SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเงินทุน
ในบทนี้จะกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนในกรณีที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนรวมทั้งในกรณีที่มีการขยายกิจการโดยการเปลี่ยน
ประเภทของธุรกิจจากกิจการห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจากัดดังนี้
1. การรับหุ้นส่วนใหม่
2. การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน
3. การตายของผู้เป็นหุ้นส่วน
4. การแปรงสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท
การรับหุ้นส่วนใหม่
สาเหตุของการรับหุ้นส่วนใหม่ เช่น
• ห้างหุ้นส่วนต้องการเงินทุนเพิ่ม เพื่อขยายกิจการ
• ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมบางรายต้องการขายสิทธิส่วนได้เสียของตน
• ห้างหุ้นส่วนต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ให้เข้ามาร่วมดาเนินงานของห้างหุ้นส่วน
• ห้างหุ้นส่วนต้องการชื่อเสียงของผู้ที่จะเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่
วิธีการรับหุ้นส่วนใหม่ เนื่องจากคุณสมบัติของผู้เป็นหุ้นส่วนถือเป็นสาระสาคัญในการ
ดาเนินงานและการสิ้นสุดของห้างหุ้นส่วน ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับผู้เป็นหุ้นส่วนใน
กรณีต่างๆ ซึ่งในทางปฏิบัติเมื่อมีการรับหุ้นส่วนใหม่กิจการยังคงสามารถดาเนินธุรกิจตามปกติ
ไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดการหยุดชะงัก เพียงแต่จะต้องดาเนินการให้ถูกต้องตามขั้นตอนที่
กฎหมายกาหนดและเป็นไปตามข้อตกลงในการรับหุ้นส่วนใหม่ โดยมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้
1. การรับหุ้นส่วนใหม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน กฎหมายกาหนดให้การ
รับหุ้นส่วนใหม่ต้องได้รับความยินยอมจากหุ้นส่วนเดิมทุกคน เว้นแต่จะต้องลงกันไว้เป็นอย่าง
อื่น นอกจากนั้นการรับหุ้นส่วนใหม่อาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสิทธิส่วนได้เสีย
และอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนอีกด้วย
2. การจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนและผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้
กาหนดให้ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต้องระบุเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนให้
ชัดเจน ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเงินทุนและตัวผู้เป็นหุ้นส่วนในกรณีการรับหุ้นส่วน
ใหม่จึงต้องไปแจ้งขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการที่จดทะเบียนไว้ครั้งก่อนที่กระทรวง
พาณิชย์
3. การทาสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนใหม่ เมื่อมีการรับหุ้นส่วนใหม่ผู้เป็นหุ้นส่วนควรทาสัญญาจัดตั้ง
ห้างหุ้นส่วนใหม่ให้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยทาความตกลงกันใหม่เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่สาคัญ
รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางบัญชีดังนี้
3.1 การปรับปรุงเงินทุนสุทธิของห้างหุ้นส่วน
3.2 กาหนดสิทธิส่วนได้เสียและอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน
3.3 สมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วน
4. กาหนดวิธีการลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่ เมื่อมีการตกลงรับบุคคลภายนอกเข้ามาลงทุนเพิ่มใน
ห้างหุ้นส่วนใหม่ การลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่จึงทาได้2 วิธีโดย
4.1 หุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนเดิม
4.2 หุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน
หุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนเดิม ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่อาจซื้อสิทธิส่วนได้เสียทั้งหมด
หรือบางส่วนจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนใดคนหนึ่ง หรือซื้อบางส่วนจากทุกคนก็ได้โดยจ่ายเงิน
ให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมที่ขายสิทธิโดยตรง การบันทักบัญชีจึงแบ่งเป็น3 กรณี คือ
1. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยไม่ปรับปรุงบัญชี
2. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยปรับปรุงสินทรัพย์
3. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยบันทึกค่าความนิยม
1. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยไม่ปรับปรุงบัญชี กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็น
หุ้นส่วนเดิมโดยไม่มีข้อตกลงให้ปรับปรุงบัญชีใหม่ รายการบัญชีเพียงแต่บันทึกการโอนทุนของ
ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมที่ขายสิทธิไปเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ด้วยราคาตามบัญชีตามส่วนที่
ตกลงซื้อขายกัน ผลต่างที่เกิดขึ้นจึงไม่ต้องบันทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วนดังนี้
เดบิต ทุน – หุ้นส่วนเดิมผู้ขายสิทธิ xx
เครดิต ทุน – หุ้นส่วนใหม่ xx
ตัวอย่างที่ 1 : กิ๊กและเก๋เป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนและอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนดังนี้
บัญชีทุน อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน
กิ๊ก 40 %
เก๋ 300,000 60 %
รวม 500,000 100%
วันที่ 1 มีนาคม 25x1กิ๊กและเก๋ตกลงรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่ว200,000นใหม่ โดยโก้ซื้อสิทธิส่วน
ได้เสียของเก๋ 50% ในราคา 160,000บาท และตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างกิ๊ก เก๋ และ
โก้เป็น 40% : 30% : 30% ตามลาดับ การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มี.ค. 1 ทุน - เก๋ 150,000
ทุน - โก้ 150,000
บันทึกโอนทุนเก๋ไปให้โก้ด้วยราคาตาม
บัญชี ( 300,000 x 50% ) = 150,000
บาท
หลังจากรับโก้เข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่แล้ว เงินทุนของห้างหุ้นส่วนยังคงมีจานวน 500,000บาท
เท่าเดิม แต่เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนและอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนจะเปลี่ยนแปลงดั้งนี้
บัญชีทุน อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน
กิ๊ก 200,000 40%
เก๋ 150,000 30%
โก้ 150,000 30%
รวม 500,000 100%
ผลต่างที่โก้จ่ายมากกว่าทุนที่ได้รับ ( 160,000– 150,000) = 10,000บาท ถือเป็นเรื่องส่วนตัว
ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ต้องบันทึกไว้ในบัญชี และไม่ว่าโก้จะซื้อสิทธิในราคาเท่าใด เช่น ซื้อใน
ราคา 130,000บาท หรือ 150,000บาท รายการทางบัญชีจะไม่แตกต่างไปจากตัวอย่างข้างต้น
ตัวอย่างที่ 2 : จากตัวอย่างที่ 1 สมมุติให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนละ 50% โดย
จ่ายเงินเท่ากับราคาตามบัญชี 250,000บาท และตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างกิ๊ก เก๋
และโก้ เป็น 20%:30%:50%ตามลาดับ การบันทึกรายการรับหุ้นส่วนใหม่จะเป็นดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มี.ค. 1 ทุน – กิ๊ก (200,000 x 50%) 100,000
ทุน - เก๋ (300,000x 50%) 150,000
ทุน - โก้ 250,000
บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชี
ทุนโก้
เงินทุนและอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนหลังจากรับโก้เข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่แล้ว จะเป็นดังนี้
บัญชีทุน อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน
กิ๊ก 100,000 20%
เก๋ 150,000 30%
โก้ 250,000 50%
รวม 500,000 100%
ตัวอย่างที่ 3 : จากตัวอย่างที่ 2 สมมุติให้โก้จ่ายเงินจานวน 300,000บาท ในกรณีที่ไม่มีข้อตกลงให้
ปรับปรุงบัญชี การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปและบัญชีทุน รวมทั้งอัตราส่วนแบ่งผลกาไร
ขาดทุนหลังจากรับโก้เข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่จะเหมือนกับกรณีที่ 2 ยกเว้นจานวนเงินที่ผู้เป็นหุ้นส่วน
เดิมจะได้รับจากการขายสิทธิส่วนได้เสียจะเปลี่ยนไปดังนี้
ส่วนต่างที่โก้จ่ายเงินมากกว่าทุนที่ได้รับ (300,000– 250,000) = 50,000 บาท ถือเป็นเรื่องส่วนตัว
ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน ซึ่งกิ๊กและเก๋จะนาไปแบ่งกันตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมดังนี้
กิ๊ก เก๋ รวม
เงินทุนที่โอนให้โก้ 100,000 150,000 250,000
บวกโก้จ่ายเงินเกินทุนที่ได้รับ 50,000บาทแบ่ง 40%:60% 20,000 30,000 50,000
จานวนเงินทั้งสิ้นที่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมได้รับจากการขายสิทธิ 120,000 180,000 300,000
ในทางตรงกันข้ามถ้าโก้จ่ายเงินซื้อสิทธิต่ากว่า 250,000 บาท รายการทางบัญชีจะไม่แตกต่างไป
จากเดิม เพียงแต่จานวนเงินที่กิ๊กและเก๋จะนาไปแบ่งกันจะน้อยลงไปตามส่วน
2. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยปรับปรุงสินทรัพย์ ในกรณีสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนแสดงราคา
ไม่ตรงตามราคาตลาด และผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่จ่ายเงินซื้อสิทธิในจานวนที่สูงหรือต่ากว่าราคาตาม
บัญชีโดยมีการตกลงให้ปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนผลต่างจากการ
ปรับปรุงดังกล่าวให้โอนเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิม
หลังจกนั้นจึงบันทึกการโอนทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมเข้าไปบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตาม
จานวนเงินที่จ่ายซื้อสิทธิ ซึ่งจะเท่ากับราคาตามบัญชีหลังจากปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิแล้ว
ตัวอย่างที่ 4 : จากตัวอย่างที่ 2 สมมุติผู้เป็นหุ้นส่วนเห็นว่าราคาที่ดินยังไม่ถูกต้องจึงตกลงให้มีการ
ปรับปรุงราคาที่ดินใหม่ให้ตรงตามราคาตลาดในขณะนั้น และกาหนดให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสีย
จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 50% ของเงินทุนทั้งสิ้นหลังปรับปรุงในราคาตามบัญชี 240,000บาท
ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุงสามารถคานวณได้จากจานวนเงินที่โก้จ่ายซื้อสิทธิดังนี้
บาท
โก้ซื้อสิทธิจานวน 50% ของเงินทุนหลังปรับปรุงของห้างหุ้นส่วนโดยจ่ายเงิน 240,000
เงินทุนหลังปรับปรุงของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (100%= 240,000x100/50) 480,000
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่เดิม (200,000+ 300,000) 500,000
ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินลดลง (20,000)
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มี.ค. 1 ทุน-กิ๊ก (20,000x40%) 8,000
ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000
ที่ดิน 20,000
ปรับปรุงราคาที่ดินลดบัญชีทุนกิ๊กและเก๋
1 ทุน-กิ๊ก (200,000-8,000)x50% 96,000
ทุน-เก๋ (300,000-12,000)x50% 144,000
ทุน-โก้ 240,000
บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้
กิ๊ก เก๋ โก้ รวม
เงินทุนก่อนรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000
หักปรับปรุงที่ดินลดลงแบ่งให้กิ๊กและเก๋40%:60% (8,000) (12,000) - (20,000)
เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 192,000 288,000 - 480,000
โอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชีทุนโก้50% (96,000) (144,000) 240,000 -
เงินทุนหลังรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 96,000 144,000 240,000 480,000
ตัวอย่างที่ 5 : จากตัวอย่างที่ 4 สมมุติให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 50% ของ
เงินทุนทั้งสิ้นหลังปรับปรุง ในราคาตามบัญชี 260,000บาท ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุงคานวณ
ดังนี้
บาท
โก้ซื้อสิทธิจานวน 50% ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนโดยจ่ายเงิน 260,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (100%=260,000x100/50) 520,000
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่เดิม (200,000 + 300,000) 500,000
ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 20,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มี.ค.1 ที่ดิน 20,000
ทุน-กิ๊ก(20,000x40%) 8,000
ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000
ปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มบัญชีทุนกิ๊กและเก๋
1 ทุน-กิ๊ก(20,000+8,000)x50% 104,000
ทุน-เก๋ (20,000+12,000)x50% 156,000
ทุน - โก้ 260,000
บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้
กิ๊ก เก๋ โก้ รวม
เงินทุนก่อนรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000
บวก ปรับปรุงที่ดินเพิ่มแบ่งให้กิ๊กและเก๋ 40%:60% 8,000 12,000 - 20,000
เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 208,000 312,000 - 520,000
โอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชีทุนโก้50% (104,000) (156,000) 260,000 -
เงินทุนลังรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 104,000 156,000 260,000 520,000
3. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยบันทึกค่าความนิยม กรณีที่สินทรัพย์สุทธิแสดงยอดถูกต้องแล้ว
และห้างหุ้นส่วนได้ดาเนินงานมานานจนประสบความสาเร็จมีลูกค้าจานวนมาก ผู้เป็นหุ้นส่วน
ใหม่เห็นว่าควรจ่ายเงินซื้อสิทธิราคาสูงกว่าราคาตามบัญชี อันเป็นการยอมรับความสาเร็จข้างต้น
ของห้างหุ้นส่วน
ตัวอย่างที่ 6 : จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติราคาที่ดินถูกต้องแล้ว แต่ต้องการตอบแทนชื่อเสียงของห้าง
หุ้นส่วนจึงตกลงให้บันทึกค่าความนิยมขึ้นบัญชีไว้กรณีนี้จะแตกต่างจากตัวอย่างที่ 5 เฉพาะ
รายการในสมุดรายวันทั่วไป โดยเปลี่ยนบัญชีที่ดินเป็นการบันทึกค่าความนิยมดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
มี.ค.1 ค่าความนิยม 20,000
ทุน-กิ๊ก (20,000x40%) 8,000
ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000
บันทึกค่าความนิยมเข้าบัญชีทุนกิ๊กและเก๋
1 ทุน-กิ๊ก (20,000+8,000)x50% 104,000
ทุน-เก๋ (20,000+12,000)x50% 156,000
ทุน – โก้ 260,000
บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
ห้างหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน การรับหุ้นส่วนใหม่ตามวิธีนี้จะมีผล
ทาให้สินทรัพย์และเงินทุนขิงกิจการเพิ่มขึ้นจากเงินทุนที่หุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน ซึ่งโดยหลักการ
แล้วจาเป็นต้องปรับปรุงเงินทุนสุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนการรับหุ้นส่วนใหม่ โดยบันทึก
หนี้สินให้ครบถ้วน และสินทรัพย์ควรตีราคาใหม่ให้เท่ากับตลาด ส่วนต่างที่เกิดขึ้นอาจบันทึกบัญชี
ไว้เป็นรายการปรับปรุงสินทรัพย์ค่าความนิยม หรือโบนัส ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กาหนดซึ่งสรุปได้
ดังนี้
1. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยไม่ปรับปรุงบัญชี ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้อง
ครบถ้วนแล้ว และหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนโดยไม่กาหนดเงื่อนไขพิเศษใดๆให้บันทึก
รายการตามปกติ โดยเครดิตบัญชีทุนหุ้นส่วนใหม่เท่ากับจานวนสินทรัพย์ที่นามาลงทุน
ตัวอย่างที่ 7 : เดือนและดวงเป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนคนละ 200,000และ 300,000บาท และแบ่งผลกาไร
ขาดทุนในอัตรา 2:3 ตามลาดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 25x1 เดือนและดวงตกลงรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน
ใหม่ โดยเด่นนาเงินสดมาลงทุน 240,000บาท ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างเดือน ดวง และเด่น
เป็น 4 : 3 : 3 ตามลาดับ
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับเด่นมีจานวน (200,000+300,000+240,000)= 740,000บาท โดยเพิ่มขึ้น
เท่ากับเงินสดที่เด่นนามาลงทุน การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็นดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน
ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
เม.ย. 1 เงินสด 240,000
ทุน - เด่น 240,000
บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
2. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยปรับปรุงสินทรัพย์ ในกรณีสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนแสดงราคาไม่
ตรงตามราคาตลาด ต้องปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องและโอนผลต่างเข้า
บัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมก่อน หลังจากนั้นจึงบันทึกการ
ลงทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตามปกติ โดยเครดิตบัญชีทุนหุ้นส่วนใหม่เท่ากับจานวนสินทรัพย์ที่
นามาลงทุน
ตัวอย่างที่ 8 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติผู้เป็นหุ้นส่วนเห็นว่าราคาที่ดินตามบัญชีที่ยังไม่ถูกต้องจึง
ตกลงปรับปรุงราคาที่ดินใหม่ให้เท่ากับราคาตลาดในขณะนั้น ซึ่งเงินลงทุนของเด่นจานวน
240,000บาท จะทาให้เด่นมีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3ของเงินลงทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังการ
ปรับปรุงราคาที่ดินแล้ว ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุง คานวณได้จากเงินลงทุนและอัตราสิทธิส่วน
ได้เสียของเด่นดังนี้
บาท
เงินลงทุนของเด่นคิดเป็น1/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 240,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังปรับปรุงที่ดิน = 240,000x 3/1) 720,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (ก่อนปรับปรุงที่ดิน) :
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000) 500,000
เงินลงทุนของเด่น 240,000 740,000
ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินลดลง ( 20,000 )
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
เม.ย.1 ทุน – เดือน (20,000x2/5) 8,000
ทุน – ดวง (20,000x3/5) 12,000
ที่ดิน 20,000
ปรับปรุงราคาที่ดินลดบัญชีทุน
หุ้นส่วนเดิม
1 เงินสด 240,000
ทุน – เด่น 240,000
บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้
เดือน ดวง เด่น รวม
เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000
หัก ปรับปรุงที่ดินลดลงแบ่งให้เดือนและดวง2:3 (8,000) (12,000) - (20,000)
เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 192,000 288,000 - 480,000
เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 240,000 240,000
เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 192,000 288,000 240,000 720,000
ตัวอย่างที่ 9 : จากตัวอย่างที่ 8 สมมุติให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 260,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย
1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังจากปรับปรุงราคาที่ดินให้เท่ากับราคาตลาดแล้วราคาที่ดิน
ที่ต้องปรับปรุงสามารถคานวณได้ดังนี้
บาท
เงินลงทุนของเด่นคิดเป็น1/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 260,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังปรับปรุงที่ดิน = 260,000x 3/1) 780,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่จริง ( ก่อนปรับปรุงที่ดิน ) :
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000 ) 500,000
เงินลงทุนเด่น 260,000 760,000
ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 20,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
เม.ย. 1 ที่ดิน 20,000
ทุน – เดือน(20,000x2/5) 8,000
ทุน – ดวง(20,000x3/5) 12,000
ปรับปรุงราคาที่ดินเข้าบัญชีทุนหุ้นส่วนเดิม
1 เงินสด 260,000
ทุน – เด่น 260,000
บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้
เดือน ดวง เด่น รวม
เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000
บวก ปรับปรุงที่ดินเพิ่มแบ่งให้เดือนและดวง2:3 8,000 12,000 - 20,000
เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 208,000 312,000 - 520,000
เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 260,000 260,000
เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 208,000 312,000 260,000 780,000
3. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกค่าความนิยม กรณีที่สินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนแสดงยอดถูก
ต้องแล้ว และหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วนโดยตกลงให้มีการบันทึกค่าความนิยม
ขึ้นบัญชีไว้อาจเกิดจากค้าความนิยมที่คิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมหรือคิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
ก็ได้การบันทึกค่าความนิยมจึงสรุปได้ดังนี้
3.1 ค่าความนิยมคิดให้หุ้นส่วนเดิม
- บันทึกค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิม
เดบิต ค่าความนิยม xx
เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมแต่ละคน xx
- บันทึกการลงทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตามจานวนเงินสด หรือสินทรัพย์ที่นามาลงทุน
เดบิต เงินสด / สินทรัพย์ (ระบุ) xx
เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ xx
ตัวอย่างที่ 10 : จากตัวอย่างที่ 9 สมมุติที่ดินมีราคาถูกต้องแล้ว และตกลงให้บันทึกค่าความนิยม
ขึ้นบัญชีให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 260,000บาท เพื่อมีสิทธิส่วนได้เสีย
1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังจากบันทึกค่าความนิยมแล้ว
ข้อสังเกต : ค่าความนิยมที่คิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม คานวณได้โดยใช้เงินลงทุนของหุ้นส่วน
ใหม่เป็นฐานในการคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
เม.ย. 1 ค่าความนิยม 20,000
ทุน – เดือน (20,000x2/5) 8,000
ทุน – ดวง (20,000x3/5) 12,000
บันทึกค่าความนิยมเข้าบัญชีทุนหุ้นส่วนเดิม
1 เงินสด 260,000
ทุน – เด่น 260,000
บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
3.2 ค่าความนิยมคิดให้หุ้นส่วนใหม่ การบันทึกค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
และการ นาสินทรัพย์มาลงทุนของหุ้นส่วนใหม่อาจบันทึกรวมรายการดังนี้
เดบิต เงินสด / สินทรัพย์(ระบุ) xx
ค่าความนิยม xx
เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ xx
ตัวอย่างที่ 11 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 240,000 บาท โดยตกลงบันทึก
ค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้น
ส่วนหลังจากรับเด่นเข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่แล้ว
ข้อสังเกต : ค่าความนิยมที่คิดให้กับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้โดยใช้เงินลงทุนของหุ้นส่วนเดิมเป็น
ฐานในการคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น ซึ่งตามตัวอย่างนี้กาหนดให้หุ้นส่วนใหม่มี
สิทธิส่วนได้เสียหรือมีเงินทุนในห้างหุ้นส่วนใหม่คิดเป็น 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นดังนั้นเงินทุนของผู้เป็น
หุ้นส่วนเดิม(1-1/3) = 2/3
ค่าความนิยมของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ สามารถคานวณได้ดังนี้
บาท
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคิดเป็น2/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 500,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น( หลังบันทึกค่าความนิยม = 500,000 x 3/2 ) 750,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง( ก่อนบันทึกค่าความนิยม ) :
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000 ) 500,000
เงินลงทุนของเด่น 240,000 740,000
ดังนั้น ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000
หรือ เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังบันทึกค่าความนิยม = 500,000x 3/2) 750,000
เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของเด่น ( 1/3 x 750,000 ) 250,000
เงินลงทุนของเด่น 240,000
ดังนั้น ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
เม.ย. 1 เงินสด 240,000
ค่าความนิยม 10,000
ทุน – เด่น 250,000
เด่นนาเงินมาลงทุน และบันทึกค่าความ
นิยมเข้าบัญชีทุนเด่น
การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้
เดือน ดวง เด่น รวม
เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000
บวก เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 240,000 240,000
บันทึกค่าความนิยมให้เด่น - - 10,000 10,000
เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 200,000 300,000 250,000 750,000
4. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกโบนัส ในกรณีผู้ที่เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รับการบัญชีทุนในจานวน
ที่มากกว่าหรือน้อยกว่าสินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นอาจเนื่องมาจากการที่ผู้เป็นหุ้นส่วนคิด
เงินทุนเพิ่มพิเศษหรือโบนัส (Bonus) ให้แก่กัน
เงินทุนเพิ่มพิเศษหรือโบนัสสามารถคานวณได้โดยการเปรียบเทียบเงินลงทุนของห้างหุ้นส่วน
ใหม่ กับทุนที่ได้รับตามสิทธิส่วนได้เสียที่กาหนด ผลต่างที่เกิดขึ้นถือเป็นโบนัสที่คิดให้ฝ่ายใดฝ่าย
หนึ่ง ดังนี้
4.1 โบนัสคิดให้หุ้นส่วนเดิม ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้องแล้วและไม่มี
ข้อตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ยอมรับการเครดิตบัญชีทุนน้อยกว่าจานวน
สินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นจะถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม
ตัวอย่างที่ 12 : ดุจและดาวเป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุกคนละ 200,000และ 300,000บาท และแบ่ง
ผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2 : 3 ตามลาดับ ต่อเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 25x1 ดุจและดาวตกลงรับดัง
เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยดังนาเงินสดมาลงทุน 280,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสียใน
ห้างหุ้นส่วน 1/3 ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างดุจ ดาว และดัง เป็น 4 : 3 : 3 ตามลาดับ
ตามตัวอย่างนี้ ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนบันทึกไว้ถูกต้องแล้ว และไม่มีข้อตกลงให้
บันทึกค่าความนิยม จะเกิดโบนัสคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยคานวณได้ดังนี้
บาท
การคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง :
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม( 200,000+ 300,000) 500,000
เงินลงทุนของดัง 280,000
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่หลังรับดังเป็นหุ้นส่วนใหม่ 780,000
การคานวณโบนัส :
เงินลงทุนของดัง 280,000
เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง( 780,000x 1/3 ) 260,000
โบนัสที่ดังคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่(ดังลงทุนมากกว่าทุนตามสิทธิ) 20,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
ก.พ. 1 เงินสด 280,000
ทุน – ดุจ(20,000x 2/5) 8,000
ทุน – ดาว(20,000 x 3/5) 12,000
ทุน - ดัง 260,000
บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน โดยคิด
โบนัสให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 20,000
บาท
4.2 โบนัสคิดให้หุ้นส่วนใหม่ ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้องแล้วและไม่มี
ข้อตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รัยการเครดิตบัญชีทุนมากกว่าจานวน
สินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
ตัวอย่างที่ 13 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินมาลงทุน 235,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย
1/3 จะเกิดโบนัสที่คิดให้หุ้นส่วนใหม่โดยคานวณได้ดังนี้
บาท
การคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง :
เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000) 500,000
เงินลงทุนของดัง 235,000
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่หลังรับดังเป็นหุ้นส่วน 735,000
การคานวณโบนัส :
เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง ( 735,000x 1/3 ) 245,000
เงินลงทุนของดัง 235,000
โบนัสที่ดังได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม (ดังลงทุนต่ากว่าทุนตามสิทธิ) 10,000
ดังได้รับทุนตามสิทธิมากกว่าเงินที่นามาลงทุน 10,000บาท ถือเป็นโบนัสที่ดังได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25x1
ก.พ. 1 เงินสด 235,000
ทุน – ดุจ (10,000 x 2/5 ) 4,000
ทุน – ดาว (10,000 x 3/5) 6,000
ทุน - ดัง 245,000
บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุนโดยได้รับโบนัส
จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 10,000บาท
5. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกค่าความนิยมและโบนัส การรับหุ้นส่วนใหม่ในกรณีนี้ ที่กาหนด
เงื่อนไขหลายประการประกอบกัน เช่นกาหนดจานวนเงินที่หุ้นส่วนใหม่ต้องนามาลงทุนและกาหนด
สิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนใหม่ รวมทั้งกาหนดจานวนเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน ในกรณีนี้อาจมี
ทั้งค่าความนิยมและโบนัสเกิดขึ้น โดยอาจเป็นการคิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมหรือหุ้นส่วนใหม่ก็ได้
ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่งสรุปได้ดังนี้
5.1 ค่าความนิยมและโบนัสคิดให้หุ้นส่วนเดิม กรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยม
ขึ้นบัญชีและให้โบนัสแก่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ยอมรับการเครดิตบัญชีทุนน้อยกว่า
จานวนสินทรัพย์ที่นามาลงทุน
ตัวอย่างที่ 14 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินมาลงทุน 280,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของ
เงินทุนในห้างหุ้นส่วนใหม่ซึ่งกาหนดให้มีจานวนทั้งสิ้น810,000บาท
กรณีนี้จะเกิดค่าความนิยมเนื่องจากเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนใหม่ที่กาหนดไว้มีจานวนสูงกว่าเงินทุน
ที่มีจริงหลังจากรับหุ้นส่วนใหม่ และจะเกิดโบนัสที่คิดให้กับหุ้นส่วนเดิมเนื่องจากเงินทุนตามสิทธิของ
หุ้นส่วนใหม่มีจานวนน้อยกว่าเงินทุนที่นามาลง ดังนั้นค่าความนิยมที่เกิดขึ้นจึงถือเป็นส่วนที่คิดให้กับ
หุ้นส่วนเดิมทั้งจานวน โดยคานวณได้ดังนี้
บาท
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 810,000
การคานวณค่าความนิยม :
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 810,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (200,000+300,000+280,000) 780,000
ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 30,000
การคานวณโบนัส :
เงินลงทุนของดัง 280,000
เงินลงทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง (810,000×1/3) 270,000
โบนัสที่ดังคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วน 10,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X1
ก.พ.1 ค่าความนิยม
ทุน-ดุจ (30,000×2/5)
ทุน-ดาว (30,000×3/5)
30,000
12,000
18,000
เงินสด
ทุน-ดุจ (10,000×2/5)
ทุน-ดาว (10,000×3/5)
ทุน-ดัง
บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน
โดยคิดโบนัสให้เป็นหุ้นส่วน
เดิม 10,000 บาท
280,000
4,000
6,000
270,000
5.2 ค่าความนิยมและโบนัสให้หุ้นส่วนใหม่ กรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยม
และโบนัสให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รับการเครดิตบัญชีทุนมากกว่า
สินทรัพย์ที่นามาลงทุนรวมกับค่าความนิยมที่บันทึกขึ้นเป็นบัญชี ผลต่างถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็น
หุ้นส่วนใหม่ได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม
ตัวอย่างที่ 15 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินสดมาลงทุน 210,000 บาทเพื่อให้มีสิทธิส่วน
ได้เสีย 1/3 โดยกาหนดให้เงินลงทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนมีจานวน 720,000บาท
ค่าความนิยมและโบนัสคานวณได้ดังนี้
บาท
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 720,000
การคานวณค่าความนิยม :
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 720,000
เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (200,000+3000,000+210,000) 710,000
ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000
การคานวณโบนัส :
เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง (72,000×1/3) 240,000
เงินทุนของดัง 210,000
บวก ค่าความนิยม 10,000 220,000
โบนัสที่ได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 20,000
กรณีนี้ดังนาเงินมาลงทุนเพียง 210,000 บาท แต่ไดรับการเครดิตจากบัญชีทุน 240,000
บาท ซึ่งมากกว่าเงินที่นามาลงทุน 30,000 บาท โดยส่วนแรกได้จากค่าความนิยม 10,000บาท
ส่วนที่เหลือ 20,000 บาท ถือเป็นโบนัสที่ได้รับจากหุ้นส่วนเดิม การบันทึกรายการในสมุด
รายวันทั่วไปจะเป็นดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X1
ก.พ.1 เงินสด
ค่าความนิยม
ทุน-ดุจ (20,000×2/5)
ทุน-ดาว (20,000×3/5)
ทุน-ดัง
บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน
พร้อมทั้งบันทึกค่าความนิยม
และโอนบัญชีทุนหุ้นส่วน
เดิมเป็นโบนัสให้แก่ดัง
210,000
10,000
8,000
12,000
240,000
การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน
การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วนจะทาได้เมื่อสิ้นงวดบัญชีจะลาออกระหว่างหวดไม่ได้ โดยต้อง
บอกกล่าวความจานงจะเลิกห้างหุ้นส่วนล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือน การบอกเลิกของผู้เป็น
หุ้นส่วนจะมีผลทาให้ห้างหุ้นส่วนนั้นเลิกไป เว้นแต่สัญญาห้างระบุไว้เป็นอย่างอื่นก็สามารถ
ดาเนินงานต่อไปได้โดยต้องทาสัญญากันใหม่และดาเนินการต่างๆ ในลักษณะเดียวกับการรับ
หุ้นส่วนใหม่ ในกรณีผู้เป็นหุ้นส่วนที่ยังอยู่รับซื้อหุ้นของผู้ที่ออกไปสัญญาเดิมนั้นก็ยังคงใช้ได้
ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนที่ยังอยู่ด้วยกัน สาหรับหุ้นส่วนที่ลาออกจะได้รับการคืนทุนตามสิทธิส่วน
ได้เสียของตนหลังจากที่มีการปรับปรุงสินทรัพย์หนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องแล้ว เว้นแต่
การลาออกนั้นเป็นการผิดสัญญาและก่อความเสียหายต่อห้างหุ้นส่วน โดยการจ่ายชาระคืนทุน
ให้หุ้นส่วนที่ลาออกทาได้ 2 วิธีคือ
1. หุ้นส่วนที่เหลือรับซื้อสิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนที่ลาออก
กรณีนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนที่ซื้อสิทธิจะจ่ายคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออกโดยตรง การบันทึกบัญชีจะ
โอนหุ้นส่วนที่ลาออกไปเข้าบัญชีทุนหุ้นที่ซื้อสิทธิด้วยราคาตามบัญชี โดยไม่คานึงถึงจานวน
เงินที่จ่ายคืน
ตัวอย่างที่ 16 : ดอม เดียร์และดิว เป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนคนละ 200,000 บาท แบ่งผล
กาไร ขาดทุนเท่ากัน ดิวลาออกวันที่ 1 มกราคม 25x3 หุ้นส่วนที่เหลือตกลงรับซื้อสิทธิส้วนได้
เสียของดิวคนละครึ่งโดนจ่ายเงินให้ดิวคนละ 120,000 รายการในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็น
ดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว
ทุน-ดอม (200,000×1/2)
ทุน-เดียร์ (200,000×1/2)
บันทึกโอนทุนดิวเข้าบัญชี
ทุนแดนและเดียร์
200,000
100,000
100,000
2.1 วิธีค่าความนิยม ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนมีการดาเนินงานดี มีชื่อเสีย และมีมูลค่าของธุรกิจ
สูงขึ้น ถือว่ามีธุรกิจมีค่าความนิยมแต่ไม่ได้บันทึกบันชีไว้ เมื่อมีหุ้นส่วนลาออกโดยห้างหุ้นส่วน
จ่ายคืนทุนสูงกว่าเงินทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่ลาออก อาจมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยมขึ้น
บันชีไว้ โดยบันทึกเฉพาะส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลาออก หรือบันทึกเต็มจานวนให้ผู้เป็น
หุ้นส่วนทุกคนก็ได้แล้วแต่จะตกลงกัน
ตังอย่างที่ 18 : จากตัวอย่างที่ 16 เงินทุนคงเหลือของดิว 200,000บาท สมมุติห้างหุ้นส่วน
จ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 210,000 บาท โดยตกลงให้บันทึกค่าความนิยมเฉพาะส่วนของดิว
(210,000 - 200,000)= 10,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ค่าความนิยม 10,000
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว
บันทึกค่าความนิยมให้หุ้นส่วน
ที่ลาออก
10,000
1 ทุน-ดิว
เงินสด
บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสด
คืนทุนให้ดิว
210,000
210,000
สมุดรายวันทั่วไป
2. ห้างหุ้นส่วนจ่ายชาระคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออก
การจ่ายคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออกในกรณีนี้จะมีผลทาให้สินทรัพย์และเงินทุนของกิจการ
ลดลงตามจานวนสิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้ส่วนที่ลาออก และเพื่อความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
ควรมีการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนที่จะคืนทุนให้หุ้นส่วน
ที่ลาออกตามกรณีต่างๆดังนี้
1. ) การจ่ายคืนทุนเท่ากับทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่ลาออก
ตัวอย่างที่ 17 : จากตัวอย่างที่ 16 สมมุติให้หุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนให้ดิวเท่ากับเงินทุนคงเหลือ
ตามบัญชี 200,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่งไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว 200,000
ตัวอย่างที่19 : จากตัวอย่างที่18 สมมุติตกลงให้บันทึกค่าความนิยมเต็มจานวนค่าความนิยม
เฉพาะส่วนของดิวมีจานวน 10,000บาท และมีอัตราส่วนแบ่งผงกาไรขาดทุนเท่ากัน ดังนั้นค่า
ความนิยมของห้างหุ้นส่วนทั้งสิน (10,000×3/1)= 30,000 บาท บันทึกรายการดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ค่าความนิยม
ทุน-ดอม (300,000×1/3)
ทุน-เดียร์ (300,000×1/3)
ทุน-ดิว (300,000×1/3)
บันทึกค่าความนิยมทั้งสินของ
ห้างหุ้นส่วน
30,000
10,000
10,000
10,000
2.2 วิธีโบนัส ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุนมากหรือน้อยกว่างินทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่
ลาออกโดนถือเป็นโบนัสระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน ผลต่างที่เกิดขึ้นจะบันทึกเข้าบันชีทุนหุ้นส่วนที่
เหลืออยู่ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมหลังจากหักส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลาออกแล้วดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว
เงินสด
บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสด
คืนทุนให้ดิว
210,000
210,000
ตัวอย่างที่ 20 : จากตัวอย่างที่16 สมมุติห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 190,000บาท โดย
ผลต่างที่จ่ายต่ากว่าทุนคงเหลือของดิว ถือเป็นโบนัสที่โอนไปเพิ่มบัญชีทุนให้ดอมและเดียร์ดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว
เงินสด
ทุน-ดอม (10,000×1/2)
ทุน-เดียร์ (10,000×1/2)
บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุน
ให้ดิวโดยคิดโบนัสให้หุ้นส่วน
เดิม 10,000บาท
200,000
190,000
5,000
5,000
ตัวอย่างที่ 21 : จากตัวอย่างที่ 20 สมมุติห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 210,000บาท โดย
ผลต่างที่จ่ายเกินทุนคงเหลือของดิวถือเป็นโบนัสให้ดิว จะบันทึกลดบัญชีทุนให้ดอมและเดียร์
ดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-ดิว
ทุน-ดอม (10,000×1/2)
ทุน-เดียร์ (10,000×1/2)
เงินสด
บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุน
ให้ดิวโดยคิดโบนัสให้ดิว 10,000
บาท
200,000
5,000
5,000
210,000
การตายของผู้เป็นหุ้นส่วน
เมื่อหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดคนใดตาย ทายาทย่อมเข้าเป็นหุ้นส่วนแทนได้ แต่ถ้า
หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดคนใดตายห้างหุ้นส่วนนั้นก็ต้องเลิกไป เว้นแต่สัญญาจัดตั้งห้าง
หุ้นส่วนจะระบุไว้เป็นอย่างอื่นห้างหุ้นส่วนนั้นก็ไม่ต้องเลิกกิจการ
การคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนที่ตาย มีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้
1. ปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วน ณ วันที่หุ้นส่วนตาย โดยปรับปรุงสินทรัพย์
ให้ตรงตามราคาตลาดในขณะนั้น และบันทึกหนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ครบถ้วน ผลต่างจาก
การปรับปรุงดังกล่าวให้โอนเข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน
2. คานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนให้หุ้นส่วนที่ตาย โดยคานวณผลการดาเนินงานในงวด
ปัจจุบันตามระยะเวลาที่ผู้ตายมีสิทธิร่วมรับ ซึ่งสามารถคานวณได้หลายวิธีแล้วแต่จะตกลงกัน
3. จ่ายคืนทุนให้แก่ทายาทผู้ตาย โดยจ่ายตามจานวนเงินทุนคงเหลือหลังจากปรับปรุงสิมทรัพย์
และหนี้สิน รวมทั้งแบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้ตายเรียบร้อยแล้ว ในกรณีที่ไม่สามารถจ่ายคืน
ทุนให้กับทายาทผู้ตายได้ทันที ให้โอนเงินทุนคงเหลือของผู้ตายตั้งเป็นหนี้สิน (เจ้าหนี้) ของ
กิจการไว้เนื่องจากผู้ตายหมดสภาพการเป็นหุ้นส่วนในกิจการแล้ว
การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของหุ้นส่วนที่ตาย มี 2 วิธีคือ
1. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของผู้ตาย โดยประมาณกาไรขาดทุน ณ วันที่ตาย วิธีนี้
จะแบ่งให้ผู้ตายตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดจนถึงวันที่หุ้นส่วนตาย
ตัวอย่างที่ 21 : เด๋อ ดู๋ และดี๋ เป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2:2:1ตามลาดับ
ตกลงกันว่าถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายไป ให้แบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้ตายนับจากวัน
ต้นงวดไปจนถึงวันที่ตาย โยประมาณจากผลกาไรขาดทุนย้อนหลัง 3 ปีมีดังนี้
ดี๋ตายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 25x4 ซึ่งหลังจากการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินต่างๆของห้าง
หุ้นส่วนแล้ว ดี๋มีเงินทุนคงเหลือ 100,000 บาท สาหรับผลกาไรย้อนหลัง 3 ปี มีดังนี้
ปี 25x1 กาไรสุทธิ 104,000 บาท
ปี 25x2 กาไรสุทธิ 105,000 บาท
ปี 25x3 กาไรสุทธิ 110,000 บาท
รวม 319,000 บาท
ต่อมาเมื่อถึงวันสิ้นงวด 31 ธันวาคม 25x4 ปรากฏผลกาไรสุทธิประจาปี 106,000 บาท
การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของดี๋โดยประมาณจากกาไรย้อนหลัง 3 ปี
กาไรถั่วเฉลี่ยต่อปี = 319,500×1/3 = 106,500 บาท
กาไรถั่วเฉลี่ย 10 เดือน (1ม.ค.-1พ.ย.) = 106,500× 10/12 = 88,750 บาท
ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋ = 88,750× 1/5 = 17,750 บาท
การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของหุ้นส่วนที่เหลือ :
กาไรสุทธิประจาปีหลังจากหักส่วนแบ่งของดี๋ = 106,000-17,750= 88,250 บาท
เด๋อและดู๋แบ่งผลกาไรขาดทุนเท่ากัน (2:2) = 88,250× 2/4 = 4 4,125 บาท
การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
พ.ย.1 ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋ 17,750
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
พ.ย.1 กระแสทุน-ดี๋
บันทึกส่วนแบ่งกาไรโดยประ-
มาณให้ดี๋
17,750
1 กระแสทุน-ดี๋
ทุน-ดี๋
ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า
บัญชีทุนดี๋
17,750
17,750
1 ทุน-ดี๋ (100,000+17,750)
เจ้าหนี้-กองมรดกดี๋
117,750
117,750
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
พ.ย.1 โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น
หนี้สิน
ธ.ค.31 กาไรขาดทุน
ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋
โอนปิดบัญชีส่วนแบ่งกาไรโดย-
ประมาณของดี๋เข้าบัญชีกาไร
ขาดทุน
17,750
17,750
31 กาไรขาดทุน
กระแสทุน-เด๋อ
กระแสทุน-ดู๋
บันทึกส่วนแบ่งผลกาไรที่เหลือ
ให้เด๋อและดู๋
88,250
44,125
44,125
2. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของผู้ตาย จากผลกาไรขาดทุนประจาปี ณ วันสิ้นงวด
สามารถคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายได้ 2 วิธี ดังนี้
2.1) การแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายเต็มปี กรณีนี้ถือเสมือนหนึ่งว่าเงินทุนของผู้ตายใช้ได้ในการ
ดาเนินงานของห้างหุ้นส่วนตลอดทั้งปี ผู้ตายจึงควรมีส่วนร่วมรับผลกาไรขาดทุนในปีที่ตายเต็ม
ปีโดยคานวณส่วนแบ่งจากผงกาไรขาดทุนประจางวดและบันทึกรายการตามปกติ
ตัวอย่างที่ 23 : จากตัวอย่างที่22 สมมุติตกลงให้แบ่งส่วนผลกาไรขาดทุนให้หุ้นส่วนที่ตายโดย
คิดเต็มปีจากผงกาไรขาดทุนประจางวด การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
ธ.ค.31 กาไรขาดทุน
กระแสทุน-เด๋อ (106,000×2/5)
106,000
42,040
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
ธ.ค.31 กระแสทุน-ดู๋ (106,000×2/5)
กระแสทุน-ดี๋ (106,000×1/5)
บันทึกส่วนแบ่งผลกาไรให้ผู้
เป็นหุ้นส่วน
42,400
21,200
31 กระแสทุน-ดี๋
ทุน-ดี๋
ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า
บัญชีทุนดี๋
21,200
21,200
31 ทุน-ดี๋(100,000+21,000)
เจ้าหนี้-กองมรดก
โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น
หนี้สิน
121,200
121,200
2.2) การแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดถึงวันที่ตาย กรณีนี้ควร
คิดดอกเบี้ยเงินทุนให้กับผู้ตายนับจากวันที่ตายไปถึงวันสิ้นงวด เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวกิจการ
ยังไม่สามารถคืนทุนให้ทายาทผู้ตายได้ จึงควรจ่ายดอกเบี้ยให้เป็นผลตอบแทน โดยถือเป็น
ค่าใช้จ่ายของห้างหุ้นส่วนที่จะนาไปหักจากกาไรขาดทุนประจางวดได้
ตัวอย่างที่ 24 : จากตัวอย่างที่ 22 สมมุติตกลงให้แบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายโดยคิดจากผล
กาไรขาดทุนประจางวด ตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดไปจนถึงวันที่หุ้นส่วนตาย และคิด
ดอกเบี้ยเงินทุนให้ผู้ตายในอัตรา 6%โดยนับจากวันตายไปถึงวันสิ้นงวดจะคานวณดังนี้
การคานวณดอกเบี้ยเงินทุนและส่วนแบ่งผงกาไรของผู้ตาย :
ดอกเบี้ยเงินทุนของดี๋ = 100,000 × 6% × 2/12 = 1,000 บาท
กาไรสุทธิหลังจากหักดอกเบี้ยเงินทุนของดี๋ = 106,000-1,000 = 105,000 บาท
ส่วนแบ่งผลกาไรของดี๋ 10 เดือน = 105,000 ×10/12×1/5 = 17,500 บาท
การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรของผู้เป็นหุ้นส่วนที่เหลือ :
กาไรสุทธิหลังจากหักส่วนแบ่งของดี๋ = 105,000-17,500 = 87,500 บาท
เด๋อและดู๋แบ่งผลกาไรขาดทุนเท่ากัน (2:2) = 87,500×2/4 = 43,750 บาท
การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
ธ.ค.31 ดอกเบี้บจ่าย
กระแสทุน-ดี๋
บันทึกดอกเบี้ยเงินทุนที่ได้
1,000
1,000
31 กาไรขาดทุน
ดอกเบี้บจ่าย
โอนปิดดอกเบี้ยจ่ายเข้าบัญชี
กาไรขาดทุน
1,000
1,000
31 กาไรขาดทุน 105,000
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X4
ธ.ค.31 กระแสทุน-เด๋อ
กระแสทุน-ดู๋
กระแสทุน-ดี๋
บันทึกส่วนแบ่งกาไรให้ผู้เป็น
หุ้นส่วน
43,750
43,750
17,500
31 กระแสทุน-ดี๋ (1,000+17,500)
ทุน-ดี๋
ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า
บัญชีทุนดี๋
18,500
18,500
31 ทุน-ดี๋ (1,000+18,500)
เจ้าหนี้-กองมรดกดี๋
โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น
หนี้สิน
118,500
118,500
การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท
การบันทึกบัญชี บริษัทจากัดที่จัดตั้งขึ้นใหม่อาจใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของห้างหุ้นส่วนเป็น
สมุดบัญชีของบริษัทต่อไปหรืออาจเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ขึ้นมาแทนได้ แต่การบันทึกจะต่างกัน
เฉพาะรายการในวันเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัท หลังจากนั้นเมื่อเกิดรายการค้าจะบันทึกตามปกติ การ
บันทึกรายการเปิดบัญชีของบริษัทจึงสรุปได้2 กรณีคือ กรณีใช้สมุดบัญชีชุดเดิม และ กรณีใช้
สมุดบัญชีชุดใหม่
ตัวอย่างที่ 25 : ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย มียอดคงเหลือของบัญชีต่างๆ ปรากฏตามงบดุลดังนี้
ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย
งบดุล
ณ วันที่ 1 มกราคม 25x3 หน่วย : บาท
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน : หนี้สินหมุนเวียน :
เงินสด 68,700 เจ้าหนี้ 53,000
ลูกหนี้ 90,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,000
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,700 87,300 ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน :
สินค้าคงเหลือ 130,000 ทุน-แดน 198,000
สินทรัพย์หมุนเวียน : ทุน-ดนัย 149,000 347,000
เครื่องใช้สานักงาน 150,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 120,000
รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 406,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 406,000
แดนและดนัยแบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2: 1 ตามลาดับ ในวันที่ 1 มกราคม 25x3ผู้เป็หุ้น
ส่วนตกลงขยายกิจการเป็นบริษัท แดนดนัย จากัด โดนจดทะเบียนเป็นทุนหุ้นสามัญจานวน
10,000หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท และได้ออกใบหุ้นจานวน 3,500 หุ้น ให้กับผู้เป็นหุ้นส่วน
เพื่อชาระมูลค่าสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับโอนมาจากห้างหุ้นส่วน โดยตกลงปรับปรุงราคาสินทรัพย์
ใหม่ดังนี้
- ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น จานวน 1,800 บาท
- สินค้าคงเหลือตีราคาเพิ่มขึ้น จานวน 4,800 บาท
สาหรับหุ้นสามัญที่เหลือ 6,500 หุ้น นาออกจาหน่ายเป็นเงินสดในราคาตามมูลค่า
1.กรณีใช้สมุดบัญชีชุดเดิม
จากโจทย์ตัวอย่างที่ 25 กรณีที่ใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของห้างหุ้นส่วนแดนดนัยเป็นสมุดบัญชี
ของบริษัท แดนดนัย จากัด การบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็น
ดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 สินค้าคงเหลือ
ค่าเผื่อหนี้สงสัญจะสูญ
ทุน-แดน (4,800-1,800)×2/3
ทุน-ดนัย (4,800-1,800)×1/3
ปรับปรุงสินทรัพย์เข้าบัญชี
หุ้นส่วน
4,800
1,800
2,000
1,000
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 ทุน-แดน (198,000+2,000)
ทุน-ดนัย (149,000+1,000)
ทุนหุ้นสามัญ(100 ×3,500)
ออกหุ้นสามัญชาระคืนทุนผู้เป็น
หุ้นส่วน
200,000
150,000
350,000
1 เงินสด
ทุนหุ้นส่วนสามัญ(100 ×6,500)
ออกจาหน่ายหุ้นสามัญในราคา
ตามมูลค่า
650,000
650,000
หลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทแล้ว เมื่อนาข้อมูลไปจัดทางบดุลของบริษัท จะ
ปรากฏดังนี้
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
สินทรัพย์หมุนเวียน : หนี้สินหมุนเวียน :
เงินสด 718,700 เจ้าหนี้ 53,000
ลูกหนี้ 90,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,000
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 85,500 รวมหนีสินหมุนเวียน 59,000
สินค้าคงเหลือ 134,800 ส่วนของผู้เถือหุ้น :
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 939,000 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน : (หุ้นสามัญ 10,0001หุ้น
บริษัท แดนดนัย จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 1 มกราคม 25x3 หน่วย : บาท
เครื่องใช้สานักงาน 150,000 มูลค่าหุ้นละ 100 บาท)
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 120,000 ทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000
รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 1,059,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 1,059,000
2. กรณีใช้สมุดบัญชีชุดใหม่
กรณีที่บริษัทเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ขึ้นมาใช้ สมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วนซึ่งเลิกใช้จะต้องทากา
ปิดไปทั้งหมด การบันทึกบัญชีจึงแบ่งเป็น 2 ส่วนดังนี้
2.1) ด้านสมุดบัญชีชุดใหม่ของบริษัทจากัด
จากโจทย์ตัวอย่างที่ 25 รายการเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ของบริษัท แดนดนัย จากัด จะ
ปรากฏดังนี้
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 เงินสด
ลูกหนี้
สินค้าคงเหลือ
เครื่องใช่สานักงาน
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้
สานักงาน
เจ้าหนี้
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
เจ้าหนี้-ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย
รับโอนสินทรัพย์และหนี้สินของห้าง
หุ้นส่วน
68,700
90,000
134,800
150,000
4,500
30,000
53,000
6,000
350,000
สมุดรายวันทั่วไป
วัน
เดือน ปี
รายการ เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
25X3
ม.ค.1 เจ้าหนี้-ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย
ทุนหุ้นสามัญ
ออกหุ้นสามัญชาระให้ห้าหุ้นส่วน
350,000
350,000
1 เงินสด
ทุนหุ้นสามัญ(100×6,500)
ออกจาหน่ายหุ้นสามัญในราคาตาม
มูลคา
650,000
650,000
หลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทแล้ว เมื่อนาข้อมูลไปจัดทางบดุลของ
บริษัท จะปรากฏรายการเช่นเดียวกับงบดุลที่แสดงไว้ก่อนหน้านี้
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
Pa'rig Prig
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
Aor's Sometime
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
Chenchira Chaengson
 
01 ma
01 ma01 ma
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
มิชิโกะ จังโกะ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
07 ma
07 ma07 ma
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
pop Jaturong
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
Yeah Pitloke
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
มิชิโกะ จังโกะ
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
Orawonya Wbac
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
tumetr1
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 

Viewers also liked

ปก
ปกปก
ปก
Pa'rig Prig
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
Pa'rig Prig
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentPa'rig Prig
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
Pa'rig Prig
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
Pa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
Pa'rig Prig
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
บุญรักษา ของฉัน
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
Pa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
Pa'rig Prig
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
Pa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
Pa'rig Prig
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
Pa'rig Prig
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
Pa'rig Prig
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
M
MM
M
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
2
22
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

Recently uploaded

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 

Recently uploaded (7)

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 

บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)

  • 2. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเงินทุน ในบทนี้จะกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนในกรณีที่มีสาเหตุอันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนรวมทั้งในกรณีที่มีการขยายกิจการโดยการเปลี่ยน ประเภทของธุรกิจจากกิจการห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจากัดดังนี้ 1. การรับหุ้นส่วนใหม่ 2. การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน 3. การตายของผู้เป็นหุ้นส่วน 4. การแปรงสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท
  • 3. การรับหุ้นส่วนใหม่ สาเหตุของการรับหุ้นส่วนใหม่ เช่น • ห้างหุ้นส่วนต้องการเงินทุนเพิ่ม เพื่อขยายกิจการ • ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมบางรายต้องการขายสิทธิส่วนได้เสียของตน • ห้างหุ้นส่วนต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ให้เข้ามาร่วมดาเนินงานของห้างหุ้นส่วน • ห้างหุ้นส่วนต้องการชื่อเสียงของผู้ที่จะเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่
  • 4. วิธีการรับหุ้นส่วนใหม่ เนื่องจากคุณสมบัติของผู้เป็นหุ้นส่วนถือเป็นสาระสาคัญในการ ดาเนินงานและการสิ้นสุดของห้างหุ้นส่วน ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับผู้เป็นหุ้นส่วนใน กรณีต่างๆ ซึ่งในทางปฏิบัติเมื่อมีการรับหุ้นส่วนใหม่กิจการยังคงสามารถดาเนินธุรกิจตามปกติ ไปได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดการหยุดชะงัก เพียงแต่จะต้องดาเนินการให้ถูกต้องตามขั้นตอนที่ กฎหมายกาหนดและเป็นไปตามข้อตกลงในการรับหุ้นส่วนใหม่ โดยมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้
  • 5. 1. การรับหุ้นส่วนใหม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน กฎหมายกาหนดให้การ รับหุ้นส่วนใหม่ต้องได้รับความยินยอมจากหุ้นส่วนเดิมทุกคน เว้นแต่จะต้องลงกันไว้เป็นอย่าง อื่น นอกจากนั้นการรับหุ้นส่วนใหม่อาจมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสิทธิส่วนได้เสีย และอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนอีกด้วย 2. การจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนและผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้ กาหนดให้ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต้องระบุเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคนให้ ชัดเจน ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเงินทุนและตัวผู้เป็นหุ้นส่วนในกรณีการรับหุ้นส่วน ใหม่จึงต้องไปแจ้งขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการที่จดทะเบียนไว้ครั้งก่อนที่กระทรวง พาณิชย์ 3. การทาสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนใหม่ เมื่อมีการรับหุ้นส่วนใหม่ผู้เป็นหุ้นส่วนควรทาสัญญาจัดตั้ง ห้างหุ้นส่วนใหม่ให้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยทาความตกลงกันใหม่เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่สาคัญ รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางบัญชีดังนี้ 3.1 การปรับปรุงเงินทุนสุทธิของห้างหุ้นส่วน 3.2 กาหนดสิทธิส่วนได้เสียและอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน 3.3 สมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วน
  • 6. 4. กาหนดวิธีการลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่ เมื่อมีการตกลงรับบุคคลภายนอกเข้ามาลงทุนเพิ่มใน ห้างหุ้นส่วนใหม่ การลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่จึงทาได้2 วิธีโดย 4.1 หุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนเดิม 4.2 หุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน หุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนเดิม ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่อาจซื้อสิทธิส่วนได้เสียทั้งหมด หรือบางส่วนจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนใดคนหนึ่ง หรือซื้อบางส่วนจากทุกคนก็ได้โดยจ่ายเงิน ให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมที่ขายสิทธิโดยตรง การบันทักบัญชีจึงแบ่งเป็น3 กรณี คือ 1. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยไม่ปรับปรุงบัญชี 2. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยปรับปรุงสินทรัพย์ 3. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยบันทึกค่าความนิยม
  • 7. 1. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยไม่ปรับปรุงบัญชี กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็น หุ้นส่วนเดิมโดยไม่มีข้อตกลงให้ปรับปรุงบัญชีใหม่ รายการบัญชีเพียงแต่บันทึกการโอนทุนของ ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมที่ขายสิทธิไปเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ด้วยราคาตามบัญชีตามส่วนที่ ตกลงซื้อขายกัน ผลต่างที่เกิดขึ้นจึงไม่ต้องบันทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วนดังนี้ เดบิต ทุน – หุ้นส่วนเดิมผู้ขายสิทธิ xx เครดิต ทุน – หุ้นส่วนใหม่ xx ตัวอย่างที่ 1 : กิ๊กและเก๋เป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนและอัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนดังนี้ บัญชีทุน อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน กิ๊ก 40 % เก๋ 300,000 60 % รวม 500,000 100% วันที่ 1 มีนาคม 25x1กิ๊กและเก๋ตกลงรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่ว200,000นใหม่ โดยโก้ซื้อสิทธิส่วน ได้เสียของเก๋ 50% ในราคา 160,000บาท และตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างกิ๊ก เก๋ และ โก้เป็น 40% : 30% : 30% ตามลาดับ การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้
  • 8. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 มี.ค. 1 ทุน - เก๋ 150,000 ทุน - โก้ 150,000 บันทึกโอนทุนเก๋ไปให้โก้ด้วยราคาตาม บัญชี ( 300,000 x 50% ) = 150,000 บาท
  • 9. หลังจากรับโก้เข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่แล้ว เงินทุนของห้างหุ้นส่วนยังคงมีจานวน 500,000บาท เท่าเดิม แต่เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนและอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนจะเปลี่ยนแปลงดั้งนี้ บัญชีทุน อัตราส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุน กิ๊ก 200,000 40% เก๋ 150,000 30% โก้ 150,000 30% รวม 500,000 100% ผลต่างที่โก้จ่ายมากกว่าทุนที่ได้รับ ( 160,000– 150,000) = 10,000บาท ถือเป็นเรื่องส่วนตัว ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ต้องบันทึกไว้ในบัญชี และไม่ว่าโก้จะซื้อสิทธิในราคาเท่าใด เช่น ซื้อใน ราคา 130,000บาท หรือ 150,000บาท รายการทางบัญชีจะไม่แตกต่างไปจากตัวอย่างข้างต้น ตัวอย่างที่ 2 : จากตัวอย่างที่ 1 สมมุติให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนละ 50% โดย จ่ายเงินเท่ากับราคาตามบัญชี 250,000บาท และตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างกิ๊ก เก๋ และโก้ เป็น 20%:30%:50%ตามลาดับ การบันทึกรายการรับหุ้นส่วนใหม่จะเป็นดังนี้
  • 10. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 มี.ค. 1 ทุน – กิ๊ก (200,000 x 50%) 100,000 ทุน - เก๋ (300,000x 50%) 150,000 ทุน - โก้ 250,000 บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชี ทุนโก้
  • 12. ตัวอย่างที่ 3 : จากตัวอย่างที่ 2 สมมุติให้โก้จ่ายเงินจานวน 300,000บาท ในกรณีที่ไม่มีข้อตกลงให้ ปรับปรุงบัญชี การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปและบัญชีทุน รวมทั้งอัตราส่วนแบ่งผลกาไร ขาดทุนหลังจากรับโก้เข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่จะเหมือนกับกรณีที่ 2 ยกเว้นจานวนเงินที่ผู้เป็นหุ้นส่วน เดิมจะได้รับจากการขายสิทธิส่วนได้เสียจะเปลี่ยนไปดังนี้ ส่วนต่างที่โก้จ่ายเงินมากกว่าทุนที่ได้รับ (300,000– 250,000) = 50,000 บาท ถือเป็นเรื่องส่วนตัว ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน ซึ่งกิ๊กและเก๋จะนาไปแบ่งกันตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมดังนี้ กิ๊ก เก๋ รวม เงินทุนที่โอนให้โก้ 100,000 150,000 250,000 บวกโก้จ่ายเงินเกินทุนที่ได้รับ 50,000บาทแบ่ง 40%:60% 20,000 30,000 50,000 จานวนเงินทั้งสิ้นที่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมได้รับจากการขายสิทธิ 120,000 180,000 300,000 ในทางตรงกันข้ามถ้าโก้จ่ายเงินซื้อสิทธิต่ากว่า 250,000 บาท รายการทางบัญชีจะไม่แตกต่างไป จากเดิม เพียงแต่จานวนเงินที่กิ๊กและเก๋จะนาไปแบ่งกันจะน้อยลงไปตามส่วน
  • 13. 2. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยปรับปรุงสินทรัพย์ ในกรณีสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนแสดงราคา ไม่ตรงตามราคาตลาด และผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่จ่ายเงินซื้อสิทธิในจานวนที่สูงหรือต่ากว่าราคาตาม บัญชีโดยมีการตกลงให้ปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนผลต่างจากการ ปรับปรุงดังกล่าวให้โอนเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิม หลังจกนั้นจึงบันทึกการโอนทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมเข้าไปบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตาม จานวนเงินที่จ่ายซื้อสิทธิ ซึ่งจะเท่ากับราคาตามบัญชีหลังจากปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิแล้ว
  • 14. ตัวอย่างที่ 4 : จากตัวอย่างที่ 2 สมมุติผู้เป็นหุ้นส่วนเห็นว่าราคาที่ดินยังไม่ถูกต้องจึงตกลงให้มีการ ปรับปรุงราคาที่ดินใหม่ให้ตรงตามราคาตลาดในขณะนั้น และกาหนดให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสีย จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 50% ของเงินทุนทั้งสิ้นหลังปรับปรุงในราคาตามบัญชี 240,000บาท ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุงสามารถคานวณได้จากจานวนเงินที่โก้จ่ายซื้อสิทธิดังนี้ บาท โก้ซื้อสิทธิจานวน 50% ของเงินทุนหลังปรับปรุงของห้างหุ้นส่วนโดยจ่ายเงิน 240,000 เงินทุนหลังปรับปรุงของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (100%= 240,000x100/50) 480,000 เงินทุนของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่เดิม (200,000+ 300,000) 500,000 ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินลดลง (20,000)
  • 15. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 มี.ค. 1 ทุน-กิ๊ก (20,000x40%) 8,000 ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000 ที่ดิน 20,000 ปรับปรุงราคาที่ดินลดบัญชีทุนกิ๊กและเก๋ 1 ทุน-กิ๊ก (200,000-8,000)x50% 96,000 ทุน-เก๋ (300,000-12,000)x50% 144,000 ทุน-โก้ 240,000 บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
  • 16. การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้ กิ๊ก เก๋ โก้ รวม เงินทุนก่อนรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000 หักปรับปรุงที่ดินลดลงแบ่งให้กิ๊กและเก๋40%:60% (8,000) (12,000) - (20,000) เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 192,000 288,000 - 480,000 โอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชีทุนโก้50% (96,000) (144,000) 240,000 - เงินทุนหลังรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 96,000 144,000 240,000 480,000
  • 17. ตัวอย่างที่ 5 : จากตัวอย่างที่ 4 สมมุติให้โก้ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 50% ของ เงินทุนทั้งสิ้นหลังปรับปรุง ในราคาตามบัญชี 260,000บาท ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุงคานวณ ดังนี้ บาท โก้ซื้อสิทธิจานวน 50% ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนโดยจ่ายเงิน 260,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (100%=260,000x100/50) 520,000 เงินทุนของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่เดิม (200,000 + 300,000) 500,000 ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 20,000
  • 18. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 มี.ค.1 ที่ดิน 20,000 ทุน-กิ๊ก(20,000x40%) 8,000 ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000 ปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มบัญชีทุนกิ๊กและเก๋ 1 ทุน-กิ๊ก(20,000+8,000)x50% 104,000 ทุน-เก๋ (20,000+12,000)x50% 156,000 ทุน - โก้ 260,000 บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
  • 19. การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้ กิ๊ก เก๋ โก้ รวม เงินทุนก่อนรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000 บวก ปรับปรุงที่ดินเพิ่มแบ่งให้กิ๊กและเก๋ 40%:60% 8,000 12,000 - 20,000 เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 208,000 312,000 - 520,000 โอนทุนกิ๊กและเก๋ไปเข้าบัญชีทุนโก้50% (104,000) (156,000) 260,000 - เงินทุนลังรับโก้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 104,000 156,000 260,000 520,000
  • 20. 3. การซื้อสิทธิส่วนได้เสียโดยบันทึกค่าความนิยม กรณีที่สินทรัพย์สุทธิแสดงยอดถูกต้องแล้ว และห้างหุ้นส่วนได้ดาเนินงานมานานจนประสบความสาเร็จมีลูกค้าจานวนมาก ผู้เป็นหุ้นส่วน ใหม่เห็นว่าควรจ่ายเงินซื้อสิทธิราคาสูงกว่าราคาตามบัญชี อันเป็นการยอมรับความสาเร็จข้างต้น ของห้างหุ้นส่วน ตัวอย่างที่ 6 : จากตัวอย่างที่ 5 สมมุติราคาที่ดินถูกต้องแล้ว แต่ต้องการตอบแทนชื่อเสียงของห้าง หุ้นส่วนจึงตกลงให้บันทึกค่าความนิยมขึ้นบัญชีไว้กรณีนี้จะแตกต่างจากตัวอย่างที่ 5 เฉพาะ รายการในสมุดรายวันทั่วไป โดยเปลี่ยนบัญชีที่ดินเป็นการบันทึกค่าความนิยมดังนี้
  • 21. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 มี.ค.1 ค่าความนิยม 20,000 ทุน-กิ๊ก (20,000x40%) 8,000 ทุน-เก๋ (20,000x60%) 12,000 บันทึกค่าความนิยมเข้าบัญชีทุนกิ๊กและเก๋ 1 ทุน-กิ๊ก (20,000+8,000)x50% 104,000 ทุน-เก๋ (20,000+12,000)x50% 156,000 ทุน – โก้ 260,000 บันทึกโอนทุนกิ๊กและเก๋เข้าบัญชีทุนโก้
  • 22. ห้างหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน การรับหุ้นส่วนใหม่ตามวิธีนี้จะมีผล ทาให้สินทรัพย์และเงินทุนขิงกิจการเพิ่มขึ้นจากเงินทุนที่หุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน ซึ่งโดยหลักการ แล้วจาเป็นต้องปรับปรุงเงินทุนสุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนการรับหุ้นส่วนใหม่ โดยบันทึก หนี้สินให้ครบถ้วน และสินทรัพย์ควรตีราคาใหม่ให้เท่ากับตลาด ส่วนต่างที่เกิดขึ้นอาจบันทึกบัญชี ไว้เป็นรายการปรับปรุงสินทรัพย์ค่าความนิยม หรือโบนัส ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กาหนดซึ่งสรุปได้ ดังนี้ 1. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยไม่ปรับปรุงบัญชี ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว และหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนโดยไม่กาหนดเงื่อนไขพิเศษใดๆให้บันทึก รายการตามปกติ โดยเครดิตบัญชีทุนหุ้นส่วนใหม่เท่ากับจานวนสินทรัพย์ที่นามาลงทุน
  • 23. ตัวอย่างที่ 7 : เดือนและดวงเป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนคนละ 200,000และ 300,000บาท และแบ่งผลกาไร ขาดทุนในอัตรา 2:3 ตามลาดับ ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน 25x1 เดือนและดวงตกลงรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน ใหม่ โดยเด่นนาเงินสดมาลงทุน 240,000บาท ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างเดือน ดวง และเด่น เป็น 4 : 3 : 3 ตามลาดับ เงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับเด่นมีจานวน (200,000+300,000+240,000)= 740,000บาท โดยเพิ่มขึ้น เท่ากับเงินสดที่เด่นนามาลงทุน การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็นดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 เม.ย. 1 เงินสด 240,000 ทุน - เด่น 240,000 บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
  • 24. 2. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยปรับปรุงสินทรัพย์ ในกรณีสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนแสดงราคาไม่ ตรงตามราคาตลาด ต้องปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องและโอนผลต่างเข้า บัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมก่อน หลังจากนั้นจึงบันทึกการ ลงทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตามปกติ โดยเครดิตบัญชีทุนหุ้นส่วนใหม่เท่ากับจานวนสินทรัพย์ที่ นามาลงทุน
  • 25. ตัวอย่างที่ 8 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติผู้เป็นหุ้นส่วนเห็นว่าราคาที่ดินตามบัญชีที่ยังไม่ถูกต้องจึง ตกลงปรับปรุงราคาที่ดินใหม่ให้เท่ากับราคาตลาดในขณะนั้น ซึ่งเงินลงทุนของเด่นจานวน 240,000บาท จะทาให้เด่นมีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3ของเงินลงทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังการ ปรับปรุงราคาที่ดินแล้ว ราคาที่ดินที่ต้องปรับปรุง คานวณได้จากเงินลงทุนและอัตราสิทธิส่วน ได้เสียของเด่นดังนี้ บาท เงินลงทุนของเด่นคิดเป็น1/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 240,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังปรับปรุงที่ดิน = 240,000x 3/1) 720,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (ก่อนปรับปรุงที่ดิน) : เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000) 500,000 เงินลงทุนของเด่น 240,000 740,000 ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินลดลง ( 20,000 )
  • 26. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 เม.ย.1 ทุน – เดือน (20,000x2/5) 8,000 ทุน – ดวง (20,000x3/5) 12,000 ที่ดิน 20,000 ปรับปรุงราคาที่ดินลดบัญชีทุน หุ้นส่วนเดิม 1 เงินสด 240,000 ทุน – เด่น 240,000 บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
  • 27. การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้ เดือน ดวง เด่น รวม เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000 หัก ปรับปรุงที่ดินลดลงแบ่งให้เดือนและดวง2:3 (8,000) (12,000) - (20,000) เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 192,000 288,000 - 480,000 เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 240,000 240,000 เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 192,000 288,000 240,000 720,000
  • 28. ตัวอย่างที่ 9 : จากตัวอย่างที่ 8 สมมุติให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 260,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังจากปรับปรุงราคาที่ดินให้เท่ากับราคาตลาดแล้วราคาที่ดิน ที่ต้องปรับปรุงสามารถคานวณได้ดังนี้ บาท เงินลงทุนของเด่นคิดเป็น1/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 260,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังปรับปรุงที่ดิน = 260,000x 3/1) 780,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีอยู่จริง ( ก่อนปรับปรุงที่ดิน ) : เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000 ) 500,000 เงินลงทุนเด่น 260,000 760,000 ดังนั้น ต้องปรับปรุงราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 20,000
  • 29. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 เม.ย. 1 ที่ดิน 20,000 ทุน – เดือน(20,000x2/5) 8,000 ทุน – ดวง(20,000x3/5) 12,000 ปรับปรุงราคาที่ดินเข้าบัญชีทุนหุ้นส่วนเดิม 1 เงินสด 260,000 ทุน – เด่น 260,000 บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
  • 30. การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้ เดือน ดวง เด่น รวม เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000 บวก ปรับปรุงที่ดินเพิ่มแบ่งให้เดือนและดวง2:3 8,000 12,000 - 20,000 เงินทุนหลังปรับปรุงราคาที่ดิน 208,000 312,000 - 520,000 เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 260,000 260,000 เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 208,000 312,000 260,000 780,000
  • 31. 3. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกค่าความนิยม กรณีที่สินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนแสดงยอดถูก ต้องแล้ว และหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วนโดยตกลงให้มีการบันทึกค่าความนิยม ขึ้นบัญชีไว้อาจเกิดจากค้าความนิยมที่คิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมหรือคิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ ก็ได้การบันทึกค่าความนิยมจึงสรุปได้ดังนี้ 3.1 ค่าความนิยมคิดให้หุ้นส่วนเดิม - บันทึกค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิม เดบิต ค่าความนิยม xx เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมแต่ละคน xx - บันทึกการลงทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ตามจานวนเงินสด หรือสินทรัพย์ที่นามาลงทุน เดบิต เงินสด / สินทรัพย์ (ระบุ) xx เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ xx
  • 32. ตัวอย่างที่ 10 : จากตัวอย่างที่ 9 สมมุติที่ดินมีราคาถูกต้องแล้ว และตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ขึ้นบัญชีให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 260,000บาท เพื่อมีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้นส่วนหลังจากบันทึกค่าความนิยมแล้ว ข้อสังเกต : ค่าความนิยมที่คิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม คานวณได้โดยใช้เงินลงทุนของหุ้นส่วน ใหม่เป็นฐานในการคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น
  • 33. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 เม.ย. 1 ค่าความนิยม 20,000 ทุน – เดือน (20,000x2/5) 8,000 ทุน – ดวง (20,000x3/5) 12,000 บันทึกค่าความนิยมเข้าบัญชีทุนหุ้นส่วนเดิม 1 เงินสด 260,000 ทุน – เด่น 260,000 บันทึกเด่นนาเงินสดมาลงทุน
  • 34. 3.2 ค่าความนิยมคิดให้หุ้นส่วนใหม่ การบันทึกค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ และการ นาสินทรัพย์มาลงทุนของหุ้นส่วนใหม่อาจบันทึกรวมรายการดังนี้ เดบิต เงินสด / สินทรัพย์(ระบุ) xx ค่าความนิยม xx เครดิต ทุน – ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ xx ตัวอย่างที่ 11 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติให้เด่นนาเงินสดมาลงทุน 240,000 บาท โดยตกลงบันทึก ค่าความนิยมให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นในห้างหุ้น ส่วนหลังจากรับเด่นเข้าเป็นหุ้นส่วนใหม่แล้ว ข้อสังเกต : ค่าความนิยมที่คิดให้กับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้โดยใช้เงินลงทุนของหุ้นส่วนเดิมเป็น ฐานในการคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น ซึ่งตามตัวอย่างนี้กาหนดให้หุ้นส่วนใหม่มี สิทธิส่วนได้เสียหรือมีเงินทุนในห้างหุ้นส่วนใหม่คิดเป็น 1/3 ของเงินทุนทั้งสิ้นดังนั้นเงินทุนของผู้เป็น หุ้นส่วนเดิม(1-1/3) = 2/3
  • 35. ค่าความนิยมของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ สามารถคานวณได้ดังนี้ บาท เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคิดเป็น2/3 ของเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน 500,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น( หลังบันทึกค่าความนิยม = 500,000 x 3/2 ) 750,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง( ก่อนบันทึกค่าความนิยม ) : เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000 ) 500,000 เงินลงทุนของเด่น 240,000 740,000 ดังนั้น ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000 หรือ เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่ควรเป็น (หลังบันทึกค่าความนิยม = 500,000x 3/2) 750,000 เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของเด่น ( 1/3 x 750,000 ) 250,000 เงินลงทุนของเด่น 240,000 ดังนั้น ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000
  • 36. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 เม.ย. 1 เงินสด 240,000 ค่าความนิยม 10,000 ทุน – เด่น 250,000 เด่นนาเงินมาลงทุน และบันทึกค่าความ นิยมเข้าบัญชีทุนเด่น
  • 37. การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่ คานวณได้ดังนี้ เดือน ดวง เด่น รวม เงินทุนก่อนรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วน 200,000 300,000 - 500,000 บวก เด่นนาเงินสดมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน - - 240,000 240,000 บันทึกค่าความนิยมให้เด่น - - 10,000 10,000 เงินทุนหลังรับเด่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ 200,000 300,000 250,000 750,000
  • 38. 4. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกโบนัส ในกรณีผู้ที่เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รับการบัญชีทุนในจานวน ที่มากกว่าหรือน้อยกว่าสินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นอาจเนื่องมาจากการที่ผู้เป็นหุ้นส่วนคิด เงินทุนเพิ่มพิเศษหรือโบนัส (Bonus) ให้แก่กัน เงินทุนเพิ่มพิเศษหรือโบนัสสามารถคานวณได้โดยการเปรียบเทียบเงินลงทุนของห้างหุ้นส่วน ใหม่ กับทุนที่ได้รับตามสิทธิส่วนได้เสียที่กาหนด ผลต่างที่เกิดขึ้นถือเป็นโบนัสที่คิดให้ฝ่ายใดฝ่าย หนึ่ง ดังนี้ 4.1 โบนัสคิดให้หุ้นส่วนเดิม ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้องแล้วและไม่มี ข้อตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ยอมรับการเครดิตบัญชีทุนน้อยกว่าจานวน สินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นจะถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม
  • 39. ตัวอย่างที่ 12 : ดุจและดาวเป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุกคนละ 200,000และ 300,000บาท และแบ่ง ผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2 : 3 ตามลาดับ ต่อเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 25x1 ดุจและดาวตกลงรับดัง เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยดังนาเงินสดมาลงทุน 280,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสียใน ห้างหุ้นส่วน 1/3 ตกลงแบ่งผลกาไรขาดทุนใหม่ระหว่างดุจ ดาว และดัง เป็น 4 : 3 : 3 ตามลาดับ ตามตัวอย่างนี้ ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนบันทึกไว้ถูกต้องแล้ว และไม่มีข้อตกลงให้ บันทึกค่าความนิยม จะเกิดโบนัสคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยคานวณได้ดังนี้ บาท การคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง : เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม( 200,000+ 300,000) 500,000 เงินลงทุนของดัง 280,000 เงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่หลังรับดังเป็นหุ้นส่วนใหม่ 780,000 การคานวณโบนัส : เงินลงทุนของดัง 280,000 เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง( 780,000x 1/3 ) 260,000 โบนัสที่ดังคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่(ดังลงทุนมากกว่าทุนตามสิทธิ) 20,000
  • 40. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 ก.พ. 1 เงินสด 280,000 ทุน – ดุจ(20,000x 2/5) 8,000 ทุน – ดาว(20,000 x 3/5) 12,000 ทุน - ดัง 260,000 บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน โดยคิด โบนัสให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 20,000 บาท
  • 41. 4.2 โบนัสคิดให้หุ้นส่วนใหม่ ในกรณีที่สินทรัพย์สุทธิของกิจการบันทึกไว้ถูกต้องแล้วและไม่มี ข้อตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รัยการเครดิตบัญชีทุนมากกว่าจานวน สินทรัพย์ที่นามาลงทุน ผลต่างที่เกิดขึ้นถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
  • 42. ตัวอย่างที่ 13 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินมาลงทุน 235,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 จะเกิดโบนัสที่คิดให้หุ้นส่วนใหม่โดยคานวณได้ดังนี้ บาท การคานวณเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง : เงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ( 200,000+ 300,000) 500,000 เงินลงทุนของดัง 235,000 เงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่หลังรับดังเป็นหุ้นส่วน 735,000 การคานวณโบนัส : เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง ( 735,000x 1/3 ) 245,000 เงินลงทุนของดัง 235,000 โบนัสที่ดังได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม (ดังลงทุนต่ากว่าทุนตามสิทธิ) 10,000 ดังได้รับทุนตามสิทธิมากกว่าเงินที่นามาลงทุน 10,000บาท ถือเป็นโบนัสที่ดังได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม
  • 43. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25x1 ก.พ. 1 เงินสด 235,000 ทุน – ดุจ (10,000 x 2/5 ) 4,000 ทุน – ดาว (10,000 x 3/5) 6,000 ทุน - ดัง 245,000 บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุนโดยได้รับโบนัส จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 10,000บาท
  • 44. 5. หุ้นส่วนใหม่ลงทุนโดยบันทึกค่าความนิยมและโบนัส การรับหุ้นส่วนใหม่ในกรณีนี้ ที่กาหนด เงื่อนไขหลายประการประกอบกัน เช่นกาหนดจานวนเงินที่หุ้นส่วนใหม่ต้องนามาลงทุนและกาหนด สิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนใหม่ รวมทั้งกาหนดจานวนเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วน ในกรณีนี้อาจมี ทั้งค่าความนิยมและโบนัสเกิดขึ้น โดยอาจเป็นการคิดให้กับผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมหรือหุ้นส่วนใหม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 5.1 ค่าความนิยมและโบนัสคิดให้หุ้นส่วนเดิม กรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยม ขึ้นบัญชีและให้โบนัสแก่ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม โดยผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ยอมรับการเครดิตบัญชีทุนน้อยกว่า จานวนสินทรัพย์ที่นามาลงทุน ตัวอย่างที่ 14 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินมาลงทุน 280,000บาท เพื่อให้มีสิทธิส่วนได้เสีย 1/3 ของ เงินทุนในห้างหุ้นส่วนใหม่ซึ่งกาหนดให้มีจานวนทั้งสิ้น810,000บาท กรณีนี้จะเกิดค่าความนิยมเนื่องจากเงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนใหม่ที่กาหนดไว้มีจานวนสูงกว่าเงินทุน ที่มีจริงหลังจากรับหุ้นส่วนใหม่ และจะเกิดโบนัสที่คิดให้กับหุ้นส่วนเดิมเนื่องจากเงินทุนตามสิทธิของ หุ้นส่วนใหม่มีจานวนน้อยกว่าเงินทุนที่นามาลง ดังนั้นค่าความนิยมที่เกิดขึ้นจึงถือเป็นส่วนที่คิดให้กับ หุ้นส่วนเดิมทั้งจานวน โดยคานวณได้ดังนี้
  • 45. บาท เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 810,000 การคานวณค่าความนิยม : เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 810,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (200,000+300,000+280,000) 780,000 ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 30,000 การคานวณโบนัส : เงินลงทุนของดัง 280,000 เงินลงทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง (810,000×1/3) 270,000 โบนัสที่ดังคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วน 10,000
  • 46. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X1 ก.พ.1 ค่าความนิยม ทุน-ดุจ (30,000×2/5) ทุน-ดาว (30,000×3/5) 30,000 12,000 18,000 เงินสด ทุน-ดุจ (10,000×2/5) ทุน-ดาว (10,000×3/5) ทุน-ดัง บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน โดยคิดโบนัสให้เป็นหุ้นส่วน เดิม 10,000 บาท 280,000 4,000 6,000 270,000
  • 47. 5.2 ค่าความนิยมและโบนัสให้หุ้นส่วนใหม่ กรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยม และโบนัสให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รับการเครดิตบัญชีทุนมากกว่า สินทรัพย์ที่นามาลงทุนรวมกับค่าความนิยมที่บันทึกขึ้นเป็นบัญชี ผลต่างถือเป็นโบนัสที่ผู้เป็น หุ้นส่วนใหม่ได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม ตัวอย่างที่ 15 : จากตัวอย่างที่ 12 สมมุติให้ดังนาเงินสดมาลงทุน 210,000 บาทเพื่อให้มีสิทธิส่วน ได้เสีย 1/3 โดยกาหนดให้เงินลงทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนมีจานวน 720,000บาท ค่าความนิยมและโบนัสคานวณได้ดังนี้ บาท เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 720,000 การคานวณค่าความนิยม : เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนตามที่กาหนด 720,000 เงินทุนใหม่ของห้างหุ้นส่วนที่มีจริง (200,000+3000,000+210,000) 710,000 ค่าความนิยมคิดให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ 10,000
  • 48. การคานวณโบนัส : เงินทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของดัง (72,000×1/3) 240,000 เงินทุนของดัง 210,000 บวก ค่าความนิยม 10,000 220,000 โบนัสที่ได้รับจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม 20,000 กรณีนี้ดังนาเงินมาลงทุนเพียง 210,000 บาท แต่ไดรับการเครดิตจากบัญชีทุน 240,000 บาท ซึ่งมากกว่าเงินที่นามาลงทุน 30,000 บาท โดยส่วนแรกได้จากค่าความนิยม 10,000บาท ส่วนที่เหลือ 20,000 บาท ถือเป็นโบนัสที่ได้รับจากหุ้นส่วนเดิม การบันทึกรายการในสมุด รายวันทั่วไปจะเป็นดังนี้
  • 49. สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X1 ก.พ.1 เงินสด ค่าความนิยม ทุน-ดุจ (20,000×2/5) ทุน-ดาว (20,000×3/5) ทุน-ดัง บันทึกดังนาเงินสดมาลงทุน พร้อมทั้งบันทึกค่าความนิยม และโอนบัญชีทุนหุ้นส่วน เดิมเป็นโบนัสให้แก่ดัง 210,000 10,000 8,000 12,000 240,000
  • 50. การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วนจะทาได้เมื่อสิ้นงวดบัญชีจะลาออกระหว่างหวดไม่ได้ โดยต้อง บอกกล่าวความจานงจะเลิกห้างหุ้นส่วนล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือน การบอกเลิกของผู้เป็น หุ้นส่วนจะมีผลทาให้ห้างหุ้นส่วนนั้นเลิกไป เว้นแต่สัญญาห้างระบุไว้เป็นอย่างอื่นก็สามารถ ดาเนินงานต่อไปได้โดยต้องทาสัญญากันใหม่และดาเนินการต่างๆ ในลักษณะเดียวกับการรับ หุ้นส่วนใหม่ ในกรณีผู้เป็นหุ้นส่วนที่ยังอยู่รับซื้อหุ้นของผู้ที่ออกไปสัญญาเดิมนั้นก็ยังคงใช้ได้ ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนที่ยังอยู่ด้วยกัน สาหรับหุ้นส่วนที่ลาออกจะได้รับการคืนทุนตามสิทธิส่วน ได้เสียของตนหลังจากที่มีการปรับปรุงสินทรัพย์หนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องแล้ว เว้นแต่ การลาออกนั้นเป็นการผิดสัญญาและก่อความเสียหายต่อห้างหุ้นส่วน โดยการจ่ายชาระคืนทุน ให้หุ้นส่วนที่ลาออกทาได้ 2 วิธีคือ 1. หุ้นส่วนที่เหลือรับซื้อสิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนที่ลาออก กรณีนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนที่ซื้อสิทธิจะจ่ายคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออกโดยตรง การบันทึกบัญชีจะ โอนหุ้นส่วนที่ลาออกไปเข้าบัญชีทุนหุ้นที่ซื้อสิทธิด้วยราคาตามบัญชี โดยไม่คานึงถึงจานวน เงินที่จ่ายคืน
  • 51. ตัวอย่างที่ 16 : ดอม เดียร์และดิว เป็นหุ้นส่วนกัน มีเงินทุนคนละ 200,000 บาท แบ่งผล กาไร ขาดทุนเท่ากัน ดิวลาออกวันที่ 1 มกราคม 25x3 หุ้นส่วนที่เหลือตกลงรับซื้อสิทธิส้วนได้ เสียของดิวคนละครึ่งโดนจ่ายเงินให้ดิวคนละ 120,000 รายการในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็น ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว ทุน-ดอม (200,000×1/2) ทุน-เดียร์ (200,000×1/2) บันทึกโอนทุนดิวเข้าบัญชี ทุนแดนและเดียร์ 200,000 100,000 100,000
  • 52. 2.1 วิธีค่าความนิยม ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนมีการดาเนินงานดี มีชื่อเสีย และมีมูลค่าของธุรกิจ สูงขึ้น ถือว่ามีธุรกิจมีค่าความนิยมแต่ไม่ได้บันทึกบันชีไว้ เมื่อมีหุ้นส่วนลาออกโดยห้างหุ้นส่วน จ่ายคืนทุนสูงกว่าเงินทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่ลาออก อาจมีการตกลงให้บันทึกค่าความนิยมขึ้น บันชีไว้ โดยบันทึกเฉพาะส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลาออก หรือบันทึกเต็มจานวนให้ผู้เป็น หุ้นส่วนทุกคนก็ได้แล้วแต่จะตกลงกัน ตังอย่างที่ 18 : จากตัวอย่างที่ 16 เงินทุนคงเหลือของดิว 200,000บาท สมมุติห้างหุ้นส่วน จ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 210,000 บาท โดยตกลงให้บันทึกค่าความนิยมเฉพาะส่วนของดิว (210,000 - 200,000)= 10,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ค่าความนิยม 10,000
  • 53. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว บันทึกค่าความนิยมให้หุ้นส่วน ที่ลาออก 10,000 1 ทุน-ดิว เงินสด บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสด คืนทุนให้ดิว 210,000 210,000 สมุดรายวันทั่วไป
  • 54. 2. ห้างหุ้นส่วนจ่ายชาระคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออก การจ่ายคืนทุนให้หุ้นส่วนที่ลาออกในกรณีนี้จะมีผลทาให้สินทรัพย์และเงินทุนของกิจการ ลดลงตามจานวนสิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้ส่วนที่ลาออก และเพื่อความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ควรมีการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ถูกต้องก่อนที่จะคืนทุนให้หุ้นส่วน ที่ลาออกตามกรณีต่างๆดังนี้ 1. ) การจ่ายคืนทุนเท่ากับทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่ลาออก ตัวอย่างที่ 17 : จากตัวอย่างที่ 16 สมมุติให้หุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนให้ดิวเท่ากับเงินทุนคงเหลือ ตามบัญชี 200,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่งไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว 200,000
  • 55. ตัวอย่างที่19 : จากตัวอย่างที่18 สมมุติตกลงให้บันทึกค่าความนิยมเต็มจานวนค่าความนิยม เฉพาะส่วนของดิวมีจานวน 10,000บาท และมีอัตราส่วนแบ่งผงกาไรขาดทุนเท่ากัน ดังนั้นค่า ความนิยมของห้างหุ้นส่วนทั้งสิน (10,000×3/1)= 30,000 บาท บันทึกรายการดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ค่าความนิยม ทุน-ดอม (300,000×1/3) ทุน-เดียร์ (300,000×1/3) ทุน-ดิว (300,000×1/3) บันทึกค่าความนิยมทั้งสินของ ห้างหุ้นส่วน 30,000 10,000 10,000 10,000
  • 56. 2.2 วิธีโบนัส ในกรณีที่ห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุนมากหรือน้อยกว่างินทุนคงเหลือของหุ้นส่วนที่ ลาออกโดนถือเป็นโบนัสระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน ผลต่างที่เกิดขึ้นจะบันทึกเข้าบันชีทุนหุ้นส่วนที่ เหลืออยู่ตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนเดิมหลังจากหักส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลาออกแล้วดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว เงินสด บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสด คืนทุนให้ดิว 210,000 210,000
  • 57. ตัวอย่างที่ 20 : จากตัวอย่างที่16 สมมุติห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 190,000บาท โดย ผลต่างที่จ่ายต่ากว่าทุนคงเหลือของดิว ถือเป็นโบนัสที่โอนไปเพิ่มบัญชีทุนให้ดอมและเดียร์ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว เงินสด ทุน-ดอม (10,000×1/2) ทุน-เดียร์ (10,000×1/2) บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุน ให้ดิวโดยคิดโบนัสให้หุ้นส่วน เดิม 10,000บาท 200,000 190,000 5,000 5,000
  • 58. ตัวอย่างที่ 21 : จากตัวอย่างที่ 20 สมมุติห้างหุ้นส่วนจ่ายเงินสดคืนทุนให้ดิว 210,000บาท โดย ผลต่างที่จ่ายเกินทุนคงเหลือของดิวถือเป็นโบนัสให้ดิว จะบันทึกลดบัญชีทุนให้ดอมและเดียร์ ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-ดิว ทุน-ดอม (10,000×1/2) ทุน-เดียร์ (10,000×1/2) เงินสด บันทึกห้างหุ้นส่วนจ่ายคืนทุน ให้ดิวโดยคิดโบนัสให้ดิว 10,000 บาท 200,000 5,000 5,000 210,000
  • 59. การตายของผู้เป็นหุ้นส่วน เมื่อหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดคนใดตาย ทายาทย่อมเข้าเป็นหุ้นส่วนแทนได้ แต่ถ้า หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดคนใดตายห้างหุ้นส่วนนั้นก็ต้องเลิกไป เว้นแต่สัญญาจัดตั้งห้าง หุ้นส่วนจะระบุไว้เป็นอย่างอื่นห้างหุ้นส่วนนั้นก็ไม่ต้องเลิกกิจการ การคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วนที่ตาย มีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้ 1. ปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วน ณ วันที่หุ้นส่วนตาย โดยปรับปรุงสินทรัพย์ ให้ตรงตามราคาตลาดในขณะนั้น และบันทึกหนี้สินของห้างหุ้นส่วนให้ครบถ้วน ผลต่างจาก การปรับปรุงดังกล่าวให้โอนเข้าบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน 2. คานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนให้หุ้นส่วนที่ตาย โดยคานวณผลการดาเนินงานในงวด ปัจจุบันตามระยะเวลาที่ผู้ตายมีสิทธิร่วมรับ ซึ่งสามารถคานวณได้หลายวิธีแล้วแต่จะตกลงกัน 3. จ่ายคืนทุนให้แก่ทายาทผู้ตาย โดยจ่ายตามจานวนเงินทุนคงเหลือหลังจากปรับปรุงสิมทรัพย์ และหนี้สิน รวมทั้งแบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้ตายเรียบร้อยแล้ว ในกรณีที่ไม่สามารถจ่ายคืน ทุนให้กับทายาทผู้ตายได้ทันที ให้โอนเงินทุนคงเหลือของผู้ตายตั้งเป็นหนี้สิน (เจ้าหนี้) ของ กิจการไว้เนื่องจากผู้ตายหมดสภาพการเป็นหุ้นส่วนในกิจการแล้ว
  • 60. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของหุ้นส่วนที่ตาย มี 2 วิธีคือ 1. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของผู้ตาย โดยประมาณกาไรขาดทุน ณ วันที่ตาย วิธีนี้ จะแบ่งให้ผู้ตายตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดจนถึงวันที่หุ้นส่วนตาย ตัวอย่างที่ 21 : เด๋อ ดู๋ และดี๋ เป็นหุ้นส่วนกัน แบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2:2:1ตามลาดับ ตกลงกันว่าถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายไป ให้แบ่งผลกาไรขาดทุนให้กับผู้ตายนับจากวัน ต้นงวดไปจนถึงวันที่ตาย โยประมาณจากผลกาไรขาดทุนย้อนหลัง 3 ปีมีดังนี้ ดี๋ตายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 25x4 ซึ่งหลังจากการปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินต่างๆของห้าง หุ้นส่วนแล้ว ดี๋มีเงินทุนคงเหลือ 100,000 บาท สาหรับผลกาไรย้อนหลัง 3 ปี มีดังนี้ ปี 25x1 กาไรสุทธิ 104,000 บาท ปี 25x2 กาไรสุทธิ 105,000 บาท ปี 25x3 กาไรสุทธิ 110,000 บาท รวม 319,000 บาท ต่อมาเมื่อถึงวันสิ้นงวด 31 ธันวาคม 25x4 ปรากฏผลกาไรสุทธิประจาปี 106,000 บาท
  • 61. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของดี๋โดยประมาณจากกาไรย้อนหลัง 3 ปี กาไรถั่วเฉลี่ยต่อปี = 319,500×1/3 = 106,500 บาท กาไรถั่วเฉลี่ย 10 เดือน (1ม.ค.-1พ.ย.) = 106,500× 10/12 = 88,750 บาท ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋ = 88,750× 1/5 = 17,750 บาท การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของหุ้นส่วนที่เหลือ : กาไรสุทธิประจาปีหลังจากหักส่วนแบ่งของดี๋ = 106,000-17,750= 88,250 บาท เด๋อและดู๋แบ่งผลกาไรขาดทุนเท่ากัน (2:2) = 88,250× 2/4 = 4 4,125 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 พ.ย.1 ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋ 17,750
  • 62. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 พ.ย.1 กระแสทุน-ดี๋ บันทึกส่วนแบ่งกาไรโดยประ- มาณให้ดี๋ 17,750 1 กระแสทุน-ดี๋ ทุน-ดี๋ ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า บัญชีทุนดี๋ 17,750 17,750 1 ทุน-ดี๋ (100,000+17,750) เจ้าหนี้-กองมรดกดี๋ 117,750 117,750 สมุดรายวันทั่วไป
  • 63. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 พ.ย.1 โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น หนี้สิน ธ.ค.31 กาไรขาดทุน ส่วนแบ่งกาไรโดยประมาณของดี๋ โอนปิดบัญชีส่วนแบ่งกาไรโดย- ประมาณของดี๋เข้าบัญชีกาไร ขาดทุน 17,750 17,750 31 กาไรขาดทุน กระแสทุน-เด๋อ กระแสทุน-ดู๋ บันทึกส่วนแบ่งผลกาไรที่เหลือ ให้เด๋อและดู๋ 88,250 44,125 44,125
  • 64. 2. การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนของผู้ตาย จากผลกาไรขาดทุนประจาปี ณ วันสิ้นงวด สามารถคานวณส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายได้ 2 วิธี ดังนี้ 2.1) การแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายเต็มปี กรณีนี้ถือเสมือนหนึ่งว่าเงินทุนของผู้ตายใช้ได้ในการ ดาเนินงานของห้างหุ้นส่วนตลอดทั้งปี ผู้ตายจึงควรมีส่วนร่วมรับผลกาไรขาดทุนในปีที่ตายเต็ม ปีโดยคานวณส่วนแบ่งจากผงกาไรขาดทุนประจางวดและบันทึกรายการตามปกติ ตัวอย่างที่ 23 : จากตัวอย่างที่22 สมมุติตกลงให้แบ่งส่วนผลกาไรขาดทุนให้หุ้นส่วนที่ตายโดย คิดเต็มปีจากผงกาไรขาดทุนประจางวด การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 ธ.ค.31 กาไรขาดทุน กระแสทุน-เด๋อ (106,000×2/5) 106,000 42,040
  • 65. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 ธ.ค.31 กระแสทุน-ดู๋ (106,000×2/5) กระแสทุน-ดี๋ (106,000×1/5) บันทึกส่วนแบ่งผลกาไรให้ผู้ เป็นหุ้นส่วน 42,400 21,200 31 กระแสทุน-ดี๋ ทุน-ดี๋ ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า บัญชีทุนดี๋ 21,200 21,200 31 ทุน-ดี๋(100,000+21,000) เจ้าหนี้-กองมรดก โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น หนี้สิน 121,200 121,200
  • 66. 2.2) การแบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดถึงวันที่ตาย กรณีนี้ควร คิดดอกเบี้ยเงินทุนให้กับผู้ตายนับจากวันที่ตายไปถึงวันสิ้นงวด เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวกิจการ ยังไม่สามารถคืนทุนให้ทายาทผู้ตายได้ จึงควรจ่ายดอกเบี้ยให้เป็นผลตอบแทน โดยถือเป็น ค่าใช้จ่ายของห้างหุ้นส่วนที่จะนาไปหักจากกาไรขาดทุนประจางวดได้ ตัวอย่างที่ 24 : จากตัวอย่างที่ 22 สมมุติตกลงให้แบ่งผลกาไรขาดทุนให้ผู้ตายโดยคิดจากผล กาไรขาดทุนประจางวด ตามระยะเวลานับจากวันต้นงวดไปจนถึงวันที่หุ้นส่วนตาย และคิด ดอกเบี้ยเงินทุนให้ผู้ตายในอัตรา 6%โดยนับจากวันตายไปถึงวันสิ้นงวดจะคานวณดังนี้ การคานวณดอกเบี้ยเงินทุนและส่วนแบ่งผงกาไรของผู้ตาย : ดอกเบี้ยเงินทุนของดี๋ = 100,000 × 6% × 2/12 = 1,000 บาท กาไรสุทธิหลังจากหักดอกเบี้ยเงินทุนของดี๋ = 106,000-1,000 = 105,000 บาท ส่วนแบ่งผลกาไรของดี๋ 10 เดือน = 105,000 ×10/12×1/5 = 17,500 บาท การคานวณส่วนแบ่งผลกาไรของผู้เป็นหุ้นส่วนที่เหลือ : กาไรสุทธิหลังจากหักส่วนแบ่งของดี๋ = 105,000-17,500 = 87,500 บาท เด๋อและดู๋แบ่งผลกาไรขาดทุนเท่ากัน (2:2) = 87,500×2/4 = 43,750 บาท
  • 67. การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปจะปรากฏดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 ธ.ค.31 ดอกเบี้บจ่าย กระแสทุน-ดี๋ บันทึกดอกเบี้ยเงินทุนที่ได้ 1,000 1,000 31 กาไรขาดทุน ดอกเบี้บจ่าย โอนปิดดอกเบี้ยจ่ายเข้าบัญชี กาไรขาดทุน 1,000 1,000 31 กาไรขาดทุน 105,000
  • 68. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X4 ธ.ค.31 กระแสทุน-เด๋อ กระแสทุน-ดู๋ กระแสทุน-ดี๋ บันทึกส่วนแบ่งกาไรให้ผู้เป็น หุ้นส่วน 43,750 43,750 17,500 31 กระแสทุน-ดี๋ (1,000+17,500) ทุน-ดี๋ ปิดบัญชีกระแสทุนดี๋ไปเข้า บัญชีทุนดี๋ 18,500 18,500 31 ทุน-ดี๋ (1,000+18,500) เจ้าหนี้-กองมรดกดี๋ โอนปิดบัญชีทุนดี๋ไปตั้งเป็น หนี้สิน 118,500 118,500
  • 69. การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท การบันทึกบัญชี บริษัทจากัดที่จัดตั้งขึ้นใหม่อาจใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของห้างหุ้นส่วนเป็น สมุดบัญชีของบริษัทต่อไปหรืออาจเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ขึ้นมาแทนได้ แต่การบันทึกจะต่างกัน เฉพาะรายการในวันเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัท หลังจากนั้นเมื่อเกิดรายการค้าจะบันทึกตามปกติ การ บันทึกรายการเปิดบัญชีของบริษัทจึงสรุปได้2 กรณีคือ กรณีใช้สมุดบัญชีชุดเดิม และ กรณีใช้ สมุดบัญชีชุดใหม่ ตัวอย่างที่ 25 : ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย มียอดคงเหลือของบัญชีต่างๆ ปรากฏตามงบดุลดังนี้ ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย งบดุล ณ วันที่ 1 มกราคม 25x3 หน่วย : บาท สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน สินทรัพย์หมุนเวียน : หนี้สินหมุนเวียน : เงินสด 68,700 เจ้าหนี้ 53,000 ลูกหนี้ 90,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,700 87,300 ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน :
  • 70. สินค้าคงเหลือ 130,000 ทุน-แดน 198,000 สินทรัพย์หมุนเวียน : ทุน-ดนัย 149,000 347,000 เครื่องใช้สานักงาน 150,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 120,000 รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 406,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 406,000 แดนและดนัยแบ่งผลกาไรขาดทุนในอัตรา 2: 1 ตามลาดับ ในวันที่ 1 มกราคม 25x3ผู้เป็หุ้น ส่วนตกลงขยายกิจการเป็นบริษัท แดนดนัย จากัด โดนจดทะเบียนเป็นทุนหุ้นสามัญจานวน 10,000หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท และได้ออกใบหุ้นจานวน 3,500 หุ้น ให้กับผู้เป็นหุ้นส่วน เพื่อชาระมูลค่าสินทรัพย์สุทธิที่ได้รับโอนมาจากห้างหุ้นส่วน โดยตกลงปรับปรุงราคาสินทรัพย์ ใหม่ดังนี้ - ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น จานวน 1,800 บาท - สินค้าคงเหลือตีราคาเพิ่มขึ้น จานวน 4,800 บาท สาหรับหุ้นสามัญที่เหลือ 6,500 หุ้น นาออกจาหน่ายเป็นเงินสดในราคาตามมูลค่า
  • 71. 1.กรณีใช้สมุดบัญชีชุดเดิม จากโจทย์ตัวอย่างที่ 25 กรณีที่ใช้สมุดบัญชีชุดเดิมของห้างหุ้นส่วนแดนดนัยเป็นสมุดบัญชี ของบริษัท แดนดนัย จากัด การบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทในสมุดรายวันทั่วไปจะเป็น ดังนี้ สมุดรายวันทั่วไป วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 สินค้าคงเหลือ ค่าเผื่อหนี้สงสัญจะสูญ ทุน-แดน (4,800-1,800)×2/3 ทุน-ดนัย (4,800-1,800)×1/3 ปรับปรุงสินทรัพย์เข้าบัญชี หุ้นส่วน 4,800 1,800 2,000 1,000
  • 72. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 ทุน-แดน (198,000+2,000) ทุน-ดนัย (149,000+1,000) ทุนหุ้นสามัญ(100 ×3,500) ออกหุ้นสามัญชาระคืนทุนผู้เป็น หุ้นส่วน 200,000 150,000 350,000 1 เงินสด ทุนหุ้นส่วนสามัญ(100 ×6,500) ออกจาหน่ายหุ้นสามัญในราคา ตามมูลค่า 650,000 650,000
  • 73. หลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทแล้ว เมื่อนาข้อมูลไปจัดทางบดุลของบริษัท จะ ปรากฏดังนี้ สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น สินทรัพย์หมุนเวียน : หนี้สินหมุนเวียน : เงินสด 718,700 เจ้าหนี้ 53,000 ลูกหนี้ 90,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 85,500 รวมหนีสินหมุนเวียน 59,000 สินค้าคงเหลือ 134,800 ส่วนของผู้เถือหุ้น : รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 939,000 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน : (หุ้นสามัญ 10,0001หุ้น บริษัท แดนดนัย จากัด งบดุล ณ วันที่ 1 มกราคม 25x3 หน่วย : บาท
  • 74. เครื่องใช้สานักงาน 150,000 มูลค่าหุ้นละ 100 บาท) หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 120,000 ทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000 รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 1,059,000 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 1,059,000 2. กรณีใช้สมุดบัญชีชุดใหม่ กรณีที่บริษัทเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ขึ้นมาใช้ สมุดบัญชีของห้างหุ้นส่วนซึ่งเลิกใช้จะต้องทากา ปิดไปทั้งหมด การบันทึกบัญชีจึงแบ่งเป็น 2 ส่วนดังนี้ 2.1) ด้านสมุดบัญชีชุดใหม่ของบริษัทจากัด จากโจทย์ตัวอย่างที่ 25 รายการเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่ของบริษัท แดนดนัย จากัด จะ ปรากฏดังนี้
  • 75. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 เงินสด ลูกหนี้ สินค้าคงเหลือ เครื่องใช่สานักงาน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใช้ สานักงาน เจ้าหนี้ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้-ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย รับโอนสินทรัพย์และหนี้สินของห้าง หุ้นส่วน 68,700 90,000 134,800 150,000 4,500 30,000 53,000 6,000 350,000 สมุดรายวันทั่วไป
  • 76. วัน เดือน ปี รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต 25X3 ม.ค.1 เจ้าหนี้-ห้างหุ้นส่วนแดนดนัย ทุนหุ้นสามัญ ออกหุ้นสามัญชาระให้ห้าหุ้นส่วน 350,000 350,000 1 เงินสด ทุนหุ้นสามัญ(100×6,500) ออกจาหน่ายหุ้นสามัญในราคาตาม มูลคา 650,000 650,000 หลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีจัดตั้งบริษัทแล้ว เมื่อนาข้อมูลไปจัดทางบดุลของ บริษัท จะปรากฏรายการเช่นเดียวกับงบดุลที่แสดงไว้ก่อนหน้านี้