค        ข
    4)      ค        ค




10. สาร A สลายตัวดังสมการ A               2C ได้ข้อมูลดังตาราง
(ent.ต.ค.’44 )
     เวลา(วินา       [A]
       ที)       (mol.dm-3)
        0            3.0
        2            2.6
        5            2.0
        7            1.6
       10            1.0
     จากข้อมูลข้างต้น [C] ที่เวลา 8 วินาที ควรเป็นเท่าใด ในหน่วย
mol.dm-3
  1)    1.4            2) 1.6          3)   2.8          4)    3.2
11. ถ้านำาสาร A มาทำาปฏิกิริยากับ B และ C จะได้ผลิตภัณฑ์ D ดังสมการ
   A + 4B + 2C → 3D
   นักเรียนผู้หนึ่งศึกษาผลของความเข้มข้นของ A และ B ต่ออัตราปฏิกิริยา
   พบว่าผลการทดลองเป็นดังตาราง

    ความเข้มข้นเริ่มต้น   อัตราเริมต้นของปฏิกิริยา
                                  ่
       ( mol.dm-3 )               ( mol/s)
    [A]    [B]      [C]
    0.1    0.1      0.1             0.2
6
   0.2       0.1     0.1               0.4
   0.2       0.2     0.1               1.6
   0.2       0.2     0.2               1.6
  ข้อสรุปใดถูกต้อง (ent.มี.ค.’42 )
  1) ถ้า [A] = 0.2 , [B] = 0.1 , [C] = 0.3 อัตราเริมต้นของปฏิกิริยาจะเป็น
                                                       ่
  0.04 mol/s
  2) ถ้าเริ่มต้นด้วย A , B และ C จำานวนโมลเท่าๆ กัน A จะทำาปฏิกิริยาหมด
     ก่อน
  3) ปฏิกิริยานีไม่จำาเป็นต้องมีสาร C เข้าไปเกี่ยวข้อง
                 ้
  4) อัตราการเพิ่ม D จะมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป

12. ผลการทดลองสำาหรับปฏิกิริยา 2NO(g) +              H2(g)
H2O(g) + N2O(g) เป็นดังนี้
    [NO](mol.dm-3) [H2](mol.dm-3)              อัตราเร็วของ
                                         ปฏิกิริยา(mol.dm-3.s-1)
          1.00               1.00               3.5 x 10- 5
          1.20               1.20               5.0 x 10- 5
          0.80               0.80               1.8 x 10- 5
          1.00               2.00               7.0 x 10- 5
          2.00               1.00               1.4 x 10- 5
   อัตราเร็วของปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นตามข้อ
ใด(ENT’33)
   1) [NO][H2]        2) [NO]2[H2]     3) [NO]2[H2]2       4) [2NO][H2]

     3. การหาสมการกฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยาค่าคงที่อัตรา
        การเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.     พิจารณาปฏิกิริยาสมมติต่อไปนี้ A + 2B                     3C จากการ
   ทดลองเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A และ B เพื่อหาค่าอัตราการ
   เกิดปฏิกิริยาพบว่าได้ข้อมูลดังตาราง (ENT’มี.ค.43 )
    [A] mol.dm-3        [B] mol.dm-3        อัตราการเกิดปฏิกิริยา
                                                 mol.dm-3.s-1
              -                   -                       -
    1.00 x 10 4         2.00 x 10 4              2.0 x 10 7
              -                   -                       -
    3.00 x 10 4         2.00 x 10 4              1.8 x 10 6
              -                   -                       -
    5.00 x 10 4         2.00 x 10 4              5.0 x 10 6
              -                   -                       -
    1.00 x 10 4         4.00 x 10 4              4.0 x 10 7
              -                   -                       -
    1.00 x 10 4         6.00 x 10 4              6.0 x 10 7
7
  1.1จงหาสมการกฎอัตราของปฏิกิริยานี้
  1.2 จงหาอันดับของปฏิกิริยารวม(Overall order)
  1.3 จากการทดลองนี้ ถ้าเพิ่ม [A] เป็น 4 เท่า และ [B] เป็น 2 เท่า อัตราการ
      เกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นกี่เท่า
2. ถ้านำาสาร A มาทำาปฏิกิริยากับ B และ C จะได้ผลิตภัณฑ์ D ดังสมการ
    A + 4B + 2C → 3D
    นักเรียนผู้หนึ่งศึกษาผลของความเข้มข้นของ A และ B ต่ออัตราการเกิด
    ปฏิกิริยา พบว่าผลการทดลองเป็นดังตาราง
            ความเข้มข้นเริ่มต้น         อัตราการเกิดปฏิกิริยา
             ( mol.dm ) -3
                                         เคมี(mol.dm-3.s-1)
      [A]           [B]       [C]
      0.1           0.1       0.1               0.2
      0.2           0.1       0.1               0.4
      0.2           0.2       0.1               1.6
      0.2           0.2       0.2               1.6
    2.1เขียนสมการกฎอัตรา
    2.2 ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาอันดับใด
    2.3 จงหาค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
    2.4 สารใดบ้างที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
    2.5 ถ้าให้ [A] = 0.4 mol.dm-3 [B] = 0.2 mol.dm-3 และ [C] = 0.6
    mol.dm-3 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในหน่วย mol.dm-3.s-1


                    4. กราฟการศึกษาอัตราการ
                         เกิดปฏิกิริยาเคมี
1. กราฟต่อไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของ Y ตาม X ในการศึกษาเรื่องอัตรา
การเกิดปฎิกิริยา X และ Y
   ควรเป็นอย่างไร (ENT’ต.ค.’42 )
 Y




                              X

  1) X คือ อุณหภูมิ Y คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา
  2) X คือเวลา Y คือความเข้มข้น
  3) X คือเวลา Y คือ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
  4) X คือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ Y คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา
8

2. พิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O เป็น N2 และ O2 ดังสมการ
                                 1
     N2O(g)    →       N2(g) +     O (g)
                                 2 2
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ N2O(mol/dm3) กับเวลา (s) เป็นดังนี้




  ข้อใดถูกต้อง(ENT’ต.ค. 46)
  1) อัตราการเกิด O2 เท่ากับ 0.001 mol.dm-3.s-1
  2) ถ้าทำาการทดลองใหม่




              5. พลังงานกับการดำาเนินไปของอัตรา
                        การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. พิจารณาสมดุลเคมีต่อไปนี้ A + 2B                    3C + 5D
   พลังงานของสารตั้งต้น A และ B น้อยกว่าพลังงานของ C และ D อยู่ 250
   kJ ถ้าค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากับ 510 kJ พลังงาน
   ก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้ามีค่าเท่าใด และปฏิกิริยาไปข้างหน้ามี
   การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด (ent.มี.ค.’42 )
9
   1) 260 kJ คายความร้อน                    2) 260 kJ ดูดความร้อน
   3) 760 kJ คายความร้อน                    4) 760 kJ ดูดความร้อน
2. การเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์และการบอกชนิดของปฏิกิริยา I และ
ปฏิกิริยา II ในข้อใดถูกต้อง
          พลังงาน

                                   I
                                       II
                              การดำาเนินไปของ
                                  ปฏิกิริยา
    ข้   พลังงานก่อกัมมันต์       ปฏิกิริยาดูด     ปฏิกิริยาคาย
    อ      ของปฏิกิริยา            ความร้อน         ความร้อน
    1)         I = II                   I                II
    2)         I > II                   I                II
    3)         I < II                  II                 I
    4)         I = II                  II                 I
3. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับกราฟที่กำาหนดให้ต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
   พลังงา
      น


                    Ea       Ea
                            2
                              การดำาเนินไปของ
  1) เป็นปฏิกิริยาชนิดดูดความร้อนิริยา
                                   ปฏิก
  2) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น 2 ขั้นตอน
  3) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับค่า Ea1
  4) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับค่า Ea2



4. พิจารณาสมการ
   A + 2B → C + 280 kJ                  …(1)
   2X + Y + 150 kJ →                  3Z     …(2)
   ถ้าระดับพลังงานของสารตั้งต้นในปฏิกิริยา (1) และ (2) เป็น 510 และ 340
   kJ ตามลำาดับ ระดับพลังงานของ
   ผลิตภัณฑ์จาก 2 ปฏิกิริยานี้ มีค่าแตกต่างกันกี่กิโลจูล (ent.ต.ค.’42 )
   1)    200 kJ           2)      260 kJ             3)    370 kJ       4)
      490 kJ
10

5. ปฏิกิริยา A → D + E            เป็นปฏิกิริยาที่เกิดผ่านขั้นตอนต่างๆดังนี้
   ขั้นที่ 1 A → B         พลังงานก่อกัมมันต์ = 300 kJ
   ขั้นที่ 2 B    → C           พลังงานก่อกัมมันต์ = 100 kJ
   ขั้นที่ 3 C → D + E พลังงานก่อกัมมันต์ = 200 kJ
   พลังงานของสารต่างๆ ทีเกี่ยวข้องมีระดับพลังงานเป็นดังตาราง
                              ่
           สาร      ระดับพลังงาน(kJ)
            A               100
            B               200
            C               150
            D                55
            E                55
   ข้อสรุปใดผิด (ENT’ต.ค.44 )
   1) ปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 เกิดช้าที่สุด
   2) ปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 จะคายพลังงาน 100 kJ
   3) ปฏิกิริยา C     → B จะมีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ 150 kJ
   4) ปฏิกิริยา A → D + E จะคายพลังงานเท่ากับ 45 kJ




6. กราฟแสดงพลังงานและการดำาเนินไปของปฏิกิริยาเป็นดังนี้




    พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
11
      ก. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB มีค่าเท่ากับ 40
 kJ
    ข. ปฏิกิริยา 2AB   → A2 + B2            มีการคายความร้อน 10 kJ
    ค. ปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB         เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
    ง. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
 ของปฏิกิริยาย้อนกลับ
    ข้อใดถูก(ENT’ต.ค.46)
   1) ก และ ข เท่านั้น       2) ค และ ง     3) ก ข และ ค        4) ง
 เท่านั้น




           6. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
                  เกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ข้อใดมีผลทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลียนแปลงไปในทิศทาง
                                               ่
   เดียวกัน(ENT’มี.ค.44)
   1) เพิ่มอุณหภูมิ ลดความดัน
   2) เพิ่มพื้นที่ผว ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา
                   ิ
   3) เพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น เพิ่มพลังงานก่อกัมมันต์
   4) เพิ่มพื้นที่ผว เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ
                     ิ
2. การทดลองในข้อใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิ
เดียวกัน(ENT’24)
    1) ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
    2) ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3
    3) ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
    4) ใส่สังกะสีผงหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3
3. ถ้าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาทังสองต่อไปนี้มีค่าเท่ากัน
                                  ้
   NH3(g) + HCl(g)                    NH4Cl(s)…(1)
   N(CH3)3(g) + HCl(g)              NH(CH3)3(s) …(2)
12
   อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ 50 °C ของปฏิกิริยาทั้งสองเปรียบเทียบกันเป็น
อย่างไร เพราะเหตุใด
   1) อัตราของทั้งสองปฏิกิริยาเท่ากัน เพราะ NH3 และ N(CH3)3 มี
 พลังงานจลน์เฉลียเท่ากัน
                  ่
   2) อัตราของปฏิกิริยา (1) สูงกว่าของ (2) เพราะ NH3 เป็นโมเลกุลเล็ก จึงมี
      ความเร็ว
       ในการวิ่งชนกันมากกว่า N(CH3)3
   3) อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ(1) เพราะ N(CH3)3 เป็นโมเลกุล
 ใหญ่ทำาให้มีพื้นที่ผวชนกันได้มากกว่า
                     ิ
   4) อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ (1) เพราะผลิตภัณฑ์ NH(CH3)3Cl
 เสถียรมากกว่า NH4Cl
4. เมื่อใส่ 1 M HCl 25 cm3 ลงในหินปูนชิ้นเล็กๆ จะเกิดแก๊ส
   คาร์บอนไดออกไซด์ การเปลี่ยนแปลงข้อใดที่จะไม่ทำาให้อัตราของปฏิกิริยา
   เริ่มต้นเพิ่มขึ้น(ENT’26)
   1) ใช้ 1 M HCl 100 cm3            2) ใช้ 2 M HCl 25 cm3
   3) ใช้ 2 M HCl 50 cm3          4) บดหินปูนให้เป็นผงละเอียด
5. ปฏิกิริยา A + B → P เกิดช้า แต่สมบูรณ์ และเป็นปฏิกิริยาคายความ
   ร้อน พบว่าอัตราของปฏิกิริยาขึ้นกับปริมาณของสารตั้งต้น A แต่ไม่ขึ้นกับ
   ปริมาณสารตั้งต้น B การกระทำาทั้งหมดในข้อใดต่อไปนี้มีผลทำาให้ปฏิกิริยา
   เกิดได้เร็วขึ้น (ENT’35)
   1) ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A             2) ลดอุณหภูมิ เอาสาร P ออก
   3) เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เพิ่มสาร B    4) ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A
เอาสาร P ออก

6. ปฏิกิริยา A(s) + B(aq) → C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาคาย
ความร้อน อัตราการเกิดปฏิกิริยา
   จะเพิ่มขึ้นเมื่อใด(ENT’36)
   1) ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
   2) ลดปริมาณของ D เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
   3) เพิ่มขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
   4) ลดขนาดของ A เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพิ่มอุณหภูมิ
7. โลหะอะลูมิเนียมทำาปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ
   2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l)                   2NaAl(OH)4(aq) +
3H2O(g)
   ถ้าทำาการทดลอง 2 ตอนดังนี้
   ตอนที่ 1 ใช้แผ่นอะลูมิเนียมขนาด 0.5 cm x 10 cm 1 ชิ้น
13
ตอนที่ 2 ใช้อะลูมิเนียมเป็นก้อนกลม 1 ก้อน
นำ้าหนักของอะลูมิเนียมที่ใช้ทง 2 ตอนเท่ากัน
                              ั้
ถ้าข้อมูลที่ได้จากการทดลองการทำาปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นดังนี้
 เวลา(         ความเข้มข้นของ            ความเข้มข้นของ
    s)         สารละลาย NaOH          สารละลาย NaAl(OH)4
                  (mol/dm )3
                                             (mol/dm3)
             ตอนที่ 1      ตอนที่ 2    ตอนที่ 1      ตอนที่ 2
    0           a                a        b             d
    2           X                A        e             h
    4           Y                B         f             i
    6           Z                C        g             j
ข้อใดผิด (Ent’มี.ค.’43 )
ก. X > A            ข. Z > C        ค. b = d = 0         ง. F = i
1) ก. เท่านั้น         2) ก. และ ข.       3) ก. , ข, และ ค.         ง)
ก. , ข. , ค. และ ง.
14

More Related Content

What's hot

โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfKatewaree Yosyingyong
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 

What's hot (20)

โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อนุภาคในอะตอม.pdf
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 

Similar to Entrance Rate

เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)N-nut Piacker
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีatichat44164
 

Similar to Entrance Rate (20)

Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
เคมี ปี 55
เคมี ปี 55เคมี ปี 55
เคมี ปี 55
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
Som
SomSom
Som
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Entrance Rate

  • 1. 1 ตัวอย่างข้อสอบ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี(ออกข้อสอบประมาณ 3 ข้อ) 1. การพิจารณาว่าสารใดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดหรืออัตราการลดลงของสาร ใดสารหนึ่งในสมการเคมี 3. การหาสมการกฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยา ค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4. กราฟการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. พลังงานกับการดำาเนินไปของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. การพิจารณาว่าสารใดมีผลต่อ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ปฏิกิริยา 2A + 2B 2C + D การ ความเข้มข้นเมื่อเริ่มต้น (mol/dm3) อัตราการเกิด ทดลอง A B M D (mol/dm3) I 4 x 10- 3 2 x 10- 3 1 x 10- 2 0.48 x 10- 3 II 2 x 10- 3 4 x 10- 3 1 x 10- 2 0.48 x 10- 3 III 2 x 10- 3 2 x 10- 3 1 x 10- 2 0.24 x 10- 3 IV 2 x 10- 3 2 x 10- 3 5 x 10- 3 0.96 x 10- 3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาข้างต้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารดังข้อใด(ent ต.ค. 41) 1) ความเข้มข้นของ A , B และ M 2) ความเข้มข้นของ A และ B 3) ความเข้มข้นของ A และ M 4) ความเข้มข้นของ B และ M 2. พิจารณาข้อมูลของการเกิดปฏิกิริยา A + B + 2C D + 2E ดังต่อ ไปนี(ENT’มี.ค.47) ้ การ [A] [B] [C] อัตราการเกิด ทดลอง mol/ mol/ mol/ ปฏิกิริยา dm3 dm3 dm3 mol/dm3.s 1 0.01 0.01 0.00 0.24 2 0.02 0.01 1 0.48 3 0.01 0.01 0.00 0.24 4 0.01 0.02 1 0.48 5 0.03 0.01 0.00 0.72 2 0.00 2
  • 2. 2 0.00 3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของสารใดบ้าง 1) A และ B 2) B และ C เท่านั้น 3) A และ C เท่านั้น 4) A B และ C 3. ข้อมูลต่อไปนี้ได้จากการทดลองสำาหรับปฏิกิริยา 2A + B + 3C → 3D ที่อุณหภูมิ 25 °C ความเข้มข้นเริมต้น ่ อัตราเริ่มต้นของ -3 ( mol.dm ) ปฏิกิริยา [A] [B] [C] ( mol.dm-3) 0.1 0.1 0.1 0.3 0.2 0.1 0.1 0.6 0.2 0.2 0.1 1.2 0.2 0.2 0.2 1.2 ข้อใดถูก 1) ถ้าใช้สาร A B และ C อย่างละ 1 mol จะเกิดสาร D 1 mol เช่นกัน 2) ถ้าใช้สาร A B และ C อย่างละ 1 mol สาร B จะทำาปฏิกิริยาหมดก่อนสา รอื่นๆ 3) ถ้า [A] = 0.2 [B] = 0.2 และ [C] = 0.4 mol.dm-3 อัตราเริ่มต้นของ ปฏิกิริยาจะเท่ากับ 2.4 mol.dm-3s-1 4) สาร C ไม่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา 2. การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดหรืออัตราการ ลดลงของสารใดสารหนึ่งในสมการเคมี 1. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2(g) → 2NO(g) + O2(g) ถ้า อัตราการสลายตัวของ NO2(g) เท่ากับ 4.4 x 10-5 mol.dm-3.s-1 อัตราการเกิด O2(g) จะเป็นเท่าใดในหน่วย 1) 1.1 x 10-5 2) 2.2 x 10-5 3) 4.4 x 10-5 4) 8.8 x 10-5 2. สาร X สามารถสลายตัวได้ดังสมการ 3X 5Y + 6Z เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวพบว่าได้ ข้อมูลดังตารางต่อไปนี้ เวลา(วินาที [X](mol/dm3)
  • 3. 3 ) 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670 ทีเวลา 5 วินาที จะมีสาร Y เข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร ่ 1) 0.15 2) 0.25 3) 0.85 4) 1.42 3. จากโจทย์ข้อ 2. ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 15 ถึง 20 วินาที มีค่า คงที่ และมีค่าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลานี้ ความเข้มข้นของ สาร X ในหน่วย mol.dm-3 ทีเวลา 17 วินาที มีค่าเท่าใด ่ 1) 0.670 2) 0.688 3) 0.690 4) 0.700 4. ปฏิกิริยา 2A + 2B 2C + D การ ความเข้มข้นเมื่อเริ่มต้น (mol/dm3) อัตราการเกิด ทดลอง A B M D (mol/dm3) I 4 x 10- 3 2 x 10- 3 1 x 10- 2 0.48 x 10- 3 II 2 x 10- 3 4 x 10- 3 1 x 10- 2 0.48 x 10- 3 III 2 x 10- 3 2 x 10- 3 1 x 10- 2 0.24 x 10- 3 IV 2 x 10- 3 2 x 10- 3 5 x 10- 3 0.96 x 10- 3 อัตราการสลายตัวของสาร A ในการทดลองที่ III เป็นเท่าใด (ent ต.ค. 41) 1) 0.96 x 10-3 mol/dm3 2) 0.48 x 10-3 mol/dm3 3) 0.24 x 10-3 mol/dm3 4) 0.12 x 10-3 mol/dm3 5. พิจารณาสมการ A + 3B 5C + 4D นำา สาร A 1 โมล ทำาปฏิกิริยากับ B 3 โมลในสารละลาย 1 ลิตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที พบว่ามี C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ B ในช่วง 0 ถึง 10 วินาที เป็นกี่โมลต่อวินาที(ent ต.ค. 41) อัตนัย 6. ณ อุณหภูมิหนึ่ง A สลายตัวให้ B ร้อยละ 90 โดยนำ้าหนัก ใช้เวลา 40 นาที เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 °C อัตราการสลายตัวจะเพิ่มขึ้น 2 เท่า ถ้าต้องการให้ A สลายตัวไปร้อยละ 90 โดยนำ้าหนักในเวลาเพียง 10 นาที จะต้องเพิ่มอุณหภูมิ ขึ้นกี่องศาเซลเซียส(ent.มี.ค.’45 ) 1) 10 2) 20 3) 30 4) 40
  • 4. 4 7. ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์เป็นของแข็งไอออนิกไม่มีสี ([NO2]+[NO3]-(s ) )เมื่อให้ความร้อนที่ 32 °C , 1 atm จะได้แก๊ส N2O5 ซึ่งจะสลายต่อไปเป็น แก๊สสีนำ้าตาลของไนโตรเจนไดออกไซด์และออกซิเจน ดังสมการ [NO2]+[NO3]-(s) → N2O5 2N2O5(g) → 4NO2(g) + O2(g) ข้อสรุปใดผิด (ent.ต.ค.’44 ) 1) อัตราการเกิด NO2 = 4 เท่าของอัตราการเกิด O2 2) อัตราการเกิด NO2 = 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5 3) อัตราการเกิด O2 = 1/4 เท่าของอัตราการเกิด NO2 4) อัตราการเกิด O2 = 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5 8. ในการศึกษาอัตราของปฏิกิริยา 2A + 3B → C ได้ข้อมูลดัง ตาราง [A] [B] [C] เวลา mol.dm mol.dm mol.dm- - (วินาที 3 -3 3 ) 0 10 20 0 2 7 x1 y1 4 5 x2 y2 6 4 x3 y3 ข้อใดถูกต้อง (ent.มี.ค.’45 ) 1) อัตราการเกิดสาร C > อัตราการสลายตัวของสาร A > อัตราการสลาย ตัวของสาร B 2) x1 = 15 , x2 = 13 , x3 = 12 3) อัตราการสลายตัวของ A ในช่วงเวลา 0 – 2 นาที มีค่าเป็น 3 เท่าของ อัตราการเกิด C ในช่วงเวลา 2 – 4 นาที 4) y1 = 3 , y2 = 5 , y3 = 6 9. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดในสถานะแก๊สและอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความ เข้มข้นของสารทั้งสาร A และสาร B A + B → C ระบบ ก. สาร A 1 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 1 mol ในภาชนะขนาด 1 dm3 ระบบ ข. สาร A 2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 2 mol ในภาชนะขนาด 2 dm3 ระบบ ค. สาร A 0.2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 0.2 mol ในภาชนะขนาด 0.1 dm3 จากข้อมูลข้างต้น จงหาว่า
  • 5. 5 I ระบบใดได้สาร C มากที่สุดภายในเวลาที่กำาหนด II ระบบใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุด ข้ I II อ 1) ก ข 2) ข ค 3) ค ข 4) ค ค 10. สาร A สลายตัวดังสมการ A 2C ได้ข้อมูลดังตาราง (ent.ต.ค.’44 ) เวลา(วินา [A] ที) (mol.dm-3) 0 3.0 2 2.6 5 2.0 7 1.6 10 1.0 จากข้อมูลข้างต้น [C] ที่เวลา 8 วินาที ควรเป็นเท่าใด ในหน่วย mol.dm-3 1) 1.4 2) 1.6 3) 2.8 4) 3.2 11. ถ้านำาสาร A มาทำาปฏิกิริยากับ B และ C จะได้ผลิตภัณฑ์ D ดังสมการ A + 4B + 2C → 3D นักเรียนผู้หนึ่งศึกษาผลของความเข้มข้นของ A และ B ต่ออัตราปฏิกิริยา พบว่าผลการทดลองเป็นดังตาราง ความเข้มข้นเริ่มต้น อัตราเริมต้นของปฏิกิริยา ่ ( mol.dm-3 ) ( mol/s) [A] [B] [C] 0.1 0.1 0.1 0.2
  • 6. 6 0.2 0.1 0.1 0.4 0.2 0.2 0.1 1.6 0.2 0.2 0.2 1.6 ข้อสรุปใดถูกต้อง (ent.มี.ค.’42 ) 1) ถ้า [A] = 0.2 , [B] = 0.1 , [C] = 0.3 อัตราเริมต้นของปฏิกิริยาจะเป็น ่ 0.04 mol/s 2) ถ้าเริ่มต้นด้วย A , B และ C จำานวนโมลเท่าๆ กัน A จะทำาปฏิกิริยาหมด ก่อน 3) ปฏิกิริยานีไม่จำาเป็นต้องมีสาร C เข้าไปเกี่ยวข้อง ้ 4) อัตราการเพิ่ม D จะมากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป 12. ผลการทดลองสำาหรับปฏิกิริยา 2NO(g) + H2(g) H2O(g) + N2O(g) เป็นดังนี้ [NO](mol.dm-3) [H2](mol.dm-3) อัตราเร็วของ ปฏิกิริยา(mol.dm-3.s-1) 1.00 1.00 3.5 x 10- 5 1.20 1.20 5.0 x 10- 5 0.80 0.80 1.8 x 10- 5 1.00 2.00 7.0 x 10- 5 2.00 1.00 1.4 x 10- 5 อัตราเร็วของปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นตามข้อ ใด(ENT’33) 1) [NO][H2] 2) [NO]2[H2] 3) [NO]2[H2]2 4) [2NO][H2] 3. การหาสมการกฎอัตรา อันดับของปฏิกิริยาค่าคงที่อัตรา การเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. พิจารณาปฏิกิริยาสมมติต่อไปนี้ A + 2B 3C จากการ ทดลองเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A และ B เพื่อหาค่าอัตราการ เกิดปฏิกิริยาพบว่าได้ข้อมูลดังตาราง (ENT’มี.ค.43 ) [A] mol.dm-3 [B] mol.dm-3 อัตราการเกิดปฏิกิริยา mol.dm-3.s-1 - - - 1.00 x 10 4 2.00 x 10 4 2.0 x 10 7 - - - 3.00 x 10 4 2.00 x 10 4 1.8 x 10 6 - - - 5.00 x 10 4 2.00 x 10 4 5.0 x 10 6 - - - 1.00 x 10 4 4.00 x 10 4 4.0 x 10 7 - - - 1.00 x 10 4 6.00 x 10 4 6.0 x 10 7
  • 7. 7 1.1จงหาสมการกฎอัตราของปฏิกิริยานี้ 1.2 จงหาอันดับของปฏิกิริยารวม(Overall order) 1.3 จากการทดลองนี้ ถ้าเพิ่ม [A] เป็น 4 เท่า และ [B] เป็น 2 เท่า อัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นกี่เท่า 2. ถ้านำาสาร A มาทำาปฏิกิริยากับ B และ C จะได้ผลิตภัณฑ์ D ดังสมการ A + 4B + 2C → 3D นักเรียนผู้หนึ่งศึกษาผลของความเข้มข้นของ A และ B ต่ออัตราการเกิด ปฏิกิริยา พบว่าผลการทดลองเป็นดังตาราง ความเข้มข้นเริ่มต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยา ( mol.dm ) -3 เคมี(mol.dm-3.s-1) [A] [B] [C] 0.1 0.1 0.1 0.2 0.2 0.1 0.1 0.4 0.2 0.2 0.1 1.6 0.2 0.2 0.2 1.6 2.1เขียนสมการกฎอัตรา 2.2 ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาอันดับใด 2.3 จงหาค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.4 สารใดบ้างที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2.5 ถ้าให้ [A] = 0.4 mol.dm-3 [B] = 0.2 mol.dm-3 และ [C] = 0.6 mol.dm-3 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในหน่วย mol.dm-3.s-1 4. กราฟการศึกษาอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี 1. กราฟต่อไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของ Y ตาม X ในการศึกษาเรื่องอัตรา การเกิดปฎิกิริยา X และ Y ควรเป็นอย่างไร (ENT’ต.ค.’42 ) Y X 1) X คือ อุณหภูมิ Y คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา 2) X คือเวลา Y คือความเข้มข้น 3) X คือเวลา Y คือ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ 4) X คือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ Y คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา
  • 8. 8 2. พิจารณาปฏิกิริยาการสลายตัวของ N2O เป็น N2 และ O2 ดังสมการ 1 N2O(g) → N2(g) + O (g) 2 2 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ N2O(mol/dm3) กับเวลา (s) เป็นดังนี้ ข้อใดถูกต้อง(ENT’ต.ค. 46) 1) อัตราการเกิด O2 เท่ากับ 0.001 mol.dm-3.s-1 2) ถ้าทำาการทดลองใหม่ 5. พลังงานกับการดำาเนินไปของอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. พิจารณาสมดุลเคมีต่อไปนี้ A + 2B 3C + 5D พลังงานของสารตั้งต้น A และ B น้อยกว่าพลังงานของ C และ D อยู่ 250 kJ ถ้าค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากับ 510 kJ พลังงาน ก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้ามีค่าเท่าใด และปฏิกิริยาไปข้างหน้ามี การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด (ent.มี.ค.’42 )
  • 9. 9 1) 260 kJ คายความร้อน 2) 260 kJ ดูดความร้อน 3) 760 kJ คายความร้อน 4) 760 kJ ดูดความร้อน 2. การเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์และการบอกชนิดของปฏิกิริยา I และ ปฏิกิริยา II ในข้อใดถูกต้อง พลังงาน I II การดำาเนินไปของ ปฏิกิริยา ข้ พลังงานก่อกัมมันต์ ปฏิกิริยาดูด ปฏิกิริยาคาย อ ของปฏิกิริยา ความร้อน ความร้อน 1) I = II I II 2) I > II I II 3) I < II II I 4) I = II II I 3. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับกราฟที่กำาหนดให้ต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง พลังงา น Ea Ea 2 การดำาเนินไปของ 1) เป็นปฏิกิริยาชนิดดูดความร้อนิริยา ปฏิก 2) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น 2 ขั้นตอน 3) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับค่า Ea1 4) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับค่า Ea2 4. พิจารณาสมการ A + 2B → C + 280 kJ …(1) 2X + Y + 150 kJ → 3Z …(2) ถ้าระดับพลังงานของสารตั้งต้นในปฏิกิริยา (1) และ (2) เป็น 510 และ 340 kJ ตามลำาดับ ระดับพลังงานของ ผลิตภัณฑ์จาก 2 ปฏิกิริยานี้ มีค่าแตกต่างกันกี่กิโลจูล (ent.ต.ค.’42 ) 1) 200 kJ 2) 260 kJ 3) 370 kJ 4) 490 kJ
  • 10. 10 5. ปฏิกิริยา A → D + E เป็นปฏิกิริยาที่เกิดผ่านขั้นตอนต่างๆดังนี้ ขั้นที่ 1 A → B พลังงานก่อกัมมันต์ = 300 kJ ขั้นที่ 2 B → C พลังงานก่อกัมมันต์ = 100 kJ ขั้นที่ 3 C → D + E พลังงานก่อกัมมันต์ = 200 kJ พลังงานของสารต่างๆ ทีเกี่ยวข้องมีระดับพลังงานเป็นดังตาราง ่ สาร ระดับพลังงาน(kJ) A 100 B 200 C 150 D 55 E 55 ข้อสรุปใดผิด (ENT’ต.ค.44 ) 1) ปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 เกิดช้าที่สุด 2) ปฏิกิริยาในขั้นที่ 1 จะคายพลังงาน 100 kJ 3) ปฏิกิริยา C → B จะมีพลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ 150 kJ 4) ปฏิกิริยา A → D + E จะคายพลังงานเท่ากับ 45 kJ 6. กราฟแสดงพลังงานและการดำาเนินไปของปฏิกิริยาเป็นดังนี้ พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
  • 11. 11 ก. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB มีค่าเท่ากับ 40 kJ ข. ปฏิกิริยา 2AB → A2 + B2 มีการคายความร้อน 10 kJ ค. ปฏิกิริยา A2 + B2 → 2AB เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน ง. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้ามากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ ของปฏิกิริยาย้อนกลับ ข้อใดถูก(ENT’ต.ค.46) 1) ก และ ข เท่านั้น 2) ค และ ง 3) ก ข และ ค 4) ง เท่านั้น 6. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ข้อใดมีผลทำาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลียนแปลงไปในทิศทาง ่ เดียวกัน(ENT’มี.ค.44) 1) เพิ่มอุณหภูมิ ลดความดัน 2) เพิ่มพื้นที่ผว ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา ิ 3) เพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น เพิ่มพลังงานก่อกัมมันต์ 4) เพิ่มพื้นที่ผว เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ ิ 2. การทดลองในข้อใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิ เดียวกัน(ENT’24) 1) ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3 2) ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3 3) ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3 4) ใส่สังกะสีผงหนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3 3. ถ้าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาทังสองต่อไปนี้มีค่าเท่ากัน ้ NH3(g) + HCl(g) NH4Cl(s)…(1) N(CH3)3(g) + HCl(g) NH(CH3)3(s) …(2)
  • 12. 12 อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ 50 °C ของปฏิกิริยาทั้งสองเปรียบเทียบกันเป็น อย่างไร เพราะเหตุใด 1) อัตราของทั้งสองปฏิกิริยาเท่ากัน เพราะ NH3 และ N(CH3)3 มี พลังงานจลน์เฉลียเท่ากัน ่ 2) อัตราของปฏิกิริยา (1) สูงกว่าของ (2) เพราะ NH3 เป็นโมเลกุลเล็ก จึงมี ความเร็ว ในการวิ่งชนกันมากกว่า N(CH3)3 3) อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ(1) เพราะ N(CH3)3 เป็นโมเลกุล ใหญ่ทำาให้มีพื้นที่ผวชนกันได้มากกว่า ิ 4) อัตราของปฏิกิริยา (2) สูงกว่าของ (1) เพราะผลิตภัณฑ์ NH(CH3)3Cl เสถียรมากกว่า NH4Cl 4. เมื่อใส่ 1 M HCl 25 cm3 ลงในหินปูนชิ้นเล็กๆ จะเกิดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ การเปลี่ยนแปลงข้อใดที่จะไม่ทำาให้อัตราของปฏิกิริยา เริ่มต้นเพิ่มขึ้น(ENT’26) 1) ใช้ 1 M HCl 100 cm3 2) ใช้ 2 M HCl 25 cm3 3) ใช้ 2 M HCl 50 cm3 4) บดหินปูนให้เป็นผงละเอียด 5. ปฏิกิริยา A + B → P เกิดช้า แต่สมบูรณ์ และเป็นปฏิกิริยาคายความ ร้อน พบว่าอัตราของปฏิกิริยาขึ้นกับปริมาณของสารตั้งต้น A แต่ไม่ขึ้นกับ ปริมาณสารตั้งต้น B การกระทำาทั้งหมดในข้อใดต่อไปนี้มีผลทำาให้ปฏิกิริยา เกิดได้เร็วขึ้น (ENT’35) 1) ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A 2) ลดอุณหภูมิ เอาสาร P ออก 3) เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เพิ่มสาร B 4) ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เอาสาร P ออก 6. ปฏิกิริยา A(s) + B(aq) → C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาคาย ความร้อน อัตราการเกิดปฏิกิริยา จะเพิ่มขึ้นเมื่อใด(ENT’36) 1) ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ 2) ลดปริมาณของ D เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ 3) เพิ่มขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ 4) ลดขนาดของ A เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพิ่มอุณหภูมิ 7. โลหะอะลูมิเนียมทำาปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ดังสมการ 2Al(s) + 2NaOH(aq) + 6H2O(l) 2NaAl(OH)4(aq) + 3H2O(g) ถ้าทำาการทดลอง 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ใช้แผ่นอะลูมิเนียมขนาด 0.5 cm x 10 cm 1 ชิ้น
  • 13. 13 ตอนที่ 2 ใช้อะลูมิเนียมเป็นก้อนกลม 1 ก้อน นำ้าหนักของอะลูมิเนียมที่ใช้ทง 2 ตอนเท่ากัน ั้ ถ้าข้อมูลที่ได้จากการทดลองการทำาปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นดังนี้ เวลา( ความเข้มข้นของ ความเข้มข้นของ s) สารละลาย NaOH สารละลาย NaAl(OH)4 (mol/dm )3 (mol/dm3) ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 0 a a b d 2 X A e h 4 Y B f i 6 Z C g j ข้อใดผิด (Ent’มี.ค.’43 ) ก. X > A ข. Z > C ค. b = d = 0 ง. F = i 1) ก. เท่านั้น 2) ก. และ ข. 3) ก. , ข, และ ค. ง) ก. , ข. , ค. และ ง.
  • 14. 14