SlideShare a Scribd company logo
พันธ์ ุและการผสมพันธ์ ุสุกร
   ผศ.ดร. กนกรัตน์ ศรีกจเกษมวัฒน์
                       ิ
                          ั
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสตว์และประมง
       คณะเทคโนโลยีการเกษตร
          โทร 082 4297700
จัดแบ่งตามรูปร่างลักษณะและคุณภาพเนือ
                                   ้
แบ่งได้ 3 ประเภทคือ
 ประเภทมัน (Lard type)
 ประเภทเนือ (Meat type)
             ้
 ประเภทเบคอน (Bacon type)
   สุกรพื้นเมืองในประเทศไทยอยู่ในวงศ์ Sus indicus
   ขนาดเล็ก สะโพกและไหล่แคบ หลังแอ่น ท้องยาน ลาตัวสั้น
   พันธุ์ควาย, พันธุ์ราด/พันธุ์พวง, พันธุ์กระโดน, พันธุ์ไหหลา, พันธุเหมย
                                                                     ์
    ซาน
   ซากมีเนื้อแดงน้อยไขมันมาก
   ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีโดยเฉพาะอาหารที่มีคุณภาพต่า
   เลี้ยงลูกเก่ง




               เหมยซาน                               ไหหลา
◦ พันธุไหหลา
         ์
◦ พันธุราดหรือพวง
       ์
◦ พันธุควาย์
   เลี ้ยงอยูแถบถาคกลางและภาคใต้
             ่
   มีลกษณะสีดาท้ องขาว หรื อสีดาปนขาวสลับกัน ท้ องมักขาว
          ั
   จมูกยาวแอ่นขึ ้นเล็กน้ อย คางย้ อย ไหล่กว้ าง หลังแอ่น สะโพกเล็ก ขาและข้ อเท้ ามัก
    อ่อนแอ
   โตเร็ ว และสืบพันธุ์ได้ เร็ วกว่าสุกรพื ้นเมืองพันธุ์อื่น ๆ
   โตเต็มที่หนักประมาณ 110-120 กิโลกรัม
สุกรพันธุ์พวง
 เคยพบมากทางภาคเหนือ ภาค
    ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้
   มีลกษณะสีดาตลอดตัว
       ั
   ลาตัวสันและปอมโตช้ า
              ้   ้
   กระดูกเล็ก หลังแอ่น หน้ ายาว จมูกยาว
    หูตง้ั เล็ก
   โตเต็มที่หนักประมาณ 60-80 กิโลกรัม
   เลี ้ยงตามภาคเหนือและภาค
  กลาง มีลกษณะคล้ ายสุกรไหหลา
             ั
  แตกต่างกันที่พนธุ์ควายจะมีสีดา
                     ั
 มีหใหญ่ ปรกเล็กน้ อย มีรอยย่น
       ู
  ตามตัว
 เป็ นสุกรที่มีขนาดใหญ่ กว่าสุกร
  พื ้นเมืองพันธุ์อื่น แม่สกรโตเต็มที่
                           ุ
  หนักประมาณ 80-100 กิโลกรัม
   เลี ้ยงตามภาคต่าง ๆ ทัวไป
                            ่
    มีขนหยาบแข็ง สีน ้าตาลเข้ มหรื อสีดา
    เข้ ม หรื อสีดอกเลา หนังหนา หน้ ายาว
    จมูกยาวและแหลมกว่าสุกรพื ้นเมือง ขา
    เล็กและเรี ยว ดูปราดเปรี ยว
   พบ 2 พันธุ์ คือ พันธุ์หน้ ายาว และพันธุ์
    หน้ าสัน ้
   แม่สกรโตเต็มที่หนักประมาณ 80
           ุ
    กิโลกรัม
   ประเทศไทยได้เคยนาพันธุ์สุกรพันธุ์ต่างประเทศเข้ามาเลี้ยงนานแล้วตังแต่ปี
                                                                       ้
    พ.ศ. 2461 ซึงเป็นสุกรพันธุ์ลาร์จแบล็คและเอสเสดซ์จากประเทศอังกฤษ
                  ่
   ปี พ.ศ. 2482 และ 2492 มีการนาเข้าสุกรพันธุ์ มิดเดิลไวท์ เบอร์กเชียร์ ลาร์จ
    ไวท์ เทมเวิธ ดูร็อก และแฮมเชียร์ มาจากประเทศออสเตรเลียและ
    สหรัฐอเมริกา ต่อมาสูญพันธุ์ไปหมด
   จนปี พ.ศ. 2500 กรมปศุสัตว์ได้วางมาตรการการปรับปรุง ขยาย และรักษา
    พันธุ์สุกรต่างประเทศให้ดีขึ้น และได้สงพันธุ์ลาร์จไวท์และดูร็อกชุดใหม่เข้า
                                          ั่
    มาเมื่อปี พ.ศ. 2500, 2504 และ 2505
   พันธุ์แลนด์เรซถูกสั่งเข้ามาครังแรกเมื่อปี พ.ศ 2506 ต่อมาสุกรทัง 3 พันธุ์เป็น
                                  ้                               ้
    พันธุ์ทได้รบความนิยมมาก
            ี่ ั
   ใบหูใหญ่พับปรกจนปิดตา (Lop ears)
   ลาตัวยาวมาก(มีซี่โครงมากกว่าพันธุ์อื่นๆ 1-2 คู่ (ปกติมี16-17 คู่ )
   หัวเล็ก จมูกยาว หัวและหลังค่อนข้างตรง
   สะโพกกลมใหญ่เห็นได้ชัด
   โตเร็ว ให้ลกดก เลี้ยงลูกดี
               ู
   มีประสิทธิภาพการเปลียนอาหารดี
                          ่
   ซากมีเนื้อแดงสูงไขมันน้อย
   เต้านมมากกว่า สะดวกต่อลูกสุกรเข้าไปดูดนม
   กระดูกขาเล็ก มักมีปัญหาเรื่องขา
   ไม่ทนร้อน ข้อเท้าอ่อน กล้ามเนื้อด้านในของขาหลัง
      ฉีกขาดได้ง่าย
    มีความต้านทานโรคปากและเท้าเปื่อยต่า
    มียีนเลวอยู่หลายอย่าง เช่น ไส้เลื่อนทางช่องท้องและ
      ทางถุงอัณฑะ ไม่มีรูทวารหนัก เป็นต้น
   ผิวหนัง ขน สีขาว ใบหูตั้ง (prick ears) ลาตัวยาว น้อยกว่าและหลังโค้งมากว่า
    พันธุ์แลนเรด
   ลักษณะใบหน้าสั้นและกว้างกว่าพันธุ์แลนด์เรซ
   ใบหน้าหัก และปลายจมูกงอนขึ้นเล็กน้อย
   ไหล่หนาใหญ่เท่ากับหรือมากกว่าสะโพกทาให้สะโพกดูไม่เด่น
   เลี้ยงลูกเก่ง ให้ลูกดก เจริญเติบโตเร็ว
   มีขาและกีบแข็งแรง
   เป็นสุกรที่ได้รบการปรับปรุงมากจากพันธุ์ยอร์คเชียร์ ซึง
                   ั                                     ่
    มีสีขาวมีจุดด่างดา จึงทาให้ลาร์จไวท์บางตัวอาจมีจุดดา
    ได้ แต่จัดเป็นลักษณะที่ไม่ต้องการ
   สีแดง, น้าตาแดงเข้ม จนถึงน้าตาลอ่อนคล้ายสีทอง
   ลาตัวหนามาก,มีหลังโค้ง แลดูบึกบึนแข็งแรง
   โตเร็ว ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี
   ถ้าให้อาหารมากจะอ้วนเร็วมาก
   แข็งแรง นิสัยดุ เลี้ยงลูกไม่เก่งแต่หวงลูก
   นิยมใช้เป็นพ่อพันธุ์เพื่อผลิตสุกรขุน เพราะลูกที่ได้จะเลี้ยงง่ายโตเร็ว
   ลาตัวสีดามีแถบสีขาวคาดทีหวไหล่จรดขาหน้าทังสอง
                                 ่ ั            ้
   หูตั้ง หัวเล็ก หลังโค้ง
   นิยมใช้เป็นพ่อพันธุ์เพื่อผลิตสุกรขุน
   การให้ลกและการเลียงลูกยังด้อยกว่าพันธุ์อนๆ
               ู           ้                ื่
     เมื่อเลียงในประเทศไทยจึงไม่นยมใช้เป็นแม่พันธุ์
             ้                       ิ
   สีตวมีสขาวสลับแต้มดาทัวทั้งตัว ใบหูตั้ง
       ั     ี                ่
   สะโพกกลมนูนเด่นชัด มีชื่อเสียงเรืองการให้เนือแดงมาก
                                     ่          ้
   มักมีปญหาตกใจช็อกตายง่าย
           ั
   มีปญหาเรื่อง PSE ; pale soft exudative
         ั
    (เนื้อซีด นิ่ม เนือแฉะน้า)
                      ้
   มีพันธุกรรมยีนด้อยชื่อ Malignant Hyperthermia
    Gene ทาให้สุกรไม่ทนต่อความเครียดและความร้อน
    นิยมเรียกอาการนี้ว่า Porcine Stress Syndrome
    (PSS)
   PSS และซากสุกรที่ตายจากความเครียดนีจะมีลักษณะสี
                                           ้
    ซีด นิ่มเหลว และแฉะน้า (Pale Soft Exudates) หรือ
    เนื้อ PSE จัดเป็นเนื้อคุณภาพต่า มาก
   ลาตัวสีดา มีจุดแต้มขาวตามร่างกาย 6 แห่ง คือหน้าผาก เท้าทังสี่ และปลายหาง
                                                             ้
   หน้าสันหัก หน้าผากกว้าง หูโตปานกลาง ตังตรงไปข้างหน้า คางเข้ารูปดี รูปร่าง
           ้                                ้
    สมส่วน ลาตัวยาวลึกและกว้าง หนังเรียบ ขามีขนาดความยาวพอดี
   จัดเป็นสุกรขนาดกลาง ตัวผูโตเต็มที่หนัก 300 -400 กก.
                             ้
     ตัวเมียหนัก 200 - 300 กก.
   สุกรที่ทนต่อสภาพแร้นแค้นได้ดี
   การเจริญเติบโตไม่ดี กินอาหารเปลือง
   แม่ให้ลูกไม่ค่อยดก
   จะดีขึ้นเมื่อไปผสมกับพันธุ์อื่น มีน้านมเลี้ยงลูกมาก และ
    เลี้ยงลูกเก่ง อัตราการเจริญเติบโตดี คุณภาพซากดี มีมัน
    น้อย กล้ามเนื้อสะโพกและบั้นเอวใหญ่และมีเนื้อมาก
   ผสมติดยาก ลูกไม่ดก น้าหนักต่อครอกน้อย แม่ให้น้านม
    น้อย โตช้า ประสิทธิภาพการใช้อาหารต่า
   อายุเจริญพันธุ์ 4-9 เดือน
   ตัวผู้ = เริมผลิตอสุจิ
                ่
   ตัวเมีย = เริมเป็นสัดครังแรกมีการตกไข่
                  ่         ้
   อายุประมาณ 8 เดือน
   น้าหนักประมาณ 110-125 kg
   เมือสุกรเป็นสัดรอบที่ 2-3
       ่
   คือระยะเวลาทีไข่ของตัวเมียแก่พร้อมที่จะหลุดจากรังไข่และ
                    ่
    ยินยอมให้ตวผูขึ้นทับ
               ั ้
   อวัยวะเพศบวมแดง ปากช่องคลอดมีเมือกชุ่ม กระวนกระวาย
    และสนใจตัวผู้
   บางตัวซึมไม่กนอาหาร บางตัวปีนทับตัวเมียด้วยกัน
                  ิ
   ไข่ตกระยะกลางของการเป็นสัด
   ระยะการเป็นสัดนาน 2-3 วัน
   แม่สกรเป็นสัดนานกว่าสุกรสาว
        ุ
   เมื่อไข่ตกจากรังไข่ อาการบวม
    แดงจะยุบและซีดลง ถ้าใช้มือกด
    สะโพกจะยืนนิ่ง
   เป็นระยะทีเหมาะในการผสมพันธุ์
                ่
    ทีสด
      ่ ุ
   สุกรทีอุ้มท้องและแม่ลกอ่อน จะ
           ่             ู
    ไม่เป็นสัด
   เป็นสัดรอบต่อไปในเวลา
    ประมาณ 18-24 วันถัดไป หาก
    ผสมไม่ตด รอบละประมาณ 21
              ิ
    วันโดยเฉลีย   ่
   ไข่ตกจากรังไข่ประมาณชัวโมงที่ 24 ถึง 36 หลังเริ่มเป็นสัด
                             ่
    หรือก่อนหมดเวลาเป็นสัดประมาณ 11-12 ชั่วโมง
   การผสมพันธุควรทาเมืออยูระยะปลายการเป็นสัดหรือประมาณ
                   ์      ่    ่
    วันทีสองของการเป็นสัด
         ่
   ไข่จะผสมกับอสุจตอนที่เคลือนมาอยูใกล้รอยต่อระหว่างท่อไข่
                      ิ          ่     ่
    กับปีกมดลูก เมื่อไข่ผสมแล้วจะเคลือนมาเกาะทีปกมดลูก
                                     ่          ่ ี
   อัตราการตกไข่ครั้งละ 10-20 ฟอง
   สุกรสาวจะตกไข่น้อยกว่าสุกรอายุมาก สุกรทีให้ลกท้องที่ 5-
                                              ่     ู
    70จะให้ไข่ทตกสูงสุด
                ี่
   สุกรอุมท้องนานเฉลีย 114 (114 ± 3) วัน
            ้          ่
   สุกรสาวมีระยะอุ้มท้องสั้นกว่าสุกรมีอายุมาก
   สภาวะแวดล้อมเช่นอากาศและความเครียดอาจจะทาให้
    คลอดเร็วขึน้
   การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์เร่งการคลอดจะทาให้จดการ
                                               ั
    ง่ายขึน
          ้
    9-12 ตัวต่อครอก
   จานวนลูกสุกรต่อครอกมากเกินไปลูกจะมีขนาดเล็ก
    อ่อนแอ ตายมาก ลูกทีมากกว่าจานวนเต้านมแม่จะโตไม่
                        ่
    สม่าเสมอ      และมีตวแคระแกร็น
                          ั
   น้อยเกินไปจะเกิดความเสียหาทางเศรษฐกิจ
   แม่สกรทีคลอดแล้วจะกลับเป็นสัดครังแรกหลังคลอด
        ุ   ่                       ้
    ประมาณ 5 วันแต่ไม่มีการตกไข่
   การเป็นสัดจะสมบูรณ์เมือหย่านมลูกจากแม่แล้ว 3-
                          ่
    10 วัน
   อายุเกิน 8 เดือน
   ใช้งานไม่ควรเกิน 2-4 ครั้งต่อ
    สัปดาห์ พ่อที่อายุเกิน 15 เดือน
    ผสมได้มากกว่านัน แต่ไม่ควร
                      ้
    เกิน 2 ครังต่อวัน
              ้
   สุกรทีแข็งแรงสามารถใช้เป็น
          ่
    พ่อพันธุได้นานถึงอายุ 4 ปี
            ์
   มีการใช้ทั้งน้าเชื้อสดและแช่แข็ง
   น้าเชื้อสุกรที่รีดมาครั้งหนึ่งเมื่อเจือจางแล้วสามารถ
    แบ่งไปผสมแม่สุกรได้ถึง 10 แม่
   ปรับปรุงพันธุ์สายพ่อพันธุ์
   ป้องกันโรคติดต่อทางระบบสืบพันธุ์
   ลดภาระการเลี้ยงพ่อพันธุ์
   สะดวกต่อการขนส่งและลดการสูญเสีย
   ขจัดปัญหาเรื่องคู่ผสมพันธุ์มีขนาดต่างกัน
   Pure breed (การผสมพันธุ์แท้)
   Hybrid (การผสมพันธุ์ลูกผสม)
   พันธุ์แท้พันธุ์เดียวกันผสมกัน
   เพื่อรักษารูปร่างและลักษณะเดิมของพันธุ์แท้เอาไว้
   ต้องระวังการผสมเลือดชิด พี่ผสมกับน้อง พ่อ/แม่ผสม
    กับลูก ปู่/ย่า/ตา/ยายผสมกับหลาน
   การผสมเลือดชิดทาให้ลูกสุกรที่ออกมามีลักษณะ
    ผิดปกติ การเจริญเติบโตช้า และอ่อนแอ เป็นต้น
   ต้องใช้สุกรพันธุ์แท้จากฝูงอื่นมาผสม ต้องเปลี่ยนพ่อ
    พันธุ์ทุก 1-2 ปีเพื่อป้องกันการผสมเลือดชิด
   ผสมเพื่อผลิตสุกรขุน
   มักจะผสมระหว่างสุกร 2 พันธุ์ขึ้นไป เรียกว่าการผสม
    ข้ามพันธุ์ (cross breeding)
   เพื่อรวบรวมลักษณะที่ดีของพันธุ์ต่างๆรวมไว้ด้วยกัน
    และได้ลูกสุกรที่มีคุณภาพดีกว่าพ่อแม่พันธุ์แท้ หรือ
    เรียกว่า hybrid vigor หรือ Heterosis
   ลูกผสมที่ได้จะเลี้ยงง่าย เติบโตเร็ว แข็งแรง
    ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารดี และรูปร่างดี
สุกรพันธุ์การค้าทีจาหน่ายอยูในปัจจุบัน ทังหมดเป็นสุกรลูกผสมที่ได้รบ
                   ่         ่            ้                            ั
 การผสมข้ามจากพันธุ์แท้สองพันธุ์ขึ้นไป
ส่วนใหญ่มักเป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์หลักคือ ลาร์จไวท์ แลนด์เรซ ดูร็อก
 และเพียเทรียน
 ทาการคัดเลือกอย่างเข้มงวด และผสมเลือดชิดอีกหลายชัวอายุ พร้อมกับ
                                                          ่
 ทาการทดลองผสมข้ามกับสายพันธุ์อื่นที่สร้างขึ้น
มักใช้ชื่อบริษทหรือตัวย่อของบริษทเป็นชื่อพันธุ์ และกาหนดการใช้อย่าง
               ั                    ั
 แน่นอนว่าสายพันธุ์นี้เป็นสายตัวผู้ สายพันธุนี้เป็นสายตัวเมีย เพื่อให้ได้
                                            ์
 ผลผลิตที่สงทีสด จากอิทธิพลของ Heterosis
            ู ่ ุ
เมื่อนาลูกของมันมาเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อ จะได้ผลผลิตที่ลดลง เพราะไม่ได้
 ผลดีจาก Heterosis อีกต่อไป
สาหรับลูกสุกรขุนจากพ่อแม่พันธุ์ลูกผสม
การค้าเหล่านี้ ได้รับอิทธิพลของ Heterosis
สูงที่สุด จึงทาให้มีลักษณะทางโครงสร้าง
กล้ามเนื้อ การเจริญเติบโตที่สูงมาก และ
สม่าเสมอกันทั้งฝูง แต่มีลักษณะสี และ
ใบหน้า หรือหู ที่แตกต่างกันมากภายในฝูง
ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงทาให้ไม่สามารถแจก
แจงได้ว่ามาจากลูกผสมการค้าสายพันธุ์
ของบริษัทใด โดยดูลักษณะภายนอกได้
โดยง่าย
ลักษณะกล้ามเนื้อเด่นชัด โตเร็ว
รู ปลักษณะเต้านมเด่นชัด เลี้ยงลูกเก่งให้ลูกดก
◦ สุกรสายพันธุ์ใหม่ซึ่งสร้างภายในประเทศไทย โดยสถานีวิจัย
  และทดสอบพันธุ์สุกรนครราชสีมา เป็นสุกรพันธุ์แลนด์เรชแท้ แต่
  เป็นลูกผสมต่างสายพันธุ์
เป็นลูกผสมดูร็อกเพียเทรียน เป็นต้น
♂ Land race                              ♀ Large white
                                     X


                             สุ กรสองสายพันธุ์ X
ลูกผสมสามสาย เป็นสุกรสี
ขาว มักมีจุดสีดา เทาหรือ                              Duroc
น้าตาลบนลาตัว สีขนมีสีออก
เหลืองเมื่อเทียบกับสุกรสอง
สาย หลังโค้งชัดเจน ใบหน้า
เล็กไม่ยาว และหูโคนตั้งปรก
ปลาย ซึ่งลักษณะเหล่านี้ได้
จากพันธุ์ดูร็อก
                              สุ กรขุนสามสายพันธุ์
   ระบบการผสมพันธุ์สุกรที่นิยมในปัจจุบัน คือ การผลิต
    สุกรขุนลูกผสมสามสาย (ดูร็อก 50% ลาร์จไวท์ 25%
    และแลนด์เรซ แลนด์เรซ 25%)
   เพื่อเลี้ยงและจาหน่ายเป็นสุกรเนื้อส่งตลาดเพื่อการ
    บริโภคเท่านั้น
   ไม่นามาใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์เพื่อผลิตลูกสุกรต่อไป
   ลูกผสมเหล่านี้มีความสามารถในการเลี้ยงลูกค่อนข้างต่า
    และให้ลูกรุ่นต่อไปที่มีคุณภาพต่ากว่าตัวเอง ทั้งด้านการ
    เจริญเติบโต คุณภาพซาก
ดูร็อก มีสีเหลืองทองจนเป็นสีแดงออกดา หรือสีนาตาลแก่ ลาตัวสั้น หนา
                                            ้
ลาตัวโค้ง สะโพกและไหล่หนา
◦ แลนด์เรซ มีสีขาวปลอดและต้องไม่มจุดสีใดๆ มีใบหน้ายาวและ
                                       ี
  แคบมาก หน้าไม่หัก ใบหูใหญ่ปรกปิดหน้าชัดเจน ลาตัวยาวมาก
  อาจมีซี่โครงมากกว่าถึง 16-17 คู่ หลังไม่โค้ง บางครั้งดูตรงแบน
  สะโพกโตเห็นเด่นชัด ขาและกีบไม่คอยแข็งแรง
                                     ่
Large white




ผิวหนัง ขน สีขาว ใบหูตง (prick ears) ลาตัวยาว น้อยกว่าและ
                       ั้
หลังโค้งมากว่าพันธุ์แลนเรด
ลักษณะใบหน้าสั้นและกว้างกว่าพันธุ์แลนด์เรซ
ใบหน้าหัก และปลายจมูกงอนขึ้นเล็กน้อย
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
Thanyamon Chat.
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
kasidid20309
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริม
eratchawa
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
Utai Sukviwatsirikul
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
Chalermpon Dondee
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์zidane36
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sawed kodnara
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราPannee Ponlawat
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
เอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริมเอกสารสอนเสริม
เอกสารสอนเสริม
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
 
เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์เนื้อเยื่อสัตว์
เนื้อเยื่อสัตว์
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 

Viewers also liked

ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
Manas Panjai
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
Manas Panjai
 
แบบทดสอบ คิดคำนวณ ป.3
แบบทดสอบ  คิดคำนวณ ป.3แบบทดสอบ  คิดคำนวณ ป.3
แบบทดสอบ คิดคำนวณ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Manas Panjai
 
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3Tangkwa Dong
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (16)

ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
 
Pisa math 1
Pisa math 1Pisa math 1
Pisa math 1
 
แบบทดสอบ คิดคำนวณ ป.3
แบบทดสอบ  คิดคำนวณ ป.3แบบทดสอบ  คิดคำนวณ ป.3
แบบทดสอบ คิดคำนวณ ป.3
 
แบบฝึกคิดเลขเร็วป2
แบบฝึกคิดเลขเร็วป2แบบฝึกคิดเลขเร็วป2
แบบฝึกคิดเลขเร็วป2
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
ข้อสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
แบบฝึกจำนวนและตัวเลข ป.2
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 

Similar to ผลิตสัตว์ 22/06/54

เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
Patcha Yawan
 
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์โกลเด้น รีทรีฟเวอร์
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์PongsaTorn Sri
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
Wichai Likitponrak
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
ศิริวรรณ ปัดภัย
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
Jitiya Purksametanan
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 

Similar to ผลิตสัตว์ 22/06/54 (20)

เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
File
FileFile
File
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
3แมว
3แมว3แมว
3แมว
 
กลุ่ม 3
กลุ่ม 3กลุ่ม 3
กลุ่ม 3
 
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์โกลเด้น รีทรีฟเวอร์
โกลเด้น รีทรีฟเวอร์
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
7กระต่าย
7กระต่าย 7กระต่าย
7กระต่าย
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ผลิตสัตว์ 22/06/54

  • 1. พันธ์ ุและการผสมพันธ์ ุสุกร ผศ.ดร. กนกรัตน์ ศรีกจเกษมวัฒน์ ิ ั สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสตว์และประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร โทร 082 4297700
  • 2. จัดแบ่งตามรูปร่างลักษณะและคุณภาพเนือ ้ แบ่งได้ 3 ประเภทคือ  ประเภทมัน (Lard type)  ประเภทเนือ (Meat type) ้  ประเภทเบคอน (Bacon type)
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. สุกรพื้นเมืองในประเทศไทยอยู่ในวงศ์ Sus indicus  ขนาดเล็ก สะโพกและไหล่แคบ หลังแอ่น ท้องยาน ลาตัวสั้น  พันธุ์ควาย, พันธุ์ราด/พันธุ์พวง, พันธุ์กระโดน, พันธุ์ไหหลา, พันธุเหมย ์ ซาน  ซากมีเนื้อแดงน้อยไขมันมาก  ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีโดยเฉพาะอาหารที่มีคุณภาพต่า  เลี้ยงลูกเก่ง เหมยซาน ไหหลา
  • 8. ◦ พันธุไหหลา ์ ◦ พันธุราดหรือพวง ์ ◦ พันธุควาย์
  • 9. เลี ้ยงอยูแถบถาคกลางและภาคใต้ ่  มีลกษณะสีดาท้ องขาว หรื อสีดาปนขาวสลับกัน ท้ องมักขาว ั  จมูกยาวแอ่นขึ ้นเล็กน้ อย คางย้ อย ไหล่กว้ าง หลังแอ่น สะโพกเล็ก ขาและข้ อเท้ ามัก อ่อนแอ  โตเร็ ว และสืบพันธุ์ได้ เร็ วกว่าสุกรพื ้นเมืองพันธุ์อื่น ๆ  โตเต็มที่หนักประมาณ 110-120 กิโลกรัม
  • 10. สุกรพันธุ์พวง  เคยพบมากทางภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้  มีลกษณะสีดาตลอดตัว ั  ลาตัวสันและปอมโตช้ า ้ ้  กระดูกเล็ก หลังแอ่น หน้ ายาว จมูกยาว หูตง้ั เล็ก  โตเต็มที่หนักประมาณ 60-80 กิโลกรัม
  • 11. เลี ้ยงตามภาคเหนือและภาค กลาง มีลกษณะคล้ ายสุกรไหหลา ั แตกต่างกันที่พนธุ์ควายจะมีสีดา ั  มีหใหญ่ ปรกเล็กน้ อย มีรอยย่น ู ตามตัว  เป็ นสุกรที่มีขนาดใหญ่ กว่าสุกร พื ้นเมืองพันธุ์อื่น แม่สกรโตเต็มที่ ุ หนักประมาณ 80-100 กิโลกรัม
  • 12. เลี ้ยงตามภาคต่าง ๆ ทัวไป ่  มีขนหยาบแข็ง สีน ้าตาลเข้ มหรื อสีดา เข้ ม หรื อสีดอกเลา หนังหนา หน้ ายาว จมูกยาวและแหลมกว่าสุกรพื ้นเมือง ขา เล็กและเรี ยว ดูปราดเปรี ยว  พบ 2 พันธุ์ คือ พันธุ์หน้ ายาว และพันธุ์ หน้ าสัน ้  แม่สกรโตเต็มที่หนักประมาณ 80 ุ กิโลกรัม
  • 13.
  • 14. ประเทศไทยได้เคยนาพันธุ์สุกรพันธุ์ต่างประเทศเข้ามาเลี้ยงนานแล้วตังแต่ปี ้ พ.ศ. 2461 ซึงเป็นสุกรพันธุ์ลาร์จแบล็คและเอสเสดซ์จากประเทศอังกฤษ ่  ปี พ.ศ. 2482 และ 2492 มีการนาเข้าสุกรพันธุ์ มิดเดิลไวท์ เบอร์กเชียร์ ลาร์จ ไวท์ เทมเวิธ ดูร็อก และแฮมเชียร์ มาจากประเทศออสเตรเลียและ สหรัฐอเมริกา ต่อมาสูญพันธุ์ไปหมด  จนปี พ.ศ. 2500 กรมปศุสัตว์ได้วางมาตรการการปรับปรุง ขยาย และรักษา พันธุ์สุกรต่างประเทศให้ดีขึ้น และได้สงพันธุ์ลาร์จไวท์และดูร็อกชุดใหม่เข้า ั่ มาเมื่อปี พ.ศ. 2500, 2504 และ 2505  พันธุ์แลนด์เรซถูกสั่งเข้ามาครังแรกเมื่อปี พ.ศ 2506 ต่อมาสุกรทัง 3 พันธุ์เป็น ้ ้ พันธุ์ทได้รบความนิยมมาก ี่ ั
  • 15. ใบหูใหญ่พับปรกจนปิดตา (Lop ears)  ลาตัวยาวมาก(มีซี่โครงมากกว่าพันธุ์อื่นๆ 1-2 คู่ (ปกติมี16-17 คู่ )  หัวเล็ก จมูกยาว หัวและหลังค่อนข้างตรง  สะโพกกลมใหญ่เห็นได้ชัด
  • 16. โตเร็ว ให้ลกดก เลี้ยงลูกดี ู  มีประสิทธิภาพการเปลียนอาหารดี ่  ซากมีเนื้อแดงสูงไขมันน้อย  เต้านมมากกว่า สะดวกต่อลูกสุกรเข้าไปดูดนม
  • 17. กระดูกขาเล็ก มักมีปัญหาเรื่องขา  ไม่ทนร้อน ข้อเท้าอ่อน กล้ามเนื้อด้านในของขาหลัง ฉีกขาดได้ง่าย  มีความต้านทานโรคปากและเท้าเปื่อยต่า  มียีนเลวอยู่หลายอย่าง เช่น ไส้เลื่อนทางช่องท้องและ ทางถุงอัณฑะ ไม่มีรูทวารหนัก เป็นต้น
  • 18. ผิวหนัง ขน สีขาว ใบหูตั้ง (prick ears) ลาตัวยาว น้อยกว่าและหลังโค้งมากว่า พันธุ์แลนเรด  ลักษณะใบหน้าสั้นและกว้างกว่าพันธุ์แลนด์เรซ  ใบหน้าหัก และปลายจมูกงอนขึ้นเล็กน้อย  ไหล่หนาใหญ่เท่ากับหรือมากกว่าสะโพกทาให้สะโพกดูไม่เด่น  เลี้ยงลูกเก่ง ให้ลูกดก เจริญเติบโตเร็ว  มีขาและกีบแข็งแรง
  • 19. เป็นสุกรที่ได้รบการปรับปรุงมากจากพันธุ์ยอร์คเชียร์ ซึง ั ่ มีสีขาวมีจุดด่างดา จึงทาให้ลาร์จไวท์บางตัวอาจมีจุดดา ได้ แต่จัดเป็นลักษณะที่ไม่ต้องการ
  • 20. สีแดง, น้าตาแดงเข้ม จนถึงน้าตาลอ่อนคล้ายสีทอง  ลาตัวหนามาก,มีหลังโค้ง แลดูบึกบึนแข็งแรง  โตเร็ว ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี  ถ้าให้อาหารมากจะอ้วนเร็วมาก  แข็งแรง นิสัยดุ เลี้ยงลูกไม่เก่งแต่หวงลูก  นิยมใช้เป็นพ่อพันธุ์เพื่อผลิตสุกรขุน เพราะลูกที่ได้จะเลี้ยงง่ายโตเร็ว
  • 21. ลาตัวสีดามีแถบสีขาวคาดทีหวไหล่จรดขาหน้าทังสอง ่ ั ้  หูตั้ง หัวเล็ก หลังโค้ง  นิยมใช้เป็นพ่อพันธุ์เพื่อผลิตสุกรขุน  การให้ลกและการเลียงลูกยังด้อยกว่าพันธุ์อนๆ ู ้ ื่ เมื่อเลียงในประเทศไทยจึงไม่นยมใช้เป็นแม่พันธุ์ ้ ิ
  • 22. สีตวมีสขาวสลับแต้มดาทัวทั้งตัว ใบหูตั้ง ั ี ่  สะโพกกลมนูนเด่นชัด มีชื่อเสียงเรืองการให้เนือแดงมาก ่ ้  มักมีปญหาตกใจช็อกตายง่าย ั  มีปญหาเรื่อง PSE ; pale soft exudative ั (เนื้อซีด นิ่ม เนือแฉะน้า) ้
  • 23. มีพันธุกรรมยีนด้อยชื่อ Malignant Hyperthermia Gene ทาให้สุกรไม่ทนต่อความเครียดและความร้อน นิยมเรียกอาการนี้ว่า Porcine Stress Syndrome (PSS)  PSS และซากสุกรที่ตายจากความเครียดนีจะมีลักษณะสี ้ ซีด นิ่มเหลว และแฉะน้า (Pale Soft Exudates) หรือ เนื้อ PSE จัดเป็นเนื้อคุณภาพต่า มาก
  • 24. ลาตัวสีดา มีจุดแต้มขาวตามร่างกาย 6 แห่ง คือหน้าผาก เท้าทังสี่ และปลายหาง ้  หน้าสันหัก หน้าผากกว้าง หูโตปานกลาง ตังตรงไปข้างหน้า คางเข้ารูปดี รูปร่าง ้ ้ สมส่วน ลาตัวยาวลึกและกว้าง หนังเรียบ ขามีขนาดความยาวพอดี  จัดเป็นสุกรขนาดกลาง ตัวผูโตเต็มที่หนัก 300 -400 กก. ้ ตัวเมียหนัก 200 - 300 กก.
  • 25. สุกรที่ทนต่อสภาพแร้นแค้นได้ดี  การเจริญเติบโตไม่ดี กินอาหารเปลือง  แม่ให้ลูกไม่ค่อยดก  จะดีขึ้นเมื่อไปผสมกับพันธุ์อื่น มีน้านมเลี้ยงลูกมาก และ เลี้ยงลูกเก่ง อัตราการเจริญเติบโตดี คุณภาพซากดี มีมัน น้อย กล้ามเนื้อสะโพกและบั้นเอวใหญ่และมีเนื้อมาก  ผสมติดยาก ลูกไม่ดก น้าหนักต่อครอกน้อย แม่ให้น้านม น้อย โตช้า ประสิทธิภาพการใช้อาหารต่า
  • 26.
  • 27. อายุเจริญพันธุ์ 4-9 เดือน  ตัวผู้ = เริมผลิตอสุจิ ่  ตัวเมีย = เริมเป็นสัดครังแรกมีการตกไข่ ่ ้
  • 28. อายุประมาณ 8 เดือน  น้าหนักประมาณ 110-125 kg  เมือสุกรเป็นสัดรอบที่ 2-3 ่
  • 29. คือระยะเวลาทีไข่ของตัวเมียแก่พร้อมที่จะหลุดจากรังไข่และ ่ ยินยอมให้ตวผูขึ้นทับ ั ้  อวัยวะเพศบวมแดง ปากช่องคลอดมีเมือกชุ่ม กระวนกระวาย และสนใจตัวผู้  บางตัวซึมไม่กนอาหาร บางตัวปีนทับตัวเมียด้วยกัน ิ  ไข่ตกระยะกลางของการเป็นสัด  ระยะการเป็นสัดนาน 2-3 วัน  แม่สกรเป็นสัดนานกว่าสุกรสาว ุ
  • 30.
  • 31.
  • 32. เมื่อไข่ตกจากรังไข่ อาการบวม แดงจะยุบและซีดลง ถ้าใช้มือกด สะโพกจะยืนนิ่ง  เป็นระยะทีเหมาะในการผสมพันธุ์ ่ ทีสด ่ ุ  สุกรทีอุ้มท้องและแม่ลกอ่อน จะ ่ ู ไม่เป็นสัด  เป็นสัดรอบต่อไปในเวลา ประมาณ 18-24 วันถัดไป หาก ผสมไม่ตด รอบละประมาณ 21 ิ วันโดยเฉลีย ่
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36. ไข่ตกจากรังไข่ประมาณชัวโมงที่ 24 ถึง 36 หลังเริ่มเป็นสัด ่ หรือก่อนหมดเวลาเป็นสัดประมาณ 11-12 ชั่วโมง  การผสมพันธุควรทาเมืออยูระยะปลายการเป็นสัดหรือประมาณ ์ ่ ่ วันทีสองของการเป็นสัด ่  ไข่จะผสมกับอสุจตอนที่เคลือนมาอยูใกล้รอยต่อระหว่างท่อไข่ ิ ่ ่ กับปีกมดลูก เมื่อไข่ผสมแล้วจะเคลือนมาเกาะทีปกมดลูก ่ ่ ี  อัตราการตกไข่ครั้งละ 10-20 ฟอง  สุกรสาวจะตกไข่น้อยกว่าสุกรอายุมาก สุกรทีให้ลกท้องที่ 5- ่ ู 70จะให้ไข่ทตกสูงสุด ี่
  • 37. สุกรอุมท้องนานเฉลีย 114 (114 ± 3) วัน ้ ่  สุกรสาวมีระยะอุ้มท้องสั้นกว่าสุกรมีอายุมาก  สภาวะแวดล้อมเช่นอากาศและความเครียดอาจจะทาให้ คลอดเร็วขึน้  การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์เร่งการคลอดจะทาให้จดการ ั ง่ายขึน ้
  • 38. 9-12 ตัวต่อครอก  จานวนลูกสุกรต่อครอกมากเกินไปลูกจะมีขนาดเล็ก อ่อนแอ ตายมาก ลูกทีมากกว่าจานวนเต้านมแม่จะโตไม่ ่ สม่าเสมอ และมีตวแคระแกร็น ั  น้อยเกินไปจะเกิดความเสียหาทางเศรษฐกิจ
  • 39. แม่สกรทีคลอดแล้วจะกลับเป็นสัดครังแรกหลังคลอด ุ ่ ้ ประมาณ 5 วันแต่ไม่มีการตกไข่  การเป็นสัดจะสมบูรณ์เมือหย่านมลูกจากแม่แล้ว 3- ่ 10 วัน
  • 40. อายุเกิน 8 เดือน  ใช้งานไม่ควรเกิน 2-4 ครั้งต่อ สัปดาห์ พ่อที่อายุเกิน 15 เดือน ผสมได้มากกว่านัน แต่ไม่ควร ้ เกิน 2 ครังต่อวัน ้  สุกรทีแข็งแรงสามารถใช้เป็น ่ พ่อพันธุได้นานถึงอายุ 4 ปี ์
  • 41.
  • 42. มีการใช้ทั้งน้าเชื้อสดและแช่แข็ง  น้าเชื้อสุกรที่รีดมาครั้งหนึ่งเมื่อเจือจางแล้วสามารถ แบ่งไปผสมแม่สุกรได้ถึง 10 แม่  ปรับปรุงพันธุ์สายพ่อพันธุ์  ป้องกันโรคติดต่อทางระบบสืบพันธุ์  ลดภาระการเลี้ยงพ่อพันธุ์  สะดวกต่อการขนส่งและลดการสูญเสีย  ขจัดปัญหาเรื่องคู่ผสมพันธุ์มีขนาดต่างกัน
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. Pure breed (การผสมพันธุ์แท้)  Hybrid (การผสมพันธุ์ลูกผสม)
  • 72. พันธุ์แท้พันธุ์เดียวกันผสมกัน  เพื่อรักษารูปร่างและลักษณะเดิมของพันธุ์แท้เอาไว้  ต้องระวังการผสมเลือดชิด พี่ผสมกับน้อง พ่อ/แม่ผสม กับลูก ปู่/ย่า/ตา/ยายผสมกับหลาน  การผสมเลือดชิดทาให้ลูกสุกรที่ออกมามีลักษณะ ผิดปกติ การเจริญเติบโตช้า และอ่อนแอ เป็นต้น  ต้องใช้สุกรพันธุ์แท้จากฝูงอื่นมาผสม ต้องเปลี่ยนพ่อ พันธุ์ทุก 1-2 ปีเพื่อป้องกันการผสมเลือดชิด
  • 73. ผสมเพื่อผลิตสุกรขุน  มักจะผสมระหว่างสุกร 2 พันธุ์ขึ้นไป เรียกว่าการผสม ข้ามพันธุ์ (cross breeding)  เพื่อรวบรวมลักษณะที่ดีของพันธุ์ต่างๆรวมไว้ด้วยกัน และได้ลูกสุกรที่มีคุณภาพดีกว่าพ่อแม่พันธุ์แท้ หรือ เรียกว่า hybrid vigor หรือ Heterosis  ลูกผสมที่ได้จะเลี้ยงง่าย เติบโตเร็ว แข็งแรง ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารดี และรูปร่างดี
  • 74. สุกรพันธุ์การค้าทีจาหน่ายอยูในปัจจุบัน ทังหมดเป็นสุกรลูกผสมที่ได้รบ ่ ่ ้ ั การผสมข้ามจากพันธุ์แท้สองพันธุ์ขึ้นไป ส่วนใหญ่มักเป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์หลักคือ ลาร์จไวท์ แลนด์เรซ ดูร็อก และเพียเทรียน  ทาการคัดเลือกอย่างเข้มงวด และผสมเลือดชิดอีกหลายชัวอายุ พร้อมกับ ่ ทาการทดลองผสมข้ามกับสายพันธุ์อื่นที่สร้างขึ้น มักใช้ชื่อบริษทหรือตัวย่อของบริษทเป็นชื่อพันธุ์ และกาหนดการใช้อย่าง ั ั แน่นอนว่าสายพันธุ์นี้เป็นสายตัวผู้ สายพันธุนี้เป็นสายตัวเมีย เพื่อให้ได้ ์ ผลผลิตที่สงทีสด จากอิทธิพลของ Heterosis ู ่ ุ เมื่อนาลูกของมันมาเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อ จะได้ผลผลิตที่ลดลง เพราะไม่ได้ ผลดีจาก Heterosis อีกต่อไป
  • 75. สาหรับลูกสุกรขุนจากพ่อแม่พันธุ์ลูกผสม การค้าเหล่านี้ ได้รับอิทธิพลของ Heterosis สูงที่สุด จึงทาให้มีลักษณะทางโครงสร้าง กล้ามเนื้อ การเจริญเติบโตที่สูงมาก และ สม่าเสมอกันทั้งฝูง แต่มีลักษณะสี และ ใบหน้า หรือหู ที่แตกต่างกันมากภายในฝูง ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงทาให้ไม่สามารถแจก แจงได้ว่ามาจากลูกผสมการค้าสายพันธุ์ ของบริษัทใด โดยดูลักษณะภายนอกได้ โดยง่าย
  • 78. ◦ สุกรสายพันธุ์ใหม่ซึ่งสร้างภายในประเทศไทย โดยสถานีวิจัย และทดสอบพันธุ์สุกรนครราชสีมา เป็นสุกรพันธุ์แลนด์เรชแท้ แต่ เป็นลูกผสมต่างสายพันธุ์
  • 80. ♂ Land race ♀ Large white X สุ กรสองสายพันธุ์ X ลูกผสมสามสาย เป็นสุกรสี ขาว มักมีจุดสีดา เทาหรือ Duroc น้าตาลบนลาตัว สีขนมีสีออก เหลืองเมื่อเทียบกับสุกรสอง สาย หลังโค้งชัดเจน ใบหน้า เล็กไม่ยาว และหูโคนตั้งปรก ปลาย ซึ่งลักษณะเหล่านี้ได้ จากพันธุ์ดูร็อก สุ กรขุนสามสายพันธุ์
  • 81. ระบบการผสมพันธุ์สุกรที่นิยมในปัจจุบัน คือ การผลิต สุกรขุนลูกผสมสามสาย (ดูร็อก 50% ลาร์จไวท์ 25% และแลนด์เรซ แลนด์เรซ 25%)  เพื่อเลี้ยงและจาหน่ายเป็นสุกรเนื้อส่งตลาดเพื่อการ บริโภคเท่านั้น  ไม่นามาใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์เพื่อผลิตลูกสุกรต่อไป  ลูกผสมเหล่านี้มีความสามารถในการเลี้ยงลูกค่อนข้างต่า และให้ลูกรุ่นต่อไปที่มีคุณภาพต่ากว่าตัวเอง ทั้งด้านการ เจริญเติบโต คุณภาพซาก
  • 82.
  • 83. ดูร็อก มีสีเหลืองทองจนเป็นสีแดงออกดา หรือสีนาตาลแก่ ลาตัวสั้น หนา ้ ลาตัวโค้ง สะโพกและไหล่หนา
  • 84. ◦ แลนด์เรซ มีสีขาวปลอดและต้องไม่มจุดสีใดๆ มีใบหน้ายาวและ ี แคบมาก หน้าไม่หัก ใบหูใหญ่ปรกปิดหน้าชัดเจน ลาตัวยาวมาก อาจมีซี่โครงมากกว่าถึง 16-17 คู่ หลังไม่โค้ง บางครั้งดูตรงแบน สะโพกโตเห็นเด่นชัด ขาและกีบไม่คอยแข็งแรง ่
  • 85. Large white ผิวหนัง ขน สีขาว ใบหูตง (prick ears) ลาตัวยาว น้อยกว่าและ ั้ หลังโค้งมากว่าพันธุ์แลนเรด ลักษณะใบหน้าสั้นและกว้างกว่าพันธุ์แลนด์เรซ ใบหน้าหัก และปลายจมูกงอนขึ้นเล็กน้อย