SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร 
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 
ปการศึกษา 2561 
ชื่อโครงงาน กระแสนิยมเพลงเกาหลีในไทย 
 
 
 
ชื่อผูทําโครงงาน 
นางสาว ลภัสรดา ยุทธวราชัย เลขที่ 20 ชั้น ม.6 หอง 7 
 
 
 
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ 
 
 
 
 
 
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2561 
 
 
 
 
 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม 
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34   
 
 
 
 
 
2
ใบงาน 
การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร 
 
สมาชิกในกลุม   
นางสาว ลภัสรดา ยุทธวราชัย เลขที่ 20 
 
คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้ 
 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
กระแสนิยมเพลงเกาหลีในไทย 
 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)   
How communication affects the popularity of KOREAN POP MUSIC in 
Thailand 
 
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทส ารวจรวบรวมขอมูล (Survey research project) 
ชื่อผูทําโครงงาน น.ส. ลภัสรดา ยุทธวราชัย  
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ  
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 
 
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน) 
กระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลี หรือที่ภาษาเกาหลีเรียกวา “한류” (Hallyu) ไดรับความ นิยม
อยางแพรหลายไปทั่วโลก โดยกระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลีเริ่มตนขึ้นจากอุตสาหกรรมภาพยนตร โดย
ภาพยนตรเรื่องแรกๆ ที่ทําใหประเทศเกาหลีเริ่มเปนที่รูจักในกลุมคนไทยคือเรื่อง  
“ยัยตัวรายกับ นายเจี๋ยมเจี๊ยม (My Sassy Girl)” หลังจากนั้นประเทศไทยจึงเริ่มมีการนําเขา ซีรี่ยเกาหลี
มากขึ้น กระแสนิยมในซีรี่ยเกาหลีสงผลใหสถานีโทรทัศนในประเทศไทยตางพากันแยงซื้อลิขสิทธิ์ซี่รี่ย
เกาหลี เขามาฉายในประเทศไทยกันอยางดุเดือด ในขณะที่ผูบริโภคเองก็เริ่มเปดรับสินคาและวัฒนธรรม
จากประเทศเกาหลีมากขึ้นไมวาจะเปนรายการเกมโชวตางๆ เกม ออนไลน และกระแสนิยมในเพลง
เกาหลี (K-Pop) ในสวนของธุรกิจเพลงเกาหลี หรือ K-Pop Fever ถือไดวาประสบความสําเร็จใน
ประเทศไทยเปนอยางมาก เริ่มตั้งแตในชวงศตวรรษที่ 21 เปนตนมา เมื่อกลุมศิลปนไมวาจะเปนเกิรล
กรุปหรือบอยแบนดของเกาหลี (หรือที่คนเกาหลีเรียกวา “ไอดอล”) สามารถประสบความสําเร็จในตลาด
เพลงของญี่ปุน จีนและรวมถึงไทย  
 
 
3
ไอดอลเกาหลี ยังพากระแส K-Pop Fever ไปสรางความนิยมยังประเทศอื่นๆทั่วโลก ไมวาจะเปนใน
อเมริกาหรือ ในยุโรป โดยเกิดปรากฏการณชารตเพลงเกาหลีเกิดขึ้นใน Billboard Chart หรือการเลน
คอนเสิรตของเหลาศิลปนเกาหลีในประเทศแถบอเมริกาและยุโรปที่ไดรับการตอบรับเปนอยางดี รวมถึง
สื่อมวลชนทองถิ่นในยุโรปที่เริ่มหันมาใหความสนใจกับกระแส K-Pop Fever มากขึ้น และไมเพียงแคนั้น 
กระแส K-Pop Fever ยังทําใหเกิดการรวมตัวกันของกลุมแฟนคลับในการทํากิจกรรมรวมกัน โดยที่เห็น
ไดชัดคือการจัดกิจกรรม Cover Dance ซึ่งคือกิจกรรมการเตนเลียนแบบศิลปนที่ตนชื่นชอบ โดย
กิจกรรมเหลานี้ไดรับความนิยมจากแฟนคลับเปนจํานวนมาก อีกทั้งยังเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นใน
หลายๆประเทศทั่วโลกอีกดวย 
 
วัตถุประสงค ​​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ) 
1. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานชองทางในการเผยแพรเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีใน
ประเทศไทย  
2. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานผูบริโภคตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย  
3. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานการผลิตเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย  
4. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานเนื้อหาที่บรรจุอยูในเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีใน
ประเทศไทย 
 
ขอบเขตโครงงาน ​​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน) 
ผูบริโภคชายและหญิงอายุตั้งแต 15-18 ป อาศัยอยูในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม และ 
เคยบริโภคสินคาเพลงเกาหลีที่ผลิตจากประเทศเกาหลีใตเปนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป โดยการบริโภค 
ในที่นี้หมายถึง การซื้อสินคาเพลงเกาหลีไมวาจะเปนซีดีเพลง โปสเตอรศิลปน โฟโตบุคส หรือของที่ระลึก 
ตางๆของศิลปน เปนตน 
 
หลักการและทฤษฎี ​​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน) 
ไดใชองคประกอบการสื่อสารตามทฤษฎีแบบจ าลองการสื่อสาร SMCR มาเปนเกณฑในการ แบง
กลุมตัวแปรหลักในการวิจัย เนื่องจากผูวิจัยมองวาเพลงนั้นเปรียบเสมือนสื่อประเภทหนึ่งที่ จ าเปนตองมี
ผูสงสารถายทอดสารเหลานั้นผานชองทางมายังผูรับสารหลังจากนั้นผูรับสารจึงเปนผู ตัดสินใจ ตีความ
และบริโภคสินคา พรอมสงขอมูลยอนกลับไปยังผูผลิตคลายกับรูปแบบของการสื่อสารที่ ยังใชอธิบายได
ในปจจุบัน 
วิธีดําเนินงาน  
วิธีการดําเนินงาน  
แนวทางการดําเนินงาน 
โครงงานเรื่อง “องคประกอบการสื่อสารและกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย” เปน โครง
งานวิจัยเพื่อทําความเขาใจปรากฏการณกระแสนิยมเพลงเกาหลีใตในประเทศไทย ผานมุมมองการรับรู
4
ของผูบริโภค โดยไดเลือกใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิธีการสนทนากลุม 
(Focus Group) และการสัมภาษณเชิงลึก (In-Depth Interview) โดยไดกําหนด 
วิธีการศึกษาดังนี้  
1. ลักษณะประชากร  
2. การเลือกกลุมตัวอยาง  
3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย  
4. การเก็บรวบรวมขอมูล  
5. การวิเคราะหและประมวลผลขอมูล 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน 
 
ลําดับ 
ที่ 
ขั้นตอน  สัปดาหที่ ผูรับผิดชอบ 
1  2  3  4  5  6  7  8  9 
1
0 
1
1 
12 
1
3 
1
4 
1
5 
16  17  
5
1  คิดหัวขอโครงงาน                                   
2  ศึกษาและคนควาขอมูล                                   
3  จัดทําโครงรางงาน                                   
4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                                   
5  ปรับปรุงทดสอบ                                   
6  การทําเอกสารรายงาน                                   
7  ประเมินผลงาน                                   
8  นําเสนอโครงงาน                                   
 
 
ผลที่คาดวาจะไดรับ ​​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน) 
สําหรับผูที่สนใจ สามารถศึกษาเกี่ยวกับดานการตลาด หรือ ดานธุรกิจเพลงและนําไปตอยอด 
ตอไปในอนาคตทั้งเชิงวิชาการและพาณิชย รวมถึงเพื่อเปนแนวทางตอการสรางกระแสนิยมใน 
อุตสาหกรรมเพลงในประเทศไทย 
 
สถานที่ดําเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม 
 
กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ 
1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ 
2. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
แหลงอางอิง ​​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน) 
กานตพิชชา วงษขาว. สื่อละครโทรทัศนเกาหลีกับการเผยแพรวัฒนธรรมเกาหลีในสังคมไทย.  
วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร, 2550.  
6
ทยากร แซแต. มายาคติทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในละครเกาหลีและการสรางประโยชนทางธุรกิจ. 
วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร สาขานิเทศศาสตรธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจ 
บัณฑิตย, 2551.  
จรรยาลักษณ สิริกุลนฤมิตร. องคประกอบการสื่อสารและกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย.  
[ออนไลน].  
เขาถึง ไดจาก: http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/articles/7  
(สืบคนเมื่อ วันที่ 11 กันยายน 2561). 

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Lin
LinLin
Lin
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
615 35 wpdf
615 35 wpdf615 35 wpdf
615 35 wpdf
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2562 final-project-14
2562 final-project-142562 final-project-14
2562 final-project-14
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2561 project computer
2561 project  computer2561 project  computer
2561 project computer
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 

Similar to 2561 project (20)

โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2561 project-shoes14
2561 project-shoes142561 project-shoes14
2561 project-shoes14
 
2561 project-shoes
2561 project-shoes2561 project-shoes
2561 project-shoes
 
2561 project-shoes145
2561 project-shoes1452561 project-shoes145
2561 project-shoes145
 
โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Phakhaphon 2561
Phakhaphon 2561Phakhaphon 2561
Phakhaphon 2561
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1Keatfa kanjanaviboon no1
Keatfa kanjanaviboon no1
 
Plastics
PlasticsPlastics
Plastics
 
Activity6 612 09
Activity6 612 09Activity6 612 09
Activity6 612 09
 
Thailand's problem with english speaking
Thailand's problem with english speakingThailand's problem with english speaking
Thailand's problem with english speaking
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
คอมม
คอมมคอมม
คอมม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
4k kk
4k kk4k kk
4k kk
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 

2561 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงรางโครงงานคอมพิวเตอร  รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6  ปการศึกษา 2561  ชื่อโครงงาน กระแสนิยมเพลงเกาหลีในไทย        ชื่อผูทําโครงงาน  นางสาว ลภัสรดา ยุทธวราชัย เลขที่ 20 ชั้น ม.6 หอง 7        ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ            ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปการศึกษา 2561            โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม  สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34             
  • 2. 2 ใบงาน  การจัดทําขอเสนอโครงงานคอมพิวเตอร    สมาชิกในกลุม    นางสาว ลภัสรดา ยุทธวราชัย เลขที่ 20    คําชี้แจง ใหผูเรียนแตละกลุมเขียนขอเสนอโครงงานตามหัวขอตอไปนี้    ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)  กระแสนิยมเพลงเกาหลีในไทย    ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)    How communication affects the popularity of KOREAN POP MUSIC in  Thailand    ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทส ารวจรวบรวมขอมูล (Survey research project)  ชื่อผูทําโครงงาน น.ส. ลภัสรดา ยุทธวราชัย   ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ   ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 2    ที่มาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทําโครงงาน)  กระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลี หรือที่ภาษาเกาหลีเรียกวา “한류” (Hallyu) ไดรับความ นิยม อยางแพรหลายไปทั่วโลก โดยกระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลีเริ่มตนขึ้นจากอุตสาหกรรมภาพยนตร โดย ภาพยนตรเรื่องแรกๆ ที่ทําใหประเทศเกาหลีเริ่มเปนที่รูจักในกลุมคนไทยคือเรื่อง   “ยัยตัวรายกับ นายเจี๋ยมเจี๊ยม (My Sassy Girl)” หลังจากนั้นประเทศไทยจึงเริ่มมีการนําเขา ซีรี่ยเกาหลี มากขึ้น กระแสนิยมในซีรี่ยเกาหลีสงผลใหสถานีโทรทัศนในประเทศไทยตางพากันแยงซื้อลิขสิทธิ์ซี่รี่ย เกาหลี เขามาฉายในประเทศไทยกันอยางดุเดือด ในขณะที่ผูบริโภคเองก็เริ่มเปดรับสินคาและวัฒนธรรม จากประเทศเกาหลีมากขึ้นไมวาจะเปนรายการเกมโชวตางๆ เกม ออนไลน และกระแสนิยมในเพลง เกาหลี (K-Pop) ในสวนของธุรกิจเพลงเกาหลี หรือ K-Pop Fever ถือไดวาประสบความสําเร็จใน ประเทศไทยเปนอยางมาก เริ่มตั้งแตในชวงศตวรรษที่ 21 เปนตนมา เมื่อกลุมศิลปนไมวาจะเปนเกิรล กรุปหรือบอยแบนดของเกาหลี (หรือที่คนเกาหลีเรียกวา “ไอดอล”) สามารถประสบความสําเร็จในตลาด เพลงของญี่ปุน จีนและรวมถึงไทย      
  • 3. 3 ไอดอลเกาหลี ยังพากระแส K-Pop Fever ไปสรางความนิยมยังประเทศอื่นๆทั่วโลก ไมวาจะเปนใน อเมริกาหรือ ในยุโรป โดยเกิดปรากฏการณชารตเพลงเกาหลีเกิดขึ้นใน Billboard Chart หรือการเลน คอนเสิรตของเหลาศิลปนเกาหลีในประเทศแถบอเมริกาและยุโรปที่ไดรับการตอบรับเปนอยางดี รวมถึง สื่อมวลชนทองถิ่นในยุโรปที่เริ่มหันมาใหความสนใจกับกระแส K-Pop Fever มากขึ้น และไมเพียงแคนั้น  กระแส K-Pop Fever ยังทําใหเกิดการรวมตัวกันของกลุมแฟนคลับในการทํากิจกรรมรวมกัน โดยที่เห็น ไดชัดคือการจัดกิจกรรม Cover Dance ซึ่งคือกิจกรรมการเตนเลียนแบบศิลปนที่ตนชื่นชอบ โดย กิจกรรมเหลานี้ไดรับความนิยมจากแฟนคลับเปนจํานวนมาก อีกทั้งยังเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นใน หลายๆประเทศทั่วโลกอีกดวย    วัตถุประสงค ​​(สิ่งที่ตองการในการทําโครงงาน ระบุเปนขอ)  1. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานชองทางในการเผยแพรเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีใน ประเทศไทย   2. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานผูบริโภคตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย   3. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานการผลิตเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย   4. เพื่อศึกษาถึงปจจัยดานเนื้อหาที่บรรจุอยูในเพลงเกาหลีตอกระแสนิยมเพลงเกาหลีใน ประเทศไทย    ขอบเขตโครงงาน ​​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและขอจํากัดของการทําโครงงาน)  ผูบริโภคชายและหญิงอายุตั้งแต 15-18 ป อาศัยอยูในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม และ  เคยบริโภคสินคาเพลงเกาหลีที่ผลิตจากประเทศเกาหลีใตเปนระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป โดยการบริโภค  ในที่นี้หมายถึง การซื้อสินคาเพลงเกาหลีไมวาจะเปนซีดีเพลง โปสเตอรศิลปน โฟโตบุคส หรือของที่ระลึก  ตางๆของศิลปน เปนตน    หลักการและทฤษฎี ​​(ความรู หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทําโครงงาน)  ไดใชองคประกอบการสื่อสารตามทฤษฎีแบบจ าลองการสื่อสาร SMCR มาเปนเกณฑในการ แบง กลุมตัวแปรหลักในการวิจัย เนื่องจากผูวิจัยมองวาเพลงนั้นเปรียบเสมือนสื่อประเภทหนึ่งที่ จ าเปนตองมี ผูสงสารถายทอดสารเหลานั้นผานชองทางมายังผูรับสารหลังจากนั้นผูรับสารจึงเปนผู ตัดสินใจ ตีความ และบริโภคสินคา พรอมสงขอมูลยอนกลับไปยังผูผลิตคลายกับรูปแบบของการสื่อสารที่ ยังใชอธิบายได ในปจจุบัน  วิธีดําเนินงาน   วิธีการดําเนินงาน   แนวทางการดําเนินงาน  โครงงานเรื่อง “องคประกอบการสื่อสารและกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย” เปน โครง งานวิจัยเพื่อทําความเขาใจปรากฏการณกระแสนิยมเพลงเกาหลีใตในประเทศไทย ผานมุมมองการรับรู
  • 4. 4 ของผูบริโภค โดยไดเลือกใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) วิธีการสนทนากลุม  (Focus Group) และการสัมภาษณเชิงลึก (In-Depth Interview) โดยไดกําหนด  วิธีการศึกษาดังนี้   1. ลักษณะประชากร   2. การเลือกกลุมตัวอยาง   3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย   4. การเก็บรวบรวมขอมูล   5. การวิเคราะหและประมวลผลขอมูล                                              ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน    ลําดับ  ที่  ขั้นตอน  สัปดาหที่ ผูรับผิดชอบ  1  2  3  4  5  6  7  8  9  1 0  1 1  12  1 3  1 4  1 5  16  17  
  • 5. 5 1  คิดหัวขอโครงงาน                                    2  ศึกษาและคนควาขอมูล                                    3  จัดทําโครงรางงาน                                    4  ปฏิบัติการสรางโครงงาน                                    5  ปรับปรุงทดสอบ                                    6  การทําเอกสารรายงาน                                    7  ประเมินผลงาน                                    8  นําเสนอโครงงาน                                        ผลที่คาดวาจะไดรับ ​​(ผลลัพธที่ตองการใหเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทําโครงงาน)  สําหรับผูที่สนใจ สามารถศึกษาเกี่ยวกับดานการตลาด หรือ ดานธุรกิจเพลงและนําไปตอยอด  ตอไปในอนาคตทั้งเชิงวิชาการและพาณิชย รวมถึงเพื่อเปนแนวทางตอการสรางกระแสนิยมใน  อุตสาหกรรมเพลงในประเทศไทย    สถานที่ดําเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม    กลุมสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของ  1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ  2. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา                    แหลงอางอิง ​​(เอกสาร หรือแหลงขอมูลตาง ๆ ที่นํามาใชการทําโครงงาน)  กานตพิชชา วงษขาว. สื่อละครโทรทัศนเกาหลีกับการเผยแพรวัฒนธรรมเกาหลีในสังคมไทย.   วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, 2550.  
  • 6. 6 ทยากร แซแต. มายาคติทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในละครเกาหลีและการสรางประโยชนทางธุรกิจ.  วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร สาขานิเทศศาสตรธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจ  บัณฑิตย, 2551.   จรรยาลักษณ สิริกุลนฤมิตร. องคประกอบการสื่อสารและกระแสนิยมเพลงเกาหลีในประเทศไทย.   [ออนไลน].   เขาถึง ไดจาก: http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/articles/7   (สืบคนเมื่อ วันที่ 11 กันยายน 2561).