SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
(ข้อ2)เมื่อวันที่1 มกราคม 25X1ทวีและตรีคูณ ตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกันจัดตั้งเป็นห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ
โดยทวีลงทุนด้วยเงินสด 200,000 บาทและอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีราคาซื้อมาเมื่อปีที่แล้วเท่ากับ 50,000 บาท มูลค่ายุติธรรม
ณวันที่ลงทุน คือ 60,000 บาท ส่วนตรีคูณมีร้านเป็นกิจการของตนเองคือร้านตรีคูณโดยนาเอาสินทรัพย์
และหนี้สินของร้านตรีคูณมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน
รายการบัญชีในงบแสดงฐานะทางการเงินของร้านตรีคูณก่อนการปรับปรุงปรากฏ ดังนี้
ร้านตรีคูณ
งบแสดงฐานะทางการเงิน
ณวันที่ 31 ธันวาคม 25X1
สินทรัพย์
เงินสด 20,000
ลูกหนี้ 30,000
หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 29,000
สินค้าคงเหลือ 120,000
เครื่องตกแต่ง 72,000
หักค่าเสื่อมราคาสะสม 1,440 70,560
รวมสินทรัพย์ 239,560
หนี้สินและทุน
เจ้าหนี้การค้า 84,000
เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000
ทุน –ตรีคูณ 55,560
รวมหนี้สินและทุน 239,560
ทวีและตรีคูณตกลงเกี่ยวกับรายการที่จะปรับปรุงก่อนการโอนสินทรัพย์ และหนี้สินร้านตรีคูณ ดังนี้
1. ตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญ 1,500บาทและประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ
2. สินค้าคงเหลือมีมูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท
3. เครื่องตกแต่งมีมูลค่ายุติธรรมเท่ากับ 100,000 บาท และมีอัตราการเสื่อมสภาพ เท่ากับ 20%
4. ร้านตรีคูณยังไม่ได้บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจานวน 24,000 บาท เมื่อวันที่31 ธันวาคม
25X1แต่นับรวมสินค้าจานวนนี้เป็นสินค้าคงเหลือเรียบร้อยแล้ว
เมื่อวันที่1เมษายน25X1ทวีนาเงินสดมาลงทุนเพิ่ม 5,000 บาท
เมื่อวันที่1กรกฎาคม 25X1ตรีคูณถอนทุน 8,000 บาท
ในปี 25X1ห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ มีกาไรสุทธิ 140,000 บาท
ให้ทา 1. แสดงรายการปรับปรุงและโอนปิดบัญชีการลงทุนของร้านตรีคูณในสมุดรายวันทั่วไป
2. บันทึกรายการลงทุนของทวีและตรีคูณในสมุดบัญชีเล่มใหม่ของห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ
3. จัดทางบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่1มกราคม 25X1
4. บันทึกรายการลงในสมุดรายวันทั่วไปเกี่ยวกับการแบ่งกาไรขาดทุนไว้ในสัญญา
4.1 ไม่มีการตกลงกับเกี่ยวกับการแบ่งกาไรขาดทุนไว้ในสัญญา
4.2 แบ่งตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย
4.3 คิดดอกเบี้ยทุนจากทุนถัวเฉลี่ยในอัตรา 6% ต่อปี และกาไรขาดทุนที่เหลือให้แบ่งกาไรกันในอัตรา 2:3
4.4คิดเงินเดือนให้แก่ทวี เดือนละ1,000 บาท และคิดโบนัสให้แก่ตรีคูณ 10%
ของกาไรสุทธิหลังหักเงินเดือนและโบนัสกาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งเท่าๆกัน
(1) รายการปรับปรุง และโอนปิดบัญชีการลงทุนของร้านตรีคูณ ในสมุดรายวันทั่วไปของร้านตรีคูณเป็นดังนี้
ม.ค. 1เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000
ทุน –ตรีคูณ 500
เครดิต ลูกหนี้ 1,500
( ตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญ )
เดบิต ทุน –ตรีคูณ (28,500 × 2% ) 570
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570
( ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2%ของยอดลูกหนี้คงเหลือ)
เดบิต สินค้าคงเหลือ( 130,000 – 120,000 ) 10,000
เครดิต ทุน –ตรีคูณ 10,000
( ตีราคาสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น )
เดบิต เครื่องตกแต่ง ( 100,000 – 72,000 ) 28,000
เครดิต ทุน –ตรีคูณ 28,000
( ตีราคาเครื่องตกแต่งเพิ่มขึ้น )
เดบิต ทุน –ตรีคูณ(100,000 × 20% ) – 1,440 18,560
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 18,560
( ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องตกแต่งที่ตีราคาเพิ่มขึ้น)
เดบิต ทุน –ตรีคูณ 24,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 24,000
(บันทึกการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ )
เดบิต ทุน –ตรีคูณ 49,930
เจ้าหนี้การค้า(84,000 + 24,000 ) 108,000
เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 20,000
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570
เครดิต เงินสด 20,000
ลูกหนี้ 28,500
สินค้าคงเหลือ 130,000
เครื่องตกแต่ง 100,000
( บันทึกปิดบัญชีร้านตรีคูณเพื่อลงทุนในห้างใหม่ )
หมายเหตุ ทุน –ตรีคูณ = 55,560 – 500– 570+ 10,000 + 28,000 –18,560 – 24,000 = 49,930
(2)บันทึกการลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่โดยใช้สมุดของห้างใหม่
ม.ค. 1เดบิตเงินสด 200,000
อุปกรณ์สานักงาน 60,000
เครดิต ทุน –ทวี 260,000
( บันทึกการลงทุนของทวี )
เดบิต เงินสด 20,000
ลูกหนี้ 28,500
สินค้าคงเหลือ 130,000
เครื่องตกแต่ง 100,000
เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570
ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 20,000
เจ้าหนี้การค้า 108,000
เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000
ทุน –ตรีคูณ 49,930
( บันทึกการลงทุนของตรีคูณ )
(3)จัดทางบแสดงฐานะการเงิน ณวันที่1 มกราคม 25X1
ห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ
งบดุล
ณวันที่ 1มกราคม25X1
สินทรัพย์
เงินสด 220,000
ลูกหนี้ 28,500
หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570 27,930
สินค้าคงเหลือ 130,000
อุปกรณ์สานักงาน 60,000
เครื่องตกแต่ง 100,000
หักค่าเสื่อมราคาสะสม 20,000 80,000
รวมสินทรัพย์ 517,930
หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
เจ้าหนี้การค้า 108,000
เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000
ทุน –ทวี 260,000
ทุน –ตรีคูณ 49,930
รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 517,930
(4) บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน ตามเงื่อนไขดังนี้
(4.1 )ไม่มีการตกลงอัตราการแบ่งกาไรขาดทุนกันไว้
**กรณีนี้ตามกฎหมายของไทยได้แบ่งตามอัตราส่วนทุน
ดังนั้น อัตราส่วนของทวีและตรีคูณ = 260,000 : 49,930
∴ ส่วนแบ่งกาไรของทวี =
260,000 × 140,000
309,930
= 117,446
ส่วนแบ่งกาไรของตรีคูณ =
49,930 × 140,000
309,930
= 22,554
สมุดรายวันทั่วไป
25X1
ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 140,000
เครดิต ทุน –ทวี 117,446
ทุน -ตรีคูณ 22,554
(บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุน )
(4.2) แบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย
ทุนถัวเฉลี่ยของทวีคานวณได้ดังนี้
วันที่ รายการ จานวนเงิน ระยะเวลาเปิดรายการ ทุนถัวเฉลี่ย
1ม.ค. X1 ลงทุนครั้งแรก 260,000 12/12 260,000
1เม.ย.X1 เพิ่มทุน 5,000 9/12 3,750
รวม 263,750
ทุนถัวเฉลี่ยของตรีคูณคานวณได้ดังนี้
วันที่ รายการ จานวนเงิน ระยะเวลาเปิดรายการ ทุนถัวเฉลี่ย
1ม.ค. X1 ลงทุนครั้งแรก 49,930 12/12 49,930
1ก.ค. X1 ถอนทุน (8,000) 6/12 (4,000)
รวม 45,930
∴ อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน = 263,750 : 45,930
ดังนั้น ส่วนแบ่งกาไรของทวี =
263,750 × 140,000
309,680
= 119,236
ส่วนแบ่งกาไรของตรีคูณ =
45,930 × 140,000
309,680
= 20,764
สมุดรายวันทั่วไป
25X1
ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 140,000
เครดิต ทุน –ทวี 119,236
ทุน – ตรีคูณ 20,764
(บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย)
(4.3) คิดดอกเบี้ยทุนจากทุนถัวเฉลี่ย 6% ต่อปี และกาไรที่เหลือแบ่งในอัตรา 2:3 ไว้ดังนี้
ดอกเบี้ยทุนทวี = 263,750 × 6%× 1 = 15,825
ดอกเบี้ยทุนตรีคูณ = 45,930 × 6%× 1= 2,756
รวม 18,581
กาไรที่เหลือ 140,000 –18,581 = 121,419 นามาแบ่งในอัตราส่วน 2:3
ส่วนแบ่งกาไรที่เหลือของทวี
121,419×2
5
= 48,568
ส่วนแบ่งกาไรที่เหลือของตรีคูณ
121,419×3
5
= 72,851
สมุดรายวันทั่วไป
25X1
ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 18,581
เครดิต ทุน-ทวี 15,825
ทุน-ตรีคูณ 2,756
(แบ่งกาไรโดยคิดดอกเบี้ยทุน 6% จากทุนถัวเฉลี่ย)
เดบิต กาไรขาดทุน 121,419
เครดิต ทุน –ทวี 48,568
ทุน –ตรีคูณ 72,851
(แบ่งกาไรที่เหลือในอัตรา 2: 3)
(4.4) คิดเงินเดือนให้ทวีเดือนละ1,000 บาท คิดโบนัสให้ตรีคูณ 10% ของกาไรสุทธิหลังหักเงินเดือน
และโบนัส กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งเท่ากัน
เงินเดือนทวี= 1,000 × 12 = 12,000
โบนัสตรีคูณ = (140,000 –12,000 ) ×
10
110
= 11,636
กาไรที่เหลือ = 140,000-12,000-11,636 = 116,364
นามาแบ่งเท่ากัน ดังนั้น
116,364
2
= 58,182
สมุดรายวันทั่วไป
25X1
ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 23,636
เครดิต ทุน –ทวี 12,000
ทุน –ตรีคูณ 11,636
เดบิต กาไรขาดทุน 116,364
เครดิต ทุน –ทวี 58,182
ทุน –ตรีคูณ 58,182
(แบ่งกาไรที่เหลือคนละเท่ากัน)

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budgetpop Jaturong
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)Physics Lek
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
1
11
1
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 

เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ

  • 1. (ข้อ2)เมื่อวันที่1 มกราคม 25X1ทวีและตรีคูณ ตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกันจัดตั้งเป็นห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ โดยทวีลงทุนด้วยเงินสด 200,000 บาทและอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีราคาซื้อมาเมื่อปีที่แล้วเท่ากับ 50,000 บาท มูลค่ายุติธรรม ณวันที่ลงทุน คือ 60,000 บาท ส่วนตรีคูณมีร้านเป็นกิจการของตนเองคือร้านตรีคูณโดยนาเอาสินทรัพย์ และหนี้สินของร้านตรีคูณมาลงทุนในห้างหุ้นส่วน รายการบัญชีในงบแสดงฐานะทางการเงินของร้านตรีคูณก่อนการปรับปรุงปรากฏ ดังนี้ ร้านตรีคูณ งบแสดงฐานะทางการเงิน ณวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 สินทรัพย์ เงินสด 20,000 ลูกหนี้ 30,000 หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 29,000 สินค้าคงเหลือ 120,000 เครื่องตกแต่ง 72,000 หักค่าเสื่อมราคาสะสม 1,440 70,560 รวมสินทรัพย์ 239,560 หนี้สินและทุน เจ้าหนี้การค้า 84,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000 ทุน –ตรีคูณ 55,560 รวมหนี้สินและทุน 239,560 ทวีและตรีคูณตกลงเกี่ยวกับรายการที่จะปรับปรุงก่อนการโอนสินทรัพย์ และหนี้สินร้านตรีคูณ ดังนี้ 1. ตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญ 1,500บาทและประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ 2. สินค้าคงเหลือมีมูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท 3. เครื่องตกแต่งมีมูลค่ายุติธรรมเท่ากับ 100,000 บาท และมีอัตราการเสื่อมสภาพ เท่ากับ 20% 4. ร้านตรีคูณยังไม่ได้บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจานวน 24,000 บาท เมื่อวันที่31 ธันวาคม 25X1แต่นับรวมสินค้าจานวนนี้เป็นสินค้าคงเหลือเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่1เมษายน25X1ทวีนาเงินสดมาลงทุนเพิ่ม 5,000 บาท เมื่อวันที่1กรกฎาคม 25X1ตรีคูณถอนทุน 8,000 บาท ในปี 25X1ห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ มีกาไรสุทธิ 140,000 บาท ให้ทา 1. แสดงรายการปรับปรุงและโอนปิดบัญชีการลงทุนของร้านตรีคูณในสมุดรายวันทั่วไป 2. บันทึกรายการลงทุนของทวีและตรีคูณในสมุดบัญชีเล่มใหม่ของห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ 3. จัดทางบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่1มกราคม 25X1 4. บันทึกรายการลงในสมุดรายวันทั่วไปเกี่ยวกับการแบ่งกาไรขาดทุนไว้ในสัญญา 4.1 ไม่มีการตกลงกับเกี่ยวกับการแบ่งกาไรขาดทุนไว้ในสัญญา 4.2 แบ่งตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย 4.3 คิดดอกเบี้ยทุนจากทุนถัวเฉลี่ยในอัตรา 6% ต่อปี และกาไรขาดทุนที่เหลือให้แบ่งกาไรกันในอัตรา 2:3
  • 2. 4.4คิดเงินเดือนให้แก่ทวี เดือนละ1,000 บาท และคิดโบนัสให้แก่ตรีคูณ 10% ของกาไรสุทธิหลังหักเงินเดือนและโบนัสกาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งเท่าๆกัน (1) รายการปรับปรุง และโอนปิดบัญชีการลงทุนของร้านตรีคูณ ในสมุดรายวันทั่วไปของร้านตรีคูณเป็นดังนี้ ม.ค. 1เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 ทุน –ตรีคูณ 500 เครดิต ลูกหนี้ 1,500 ( ตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญ ) เดบิต ทุน –ตรีคูณ (28,500 × 2% ) 570 เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570 ( ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2%ของยอดลูกหนี้คงเหลือ) เดบิต สินค้าคงเหลือ( 130,000 – 120,000 ) 10,000 เครดิต ทุน –ตรีคูณ 10,000 ( ตีราคาสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น ) เดบิต เครื่องตกแต่ง ( 100,000 – 72,000 ) 28,000 เครดิต ทุน –ตรีคูณ 28,000 ( ตีราคาเครื่องตกแต่งเพิ่มขึ้น ) เดบิต ทุน –ตรีคูณ(100,000 × 20% ) – 1,440 18,560 เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 18,560 ( ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องตกแต่งที่ตีราคาเพิ่มขึ้น) เดบิต ทุน –ตรีคูณ 24,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 24,000 (บันทึกการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ )
  • 3. เดบิต ทุน –ตรีคูณ 49,930 เจ้าหนี้การค้า(84,000 + 24,000 ) 108,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 20,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570 เครดิต เงินสด 20,000 ลูกหนี้ 28,500 สินค้าคงเหลือ 130,000 เครื่องตกแต่ง 100,000 ( บันทึกปิดบัญชีร้านตรีคูณเพื่อลงทุนในห้างใหม่ ) หมายเหตุ ทุน –ตรีคูณ = 55,560 – 500– 570+ 10,000 + 28,000 –18,560 – 24,000 = 49,930
  • 4. (2)บันทึกการลงทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่โดยใช้สมุดของห้างใหม่ ม.ค. 1เดบิตเงินสด 200,000 อุปกรณ์สานักงาน 60,000 เครดิต ทุน –ทวี 260,000 ( บันทึกการลงทุนของทวี ) เดบิต เงินสด 20,000 ลูกหนี้ 28,500 สินค้าคงเหลือ 130,000 เครื่องตกแต่ง 100,000 เครดิต ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570 ค่าเสื่อมราคาสะสม –เครื่องตกแต่ง 20,000 เจ้าหนี้การค้า 108,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000 ทุน –ตรีคูณ 49,930 ( บันทึกการลงทุนของตรีคูณ )
  • 5. (3)จัดทางบแสดงฐานะการเงิน ณวันที่1 มกราคม 25X1 ห้างหุ้นส่วนทวีตรีคูณ งบดุล ณวันที่ 1มกราคม25X1 สินทรัพย์ เงินสด 220,000 ลูกหนี้ 28,500 หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 570 27,930 สินค้าคงเหลือ 130,000 อุปกรณ์สานักงาน 60,000 เครื่องตกแต่ง 100,000 หักค่าเสื่อมราคาสะสม 20,000 80,000 รวมสินทรัพย์ 517,930 หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน เจ้าหนี้การค้า 108,000 เจ้าหนี้เงินกู้ 100,000 ทุน –ทวี 260,000 ทุน –ตรีคูณ 49,930 รวมหนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 517,930 (4) บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน ตามเงื่อนไขดังนี้ (4.1 )ไม่มีการตกลงอัตราการแบ่งกาไรขาดทุนกันไว้ **กรณีนี้ตามกฎหมายของไทยได้แบ่งตามอัตราส่วนทุน ดังนั้น อัตราส่วนของทวีและตรีคูณ = 260,000 : 49,930 ∴ ส่วนแบ่งกาไรของทวี = 260,000 × 140,000 309,930 = 117,446 ส่วนแบ่งกาไรของตรีคูณ = 49,930 × 140,000 309,930 = 22,554 สมุดรายวันทั่วไป 25X1 ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 140,000 เครดิต ทุน –ทวี 117,446 ทุน -ตรีคูณ 22,554 (บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุน )
  • 6. (4.2) แบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย ทุนถัวเฉลี่ยของทวีคานวณได้ดังนี้ วันที่ รายการ จานวนเงิน ระยะเวลาเปิดรายการ ทุนถัวเฉลี่ย 1ม.ค. X1 ลงทุนครั้งแรก 260,000 12/12 260,000 1เม.ย.X1 เพิ่มทุน 5,000 9/12 3,750 รวม 263,750 ทุนถัวเฉลี่ยของตรีคูณคานวณได้ดังนี้ วันที่ รายการ จานวนเงิน ระยะเวลาเปิดรายการ ทุนถัวเฉลี่ย 1ม.ค. X1 ลงทุนครั้งแรก 49,930 12/12 49,930 1ก.ค. X1 ถอนทุน (8,000) 6/12 (4,000) รวม 45,930 ∴ อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน = 263,750 : 45,930 ดังนั้น ส่วนแบ่งกาไรของทวี = 263,750 × 140,000 309,680 = 119,236 ส่วนแบ่งกาไรของตรีคูณ = 45,930 × 140,000 309,680 = 20,764 สมุดรายวันทั่วไป 25X1 ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 140,000 เครดิต ทุน –ทวี 119,236 ทุน – ตรีคูณ 20,764 (บันทึกการแบ่งกาไรขาดทุนตามอัตราส่วนทุนถัวเฉลี่ย)
  • 7. (4.3) คิดดอกเบี้ยทุนจากทุนถัวเฉลี่ย 6% ต่อปี และกาไรที่เหลือแบ่งในอัตรา 2:3 ไว้ดังนี้ ดอกเบี้ยทุนทวี = 263,750 × 6%× 1 = 15,825 ดอกเบี้ยทุนตรีคูณ = 45,930 × 6%× 1= 2,756 รวม 18,581 กาไรที่เหลือ 140,000 –18,581 = 121,419 นามาแบ่งในอัตราส่วน 2:3 ส่วนแบ่งกาไรที่เหลือของทวี 121,419×2 5 = 48,568 ส่วนแบ่งกาไรที่เหลือของตรีคูณ 121,419×3 5 = 72,851 สมุดรายวันทั่วไป 25X1 ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 18,581 เครดิต ทุน-ทวี 15,825 ทุน-ตรีคูณ 2,756 (แบ่งกาไรโดยคิดดอกเบี้ยทุน 6% จากทุนถัวเฉลี่ย) เดบิต กาไรขาดทุน 121,419 เครดิต ทุน –ทวี 48,568 ทุน –ตรีคูณ 72,851 (แบ่งกาไรที่เหลือในอัตรา 2: 3)
  • 8. (4.4) คิดเงินเดือนให้ทวีเดือนละ1,000 บาท คิดโบนัสให้ตรีคูณ 10% ของกาไรสุทธิหลังหักเงินเดือน และโบนัส กาไรขาดทุนที่เหลือแบ่งเท่ากัน เงินเดือนทวี= 1,000 × 12 = 12,000 โบนัสตรีคูณ = (140,000 –12,000 ) × 10 110 = 11,636 กาไรที่เหลือ = 140,000-12,000-11,636 = 116,364 นามาแบ่งเท่ากัน ดังนั้น 116,364 2 = 58,182 สมุดรายวันทั่วไป 25X1 ธ.ค. 31เดบิต กาไรขาดทุน 23,636 เครดิต ทุน –ทวี 12,000 ทุน –ตรีคูณ 11,636 เดบิต กาไรขาดทุน 116,364 เครดิต ทุน –ทวี 58,182 ทุน –ตรีคูณ 58,182 (แบ่งกาไรที่เหลือคนละเท่ากัน)