SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรค phobia รุนเเรงขนาดไหน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง เลขที่ 43 ชั้น 6 ห้อง 13
เสนอ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1. นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง เลขที่ 43 ม. 6/13
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรค phobia รุนเเรงขนาดไหน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Phobia
ประเภทโครงงาน เป็นโครงงานประเภท
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง
ระยะเวลาดาเนินงาน 1-3 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โครงงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรค Phobia เป็นความกลัวอย่างรุนแรง ที่เกิดซ้าแล้วซ้าเล่า โดยไม่มี
เหตุผล ต่อวัตถุ กิจกรรม หรือสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ทาให้ผู้ป่วยต้องพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่
กลัวนั้น เนื่องจากโรคนี้เป็นโครที่เป็นซ้าๆกัน โดยสามารถเป็นได้อีกเลื่อยๆ Phobia ต่างจากความกลัวธรรมดา
(fear) ตรงที่ความกลัวใน phobia มีลักษณะรุนแรง เกิดอยู่นาน และไม่สมเหตุผล ทั้งยังมีผลต่อการปรับตัวใน
ชีวิตของผู้ป่วยด่วย เนื่องจากต้องพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่หวาดกลัวนั้น ความกลัวจะเกิดกับวัตถุ กิจกรรม หรือ
สถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ และก่อให้เกิดความตึงเครียด หรือรบกวนหน้าที่ทางสังคมและบทบาท
ของบุคคลนั้น สิ่งที่ผู้ป่วยกลัวอาจอยู่ภายในร่างกาย เช่น กลัวการเป็นโรคบางอย่าง หรือเป็นสิ่งที่อยู่ภายนอก
ร่างกาย เช่น กลัวสัตว์ กลัวการอยู่ตามลาพัง ฯลฯ ส่วนใหญ่สิ่งที่กลัวจะอยู่ภายนอกร่างกาย เป็นต้น
วัตถุประสงค์
ศึกษาให้เข้าใจทาความรู้จักกับโรค Phobia ว่า ความรุนแรงมันมากกว่า ความหวาดกลัวแบบปกติ
อย่างไร รวมถึงกับการป้องกันของการเกิดภาวะเสี่ยง การเกิดโรค ในพวก Agoraphobia อาการมักเริ่มในวัยรุ่น
หรือคนวัยผู้ใหญ่ ความรุนแรงของโรคจะขึ้นๆ ลงๆ และมีระยะที่หายเป็นปกติได้ กิจกรรมหรือสถานการณ์ที่
ผู้ป่วยกลัวอาจเปลี่ยนไป ในแต่ละวัน ในระยะที่มีอาการรุนแรงผู้ป่วยอาจไม่ยอมออกจากบ้าน หรือหลีกเลี่ยงการ
อยู่ในที่ที่ไม่มีคนรู้จัก ทาให้หน้าที่ทางสังคมหรืออาชีพบกพร่องไป และได้จัดทาขึ้นเพื่อทาความเข้าใจ รวมถึง
แก้ปัญหานั้นให้บันเทาความรุนแรงลง
3
ขอบเขตโครงงาน
อยู่ภายใต้ของการวิจัยของต่างประเทศ เนื่องจากโรคนี้ส่วนใหญ่ไม่ค่อยเกิดในไทยและส่วนใหญ่เกิดกับ
ผู้หญิง ทั้งเด็กและผู้ใหญ่
หลักการและทฤษฎี
คือการวินิจฉัย
หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคประสาทแบบหวาดกลัวของ Goodwin และ Guze ค.ศ. ๑๙๗๙ มีดังนี้ คือ
๑. มีการหลีกเลี่ยงวัตถุหรือสถานการณ์ที่บุคคลนั้นมีความกลัวอย่างขาดเหตุผล และถ้ามีบางสิ่งบางอย่างที่
แสดงว่ามีอันตรายในวัตถุหรือสถานการณ์ที่เขากลัวนั้น เขาจะมีปฏิกิริยามากเกินควร
๒. การหลีกเลี่ยงสิ่งที่ตนกลัวนั้นเป็นสาเหตุให้เกิดความตึงเครียด หรือรบกวนต่อหน้าที่และบทบาททางสังคม
ของบุคคลผู้นั้น
๓. ผู้ป่วยรู้ว่าความกลัวของตนไร้เหตุผล
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
หากลุ่มที่เกี่ยวข้องที่สามารถเกิดอาการณ์โรค Phobia โดยส่วนใหญ่จะเกิดอาการณ์หวาดกลัว
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ โดยที่อาจจะเกิดจากจิตใต้สานึกของผู้ป่วยเอง ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถจาแนก
สิ่งที่ผู้ป่วยกลัวออกไปได้เป็นหลายพันอย่างเลย แต่ผู้ป่วยจะมีอาการกลัวอย่างในอย่างหนึ่ง เช่น กลัว
แมวอย่างเดียว กลัวเฉพาะหมาสัตว์อื่นไม่กลัวเป็นต้น ความกลัวแต่ละอย่างก็มีแบบแปลกๆ แปลกมาก
แปลกน้อยแตกต่างกันไปแต่ก็ยังสามารถจาแนกเป็นหมวดย่อย
การทดสอบอาการณ์หวาดกลัวส่วนใหญ่ ก็จะเป็นสิ่งที่เรากลัว โดยไม่ได้เอาสิ่งที่จริงมาทดสอบจาลองมา
เช่น รูปภาพ วัสดุอุปกรณ์ ต่างๆที่สามารถสร้างสถานการณ์ได้
งบประมาณ
ไม่ได้ใช้งบประมาณ
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
มีความรู้ความเข้าใจในโรค Phobia รวมถึงการป้องกันควมรุนแรงของโรคเป็นอย่างดี รวมถึงการบาบัด
เพื่อให้ควมกลัวนั้นค่อยๆ จางไปและทาความเข้าใจในสิ่งที่กลัวได้ เผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัวได้เป็นอย่างดี
สถานที่ดาเนินการ
โรงพยาบาลจิตวิทยา เพื่อไม่ให้เกิดอาการณ์ที่รุนแรงขึ้นต้องอยู่ใกล้นักจิตวิทยาเพื่อกันไว้อาจเกิดความ
เสียหาทางจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรมด้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. วิทยาศาสตร์
2. สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
http://www.wikihow.com/Tell-if-Your-Fear-Is-a-Phobia
https://www.youtube.com/watch?v=bycx9bAZwM0
และขอบคุณ สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย

More Related Content

What's hot

2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
TeerapatSrilom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
wasavaros
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
benjawan punyawarin
 

What's hot (20)

แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มม
มมมม
มม
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
 
Chel
ChelChel
Chel
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 

Similar to โรค Phobia

กิจกรรมที่ 5 โครงงาน
กิจกรรมที่ 5 โครงงานกิจกรรมที่ 5 โครงงาน
กิจกรรมที่ 5 โครงงาน
Chanin Monkai
 
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจเลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
Chanin Monkai
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
Chanin Monkai
 

Similar to โรค Phobia (20)

กิจกรรมที่ 5 โครงงาน
กิจกรรมที่ 5 โครงงานกิจกรรมที่ 5 โครงงาน
กิจกรรมที่ 5 โครงงาน
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
ภาษาทางกาย
ภาษาทางกายภาษาทางกาย
ภาษาทางกาย
 
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจเลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
เลี้ยงผึ้งเศรษฐกิจ
 
2561 project (5)
2561 project  (5)2561 project  (5)
2561 project (5)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
2560 project 3333
2560 project  33332560 project  3333
2560 project 3333
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
อิ๋ม
อิ๋มอิ๋ม
อิ๋ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Dduang07 (7)

แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
งานคอม22
งานคอม22งานคอม22
งานคอม22
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560โครงร่าง งานคอม 2560
โครงร่าง งานคอม 2560
 

โรค Phobia

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรค phobia รุนเเรงขนาดไหน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง เลขที่ 43 ชั้น 6 ห้อง 13 เสนอ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1. นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง เลขที่ 43 ม. 6/13 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรค phobia รุนเเรงขนาดไหน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Phobia ประเภทโครงงาน เป็นโครงงานประเภท ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ไชยเชาวน์ เสาร์เป็ง ระยะเวลาดาเนินงาน 1-3 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โครงงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาโรค Phobia เป็นความกลัวอย่างรุนแรง ที่เกิดซ้าแล้วซ้าเล่า โดยไม่มี เหตุผล ต่อวัตถุ กิจกรรม หรือสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ทาให้ผู้ป่วยต้องพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่ กลัวนั้น เนื่องจากโรคนี้เป็นโครที่เป็นซ้าๆกัน โดยสามารถเป็นได้อีกเลื่อยๆ Phobia ต่างจากความกลัวธรรมดา (fear) ตรงที่ความกลัวใน phobia มีลักษณะรุนแรง เกิดอยู่นาน และไม่สมเหตุผล ทั้งยังมีผลต่อการปรับตัวใน ชีวิตของผู้ป่วยด่วย เนื่องจากต้องพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่หวาดกลัวนั้น ความกลัวจะเกิดกับวัตถุ กิจกรรม หรือ สถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ และก่อให้เกิดความตึงเครียด หรือรบกวนหน้าที่ทางสังคมและบทบาท ของบุคคลนั้น สิ่งที่ผู้ป่วยกลัวอาจอยู่ภายในร่างกาย เช่น กลัวการเป็นโรคบางอย่าง หรือเป็นสิ่งที่อยู่ภายนอก ร่างกาย เช่น กลัวสัตว์ กลัวการอยู่ตามลาพัง ฯลฯ ส่วนใหญ่สิ่งที่กลัวจะอยู่ภายนอกร่างกาย เป็นต้น วัตถุประสงค์ ศึกษาให้เข้าใจทาความรู้จักกับโรค Phobia ว่า ความรุนแรงมันมากกว่า ความหวาดกลัวแบบปกติ อย่างไร รวมถึงกับการป้องกันของการเกิดภาวะเสี่ยง การเกิดโรค ในพวก Agoraphobia อาการมักเริ่มในวัยรุ่น หรือคนวัยผู้ใหญ่ ความรุนแรงของโรคจะขึ้นๆ ลงๆ และมีระยะที่หายเป็นปกติได้ กิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ ผู้ป่วยกลัวอาจเปลี่ยนไป ในแต่ละวัน ในระยะที่มีอาการรุนแรงผู้ป่วยอาจไม่ยอมออกจากบ้าน หรือหลีกเลี่ยงการ อยู่ในที่ที่ไม่มีคนรู้จัก ทาให้หน้าที่ทางสังคมหรืออาชีพบกพร่องไป และได้จัดทาขึ้นเพื่อทาความเข้าใจ รวมถึง แก้ปัญหานั้นให้บันเทาความรุนแรงลง
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน อยู่ภายใต้ของการวิจัยของต่างประเทศ เนื่องจากโรคนี้ส่วนใหญ่ไม่ค่อยเกิดในไทยและส่วนใหญ่เกิดกับ ผู้หญิง ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ หลักการและทฤษฎี คือการวินิจฉัย หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคประสาทแบบหวาดกลัวของ Goodwin และ Guze ค.ศ. ๑๙๗๙ มีดังนี้ คือ ๑. มีการหลีกเลี่ยงวัตถุหรือสถานการณ์ที่บุคคลนั้นมีความกลัวอย่างขาดเหตุผล และถ้ามีบางสิ่งบางอย่างที่ แสดงว่ามีอันตรายในวัตถุหรือสถานการณ์ที่เขากลัวนั้น เขาจะมีปฏิกิริยามากเกินควร ๒. การหลีกเลี่ยงสิ่งที่ตนกลัวนั้นเป็นสาเหตุให้เกิดความตึงเครียด หรือรบกวนต่อหน้าที่และบทบาททางสังคม ของบุคคลผู้นั้น ๓. ผู้ป่วยรู้ว่าความกลัวของตนไร้เหตุผล วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน หากลุ่มที่เกี่ยวข้องที่สามารถเกิดอาการณ์โรค Phobia โดยส่วนใหญ่จะเกิดอาการณ์หวาดกลัว เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ โดยที่อาจจะเกิดจากจิตใต้สานึกของผู้ป่วยเอง ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถจาแนก สิ่งที่ผู้ป่วยกลัวออกไปได้เป็นหลายพันอย่างเลย แต่ผู้ป่วยจะมีอาการกลัวอย่างในอย่างหนึ่ง เช่น กลัว แมวอย่างเดียว กลัวเฉพาะหมาสัตว์อื่นไม่กลัวเป็นต้น ความกลัวแต่ละอย่างก็มีแบบแปลกๆ แปลกมาก แปลกน้อยแตกต่างกันไปแต่ก็ยังสามารถจาแนกเป็นหมวดย่อย การทดสอบอาการณ์หวาดกลัวส่วนใหญ่ ก็จะเป็นสิ่งที่เรากลัว โดยไม่ได้เอาสิ่งที่จริงมาทดสอบจาลองมา เช่น รูปภาพ วัสดุอุปกรณ์ ต่างๆที่สามารถสร้างสถานการณ์ได้ งบประมาณ ไม่ได้ใช้งบประมาณ
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) มีความรู้ความเข้าใจในโรค Phobia รวมถึงการป้องกันควมรุนแรงของโรคเป็นอย่างดี รวมถึงการบาบัด เพื่อให้ควมกลัวนั้นค่อยๆ จางไปและทาความเข้าใจในสิ่งที่กลัวได้ เผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัวได้เป็นอย่างดี สถานที่ดาเนินการ โรงพยาบาลจิตวิทยา เพื่อไม่ให้เกิดอาการณ์ที่รุนแรงขึ้นต้องอยู่ใกล้นักจิตวิทยาเพื่อกันไว้อาจเกิดความ เสียหาทางจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรมด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. วิทยาศาสตร์ 2. สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง http://www.wikihow.com/Tell-if-Your-Fear-Is-a-Phobia https://www.youtube.com/watch?v=bycx9bAZwM0 และขอบคุณ สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย