SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ครูมือใหม่
1.    กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร และสิ่งใดเป็น
พื้นฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว

            เป็นกระบวนการวางแผนการเรียนการสอนโดยการเปลี่ยนแปลงหลักของ
     การเรียนรู้ (Learning) การเรียนการสอน (Instruction) ลงสู่การ
     วางแผน (Planning) สาหรับการเรียนการสอนได้แก่ เนื้อหา วัสดุ สื่อ
     กิจกรรม แหล่งสารสนเทศ และการประเมิน โดยสิ่งที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการ
     เปลี่ยนกระบวนการดังกล่าว ก็คือ นักเรียน หรือ ผูเ้ รียน
2.พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและ
มีสาระสาคัญอย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไร

           ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นกลุ่มของหลักการทั้งหลายที่อธิบายวิธีการเรียนรูของ
                                                                             ้
    มนุษย์ ซึ่งรวมทั้งวิธีการได้มาซึ่งความสามารถ(Abilities) และความรู้ใหม่
    (Knowledge) แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม
    การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม และการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ข้อ 2 (ต่อ)

การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม
            กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism หรือ S-R Associationism)
  มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) กับการ
  ตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความสนใจกับ
  พฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกต จากภายนอกได้และเน้นความสาคัญของสิ่งแวดล้อม
  เพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวทีกาหนดพฤติกรรม
                                     ่
            ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ได้แบ่งพฤติกรรมมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
  พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) และพฤติกรรม
 โอเปอร์แรนต์ (Operant Behavior)
ข้อ 2 (ต่อ)

 - พฤติกรรมเรสปอนเดนส์
             หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้า พฤติกรรมตอบสนองก็จะ
เกิดขึ้น ซึงจะสามารถสังเกตได้ และทฤษฎีที่นามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้
           ่
เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค นักจิตวิทยาที่ศกษาพฤติกรรมเรสปอนเดนส์
                                                                ึ
ได้แก่ PAVLOV และ WATSON
ข้อ 2 (ต่อ)
     - พฤติกรรมโอเปอร์แรนต์
              เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา
โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนีมผลต่อสิ่งแวดล้อม มีทฤษฎีการ
                                              ้ ี
เรียนรู้ที่ใช้อธิบาย คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ และนักจิตวิทยา
ที่ศึกษาพฤติกรรมโอเปอรแรนต์ ได้แก่ Thorndike และ Skinner
ข้อ 2 (ต่อ)

การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม
       การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้
ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่
เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้
เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถ
ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหา
ใหม่ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิด ความจาระยะยาว
ข้อ 2 (ต่อ)

การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
        ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียน
  สร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ
  (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่ง
  แทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับ
  ประสบการณ์เดิมของตนเอง
        โดยทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานสาคัญของทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ
  ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget และทฤษฎีประวัติศาสตร์
  สังคมของ Vygotsky
ข้อ 2 (ต่อ)

- ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
           มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิด
ของทฤษฎีนี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้
โดยการลงมือกระทา


 - ทฤษฎีประวัติศาสตร์สังคม
                      มีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า “ปฏิสัมพัธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการ
                 พัฒนาด้านพุทธิปญญา” กล่าวคือ ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมี
                                  ั
                 ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของทั้ง 3 ทฤษฎี                                          ข้อ 2 (ต่อ)

                                  พฤติกรรมนิยม            พุทธิปัญญานิยม               คอนสตรัคติวิสต์
การเรียนรู้            การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่    การเปลี่ยนแปลงของความรู้ที่ถูก การเปลี่ยนแปลงอย่างมี
                       เกิดขึ้น                     เก็บไว้ในหน่วยความจา           ความหมายเกี่ยวกับความรู้
                                                                                   ที่สร้างขึ้น

กระบวนการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับ เรียนรู้เพิ่มขึ้นและสามารถ          การร่วมมือกันแก้ปัญหา
                       การตอบสนอง                   รวบรวมเรียบเรียงความรู้ให้เป็น
                                                    ระบบ เพื่อนามาใช้ในอนาคต


บทบาทของผู้สอน บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้         นาเสนอสารสนเทศ                   แนะนาและให้รูปแบบ
                       ผู้เรียน
บทบาทของผู้เรียน รับสิ่งเร้าที่ครูจัดให้       รอรับสารสนเทศ                 สร้างความรู้อย่างตื่นตัว
สิ่งสาคัญในการ   ช่วยให้ผู้เรียน สามารถจาได้ใน ช่วยจัดระบบความคิด เพื่อที่จะ เน้นให้ผู้เรียนร่วมมือกัน
ออกแบบสื่อการ    ปริมาณที่มากที่สุด            นามาใช้ได้อย่างเต็มที่        แก้ปัญหา
เรียนรู้
3.ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มี
พื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยมและ
คอนสตรัคติวิสต์
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
                       จุดเด่น                                 จุดด้อย
        1.ใช้ในการแก้พฤติกรรมที่เป็นปัญหา      1.ผู้เรียนเป็นผู้รอรับอย่างเดียว   ไม่มี
        2.การสอนจะเป็นไปตามลาดับขั้นที่        โอกาสได้แสดงกระบวนการคิด
        กาหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดยเป็นการ
        แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อให้
        ผู้เรียนสามารถจดจาได้ง่าย
        3.การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อ
        ผู้เรียนกระทาพฤติกรรมนั้นเสร็จ จะ
        ได้รับผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริม
        ทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้
ข้อ 3 (ต่อ)
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม

                       จุดเด่น                          จุดด้อย
      1. ผูเรียนสามารถถ่ายโยงความรู้
           ้                             1.การรับข้อมูลในปริมาณที่มาก
        และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้ อาจทาให้ผู้เรียนไม่สามารถจาได้
        มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ ทั้งหมดในระยะเวลาทีจากัด่
      2. สื่อที่ได้มงเน้นการพัฒนา
                    ุ่
        กระบวนการทางปัญญามากกว่า
        การเน้นเฉพาะการพัฒนา
        พฤติกรรม ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
        เพียงอย่างเดียว
กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์                                                     ข้อ 3 (ต่อ)

                   จุดเด่น                                   จุดด้อย
   1.ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ 1. หากผู้เรียนไม่ถนัดในเรื่อง การ
         ด้วยตนเอง                              วิเคราะห์หรือกระบวนการการ
   2. ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการใช้สื่อ          แก้ปัญหาก็อาจจะทาให้ผู้เรียนเกิด
     และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง              อคติกับวิธีการสอน
   3. เป็นการเรียนทีมุ่งเน้นการแก้ปญหา
                      ่                ั
     ทักษะการคิดขั้นสูง และความเข้าใจที่
     ลึกซึ้ง
4. จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และ
เหตุผลทีใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่
         ่
พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรูบนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
       ้
   ตอบ
       จาแนกประเภทออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ของทฤษฎีการเรียนรู้ เป็นตัวจาแนก จะได้เป็น
   กลุ่มพฤติกรรมนิยม : 1. ชุดการสอน
                          2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                          3. บทเรียนโปรแกรม
   กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ : 1. ชุดสร้างความรู้
                          2. มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
                          3. เว็บเพื่อการสอน
                          4. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
                          5. การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
ข้อ 4 (ต่อ)


กลุ่มพฤติกรรมนิยม
          ชุดการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนโปรแกรม สาเหตุที่
จัดอยู่ในกลุ่มนี้ เพราะว่า สิ่งเหล่านี้ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
จดจาความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด การออกแบบเป็นลักษณะเชิงเส้นที่
เป็นลาดับขั้นตอน และยังให้ผลตอบกลับทันทีเมื่อผู้เรียนกระทา
พฤติกรรมนั้นเสร็จ
ข้อ 4 (ต่อ)

กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
         มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนแบบ
  ร่วมมือกันเรียนรู้ ชุดสร้างความรู้ เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อม
  ทางการเรียนรู้บนเครือข่าย สาเหตุที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ เพราะว่า สิ่ง
  เหล่านี้เป็นสิ่งที่เน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระสร้างความรู้
  ได้ด้วยตนเอง ตลอดจน เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองโดยใช้วิธีการ
  เรียนรู้ที่หลากหลาย
สมาชิก
1.   นางสาวกรกฏ ไชยเพชร       543050003-4
2.   นางสาวกรแก้ว อินทรมงคล   543050313-9
3.   นายอนุรักษ์ ขาเกลี้ยง    543050318-9

More Related Content

What's hot

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 

What's hot (19)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
ทฤษฎี
ทฤษฎีทฤษฎี
ทฤษฎี
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 

Viewers also liked

1812 Battle, Raids, and Graves - short version
1812 Battle, Raids, and Graves -  short version1812 Battle, Raids, and Graves -  short version
1812 Battle, Raids, and Graves - short versionanewton8710
 
Cr considerations for selecting primary sources 2014
Cr considerations for selecting primary sources 2014Cr considerations for selecting primary sources 2014
Cr considerations for selecting primary sources 2014anewton8710
 
War of 1812 symposium whha power point updated
War of 1812 symposium whha power point updatedWar of 1812 symposium whha power point updated
War of 1812 symposium whha power point updatedanewton8710
 
Battles before 1900 novid
Battles before 1900 novidBattles before 1900 novid
Battles before 1900 novidGavin Smith
 
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio Ambiente
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio AmbienteConceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio Ambiente
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio AmbienteYanet Caldas
 
Menjadi muslim sejati
Menjadi muslim sejati Menjadi muslim sejati
Menjadi muslim sejati Ummu Musa
 

Viewers also liked (14)

1812 Battle, Raids, and Graves - short version
1812 Battle, Raids, and Graves -  short version1812 Battle, Raids, and Graves -  short version
1812 Battle, Raids, and Graves - short version
 
Agenda Italia 2013
Agenda Italia 2013Agenda Italia 2013
Agenda Italia 2013
 
Cr considerations for selecting primary sources 2014
Cr considerations for selecting primary sources 2014Cr considerations for selecting primary sources 2014
Cr considerations for selecting primary sources 2014
 
War of 1812 symposium whha power point updated
War of 1812 symposium whha power point updatedWar of 1812 symposium whha power point updated
War of 1812 symposium whha power point updated
 
La montagna un po piu' al centro
La montagna un po piu' al centroLa montagna un po piu' al centro
La montagna un po piu' al centro
 
Plantilla de carreteras
Plantilla de carreterasPlantilla de carreteras
Plantilla de carreteras
 
Battles before 1900 novid
Battles before 1900 novidBattles before 1900 novid
Battles before 1900 novid
 
Carbuyz.com
Carbuyz.comCarbuyz.com
Carbuyz.com
 
Cantiere 2013 Italia Futura Piemonte
Cantiere 2013 Italia Futura PiemonteCantiere 2013 Italia Futura Piemonte
Cantiere 2013 Italia Futura Piemonte
 
Relleno hidraulico
Relleno hidraulicoRelleno hidraulico
Relleno hidraulico
 
External analysis
External analysisExternal analysis
External analysis
 
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio Ambiente
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio AmbienteConceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio Ambiente
Conceptos básicos de Seguridad, Salud Ocupacional y Medio Ambiente
 
Menjadi muslim sejati
Menjadi muslim sejati Menjadi muslim sejati
Menjadi muslim sejati
 
Business ethics
Business ethicsBusiness ethics
Business ethics
 

Similar to ภารกิจครูมือใหม่

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 

Similar to ภารกิจครูมือใหม่ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

ภารกิจครูมือใหม่

  • 2. 1. กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร และสิ่งใดเป็น พื้นฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ดังกล่าว เป็นกระบวนการวางแผนการเรียนการสอนโดยการเปลี่ยนแปลงหลักของ การเรียนรู้ (Learning) การเรียนการสอน (Instruction) ลงสู่การ วางแผน (Planning) สาหรับการเรียนการสอนได้แก่ เนื้อหา วัสดุ สื่อ กิจกรรม แหล่งสารสนเทศ และการประเมิน โดยสิ่งที่เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการ เปลี่ยนกระบวนการดังกล่าว ก็คือ นักเรียน หรือ ผูเ้ รียน
  • 3. 2.พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบการสอนมีอะไรบ้างและ มีสาระสาคัญอย่างไร และมีความแตกต่างกันอย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นกลุ่มของหลักการทั้งหลายที่อธิบายวิธีการเรียนรูของ ้ มนุษย์ ซึ่งรวมทั้งวิธีการได้มาซึ่งความสามารถ(Abilities) และความรู้ใหม่ (Knowledge) แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม และการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 4. ข้อ 2 (ต่อ) การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism หรือ S-R Associationism) มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) กับการ ตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความสนใจกับ พฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกต จากภายนอกได้และเน้นความสาคัญของสิ่งแวดล้อม เพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวทีกาหนดพฤติกรรม ่ ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ได้แบ่งพฤติกรรมมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) และพฤติกรรม โอเปอร์แรนต์ (Operant Behavior)
  • 5. ข้อ 2 (ต่อ) - พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้า พฤติกรรมตอบสนองก็จะ เกิดขึ้น ซึงจะสามารถสังเกตได้ และทฤษฎีที่นามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ ่ เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค นักจิตวิทยาที่ศกษาพฤติกรรมเรสปอนเดนส์ ึ ได้แก่ PAVLOV และ WATSON
  • 6. ข้อ 2 (ต่อ) - พฤติกรรมโอเปอร์แรนต์ เป็นพฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา โดยปราศจากสิ่งเร้าที่แน่นอน และพฤติกรรมนีมผลต่อสิ่งแวดล้อม มีทฤษฎีการ ้ ี เรียนรู้ที่ใช้อธิบาย คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ และนักจิตวิทยา ที่ศึกษาพฤติกรรมโอเปอรแรนต์ ได้แก่ Thorndike และ Skinner
  • 7. ข้อ 2 (ต่อ) การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่ เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้ เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถ ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหา ใหม่ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิด ความจาระยะยาว
  • 8. ข้อ 2 (ต่อ) การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียน สร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่ง แทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับ ประสบการณ์เดิมของตนเอง โดยทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานสาคัญของทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget และทฤษฎีประวัติศาสตร์ สังคมของ Vygotsky
  • 9. ข้อ 2 (ต่อ) - ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิด ของทฤษฎีนี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือกระทา - ทฤษฎีประวัติศาสตร์สังคม มีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า “ปฏิสัมพัธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการ พัฒนาด้านพุทธิปญญา” กล่าวคือ ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมี ั ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน
  • 10. ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของทั้ง 3 ทฤษฎี ข้อ 2 (ต่อ) พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยม คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ การเปลี่ยนแปลงของความรู้ที่ถูก การเปลี่ยนแปลงอย่างมี เกิดขึ้น เก็บไว้ในหน่วยความจา ความหมายเกี่ยวกับความรู้ ที่สร้างขึ้น กระบวนการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับ เรียนรู้เพิ่มขึ้นและสามารถ การร่วมมือกันแก้ปัญหา การตอบสนอง รวบรวมเรียบเรียงความรู้ให้เป็น ระบบ เพื่อนามาใช้ในอนาคต บทบาทของผู้สอน บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ นาเสนอสารสนเทศ แนะนาและให้รูปแบบ ผู้เรียน บทบาทของผู้เรียน รับสิ่งเร้าที่ครูจัดให้ รอรับสารสนเทศ สร้างความรู้อย่างตื่นตัว สิ่งสาคัญในการ ช่วยให้ผู้เรียน สามารถจาได้ใน ช่วยจัดระบบความคิด เพื่อที่จะ เน้นให้ผู้เรียนร่วมมือกัน ออกแบบสื่อการ ปริมาณที่มากที่สุด นามาใช้ได้อย่างเต็มที่ แก้ปัญหา เรียนรู้
  • 11. 3.ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของการออกแบบการสอนที่มี พื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยมและ คอนสตรัคติวิสต์ กลุ่มพฤติกรรมนิยม จุดเด่น จุดด้อย 1.ใช้ในการแก้พฤติกรรมที่เป็นปัญหา 1.ผู้เรียนเป็นผู้รอรับอย่างเดียว ไม่มี 2.การสอนจะเป็นไปตามลาดับขั้นที่ โอกาสได้แสดงกระบวนการคิด กาหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดยเป็นการ แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถจดจาได้ง่าย 3.การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อ ผู้เรียนกระทาพฤติกรรมนั้นเสร็จ จะ ได้รับผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริม ทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้
  • 12. ข้อ 3 (ต่อ) กลุ่มพุทธิปัญญานิยม จุดเด่น จุดด้อย 1. ผูเรียนสามารถถ่ายโยงความรู้ ้ 1.การรับข้อมูลในปริมาณที่มาก และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้ อาจทาให้ผู้เรียนไม่สามารถจาได้ มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ ทั้งหมดในระยะเวลาทีจากัด่ 2. สื่อที่ได้มงเน้นการพัฒนา ุ่ กระบวนการทางปัญญามากกว่า การเน้นเฉพาะการพัฒนา พฤติกรรม ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า เพียงอย่างเดียว
  • 13. กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ ข้อ 3 (ต่อ) จุดเด่น จุดด้อย 1.ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ 1. หากผู้เรียนไม่ถนัดในเรื่อง การ ด้วยตนเอง วิเคราะห์หรือกระบวนการการ 2. ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการใช้สื่อ แก้ปัญหาก็อาจจะทาให้ผู้เรียนเกิด และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง อคติกับวิธีการสอน 3. เป็นการเรียนทีมุ่งเน้นการแก้ปญหา ่ ั ทักษะการคิดขั้นสูง และความเข้าใจที่ ลึกซึ้ง
  • 14. 4. จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และ เหตุผลทีใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่ ่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรูบนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ้ ตอบ จาแนกประเภทออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ของทฤษฎีการเรียนรู้ เป็นตัวจาแนก จะได้เป็น กลุ่มพฤติกรรมนิยม : 1. ชุดการสอน 2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. บทเรียนโปรแกรม กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ : 1. ชุดสร้างความรู้ 2. มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 3. เว็บเพื่อการสอน 4. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย 5. การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
  • 15. ข้อ 4 (ต่อ) กลุ่มพฤติกรรมนิยม ชุดการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนโปรแกรม สาเหตุที่ จัดอยู่ในกลุ่มนี้ เพราะว่า สิ่งเหล่านี้ถูกออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ จดจาความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด การออกแบบเป็นลักษณะเชิงเส้นที่ เป็นลาดับขั้นตอน และยังให้ผลตอบกลับทันทีเมื่อผู้เรียนกระทา พฤติกรรมนั้นเสร็จ
  • 16. ข้อ 4 (ต่อ) กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้ ชุดสร้างความรู้ เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้บนเครือข่าย สาเหตุที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้ เพราะว่า สิ่ง เหล่านี้เป็นสิ่งที่เน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระสร้างความรู้ ได้ด้วยตนเอง ตลอดจน เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองโดยใช้วิธีการ เรียนรู้ที่หลากหลาย
  • 17. สมาชิก 1. นางสาวกรกฏ ไชยเพชร 543050003-4 2. นางสาวกรแก้ว อินทรมงคล 543050313-9 3. นายอนุรักษ์ ขาเกลี้ยง 543050318-9