SlideShare a Scribd company logo
1 of 459
Download to read offline
พิมพ์ครั้งที่ 2
หลักการบัญชีเบื้องต้น
(Fundamental Accounting Principles)
อังคณา นุตยกุล
วิไล ศรีธนางกูล
ประทินพร แรมวัลย์
เอกสารประกอบการสอน
หลักการบัญชีเบื้องตน (ปรับปรุงใหม)
ผูเรียบเรียง : รองศาสตราจารยอังคณา นุตยกุล
ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิไล ศรีธนางกุล
ผูชวยศาสตราจารยประทินพร แรมวัลย
พิมพครั้งที่ 1 : จํานวน 105 เลม สิงหาคม 2554
พิมพครั้งที่ 2 : จํานวน 250 เลม ธันวาคม 2554
ออกแบบปก : โครงการสวนดุสิต กราฟฟคไซท
พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด เอ็ม แอนด เอ็ม เลเซอรพริ้นต
โทร : 0-2215-3999
คํานํา
เอกสารประกอบการสอนเลมนี้ ไดเรียบเรียงขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน วิชา 3821302 หลักการ
บัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5) ตามหลักสูตรบริหารธุรกิจ(ปรับปรุงพ.ศ.2552)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไปสามารถศึกษาคนควาและ
ฝกฝนไดดวยตนเอง เกิดความรูความเขาใจใน หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี สําหรับกิจการ
บริการ กิจการพณิชยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม ตลอดจนหลักการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนจากงบการเงิน ไดเปน
อยางดี
เนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ ประกอบดวย ลักษณะทั่วไปของการบัญชี การจัดทํางบการเงิน
หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี การบัญชีสําหรับกิจการบริการ การบัญชีสําหรับกิจการพณิชยกรรม
การบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม การวิเคราะหงบการเงิน และการวิเคราะหทุนดําเนินงานและเงินสด
ในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนนี้ คณะผูเรียบเรียงไดนําประสบการณจากการสอนและการศึกษา
คนควาหาขอมูลจากแหลงตางๆทั้งภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะอยางยิ่งทานเจาของเอกสาร ตํารา หนังสืออางอิง ที่
ผูเขียนใชในการคนควาอางอิง ทําใหสามารถเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ไดจนสมบูรณ จึง
ขอขอบพระคุณทานเจาของตํารา บริษัท สํานักพิมพที่ใชในการอางอิงเปนอยางสูง ทานเปนผูหนึ่งที่ทําใหวงวิชาการ
ขยายแผไพศาล คณะผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการสอนหลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental
Accounting Principles) เลมนี้จะเปนประโยชนตอนักศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไปตามวัตถุประสงคขางตน
อังคณา นุตยกุล
วิไล ศรีธนางกูล
ประทินพร แรมวัลย
2 พฤษภาคม 2552
คํานําพิมพครั้งที่ 2
ในการจัดพิมพครั้งนี้ ผูเขียนไดปรับปรุงเนื้อหาในแตละบทใหทันสมัยขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับการ
เปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ขอขอบพระคุณผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่ใหโอกาสและสนับสนุนในการจัดทําตําราวิชาการ
เลมนี้ และขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรการบัญชีทุกๆทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือใหตําราเลมนี้เสร็จสิ้น
สมบูรณ ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา ตํารา หลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2554) เลมนี้จะเปนประโยชนตอผูศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไป และหากมีขอเสนอแนะโปรดติดตอไดที่
pratinporn_rae@dusit.ac.th จักขอบพระคุณยิ่ง
อังคณา นุตยกุล
วิไล ศรีธนางกูล
ประทินพร แรมวัลย
31 พฤษภาคม 2554
คําอธิบายรายวิชา
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5)
ศึกษาความสําคัญของขอมูลทางการบัญชี บทบาทหนาที่ของหนวยงานบัญชีในองคกร
หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี การบัญชีสําหรับกิจการบริการ กิจการพณิชยกรรม
และกิจการอุตสาหกรรม การบัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม การจัดทํางบการเงินและการวิเคราะหขอมูล
เบื้องตนจากงบการเงิน
สารบัญ
หนา
คํานํา (1)
สารบัญ (5)
สารบัญภาพ (9)
สารบัญตาราง (11)
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของการบัญชี 1
ประวัติของการบัญชี 1
ความหมายของการบัญชี 2
ความหมายของการทําบัญชี 3
ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี 3
ผูทําบัญชี 4
ประโยชนของขอมูลทางการบัญชี 4
ประเภทของการบัญชี 5
ประเภทของกิจการ 5
แมบทการบัญชี 7
สถาบันที่เกี่ยวของกับวิชาชีพบัญชี 13
จริยธรรมของผูประกอบวิชาชีพบัญชี 13
งบการเงิน 14
ความหมายของงบการเงิน 15
งบแสดงฐานะการเงิน 16
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 24
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ 33
งบกระแสเงินสด 35
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 38
สรุป 40
แบบฝกหัด 42
บทที่ 2 หลักการบันทึกบัญชี 45
หลักการบันทึกบัญชี 45
แนวคิดทางการบัญชี 46
รายการคา 46
เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี 47
สมการบัญชี 48
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
(4)
การวิเคราะหรายการคากับสมการบัญชี 49
หลักการบัญชีคู 54
ผังบัญชี 61
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีและการจัดทํางบทดลอง 64
ประเภทของสมุดบัญชี 65
การบันทึกรายการคาในสมุดรายวันทั่วไป 67
การบันทึกรายการคาในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป 74
งบทดลอง 84
สรุป
แบบฝกหัด
88
89
บทที่ 3 การวัดผลการดําเนินงาน 99
เกณฑที่ใชในการบันทึกบัญชี 99
การปรับปรุงรายการบัญชี 99
การแกไขขอผิดพลาดทางการบัญชี 130
งบทดลองหลังการปรับปรุง 136
กระดาษทําการ 138
รายการปดบัญชี 145
รายการเปดบัญชี 154
การโอนกลับรายการ 155
สรุป 157
แบบฝกหัด 158
บทที่ 4 การบัญชีสําหรับกิจการซื้อขายสินคา 165
การซื้อและการขายสินคา 165
เอกสารที่เกี่ยวกับการซื้อขายสินคา 166
ราคาทุนสินคา 170
คาขนสง 170
สวนลด 172
การรับคืนสินคาและสวนลด 174
การสงคืนสินคาและสวนลด 174
ภาษีมูลคาเพิ่มสําหรับกิจการซื้อขายสินคา 174
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาคงเหลือ 175
ระบบบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือแบบตอเนื่อง 175
ระบบบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือเมื่อสิ้นงวด 180
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
(5)
รายการที่ควรพิจารณานับเปนสินคาคงเหลือ 240
การคํานวณมูลคาสินคาคงเหลือ 241
สรุป 246
แบบฝกหัด 248
บทที่ 5 สมุดรายวันเฉพาะ 257
ความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ 257
ประเภทของสมุดรายวันเฉพาะ 258
สมุดบัญชีแยกประเภทยอย 258
การบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ 260
สมุดรายวันซื้อ 261
สมุดรายวันสงคืนและสวนลด 265
สมุดรายวันขาย 270
สมุดรายวันรับคืนและสวนลด 274
สมุดรายวันรับเงินหรือสมุดเงินสดรับ 279
สมุดรายวันจายเงิน หรือ สมุดเงินสดจาย 285
สรุป 292
แบบฝกหัด 294
บทที่ 6 การบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 301
ความหมายของการบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 301
งบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม 301
การดําเนินงานของกิจการอุตสาหกรรม 306
ลักษณะของการผลิต 308
สวนประกอบของตนทุนการผลิต 308
สินคาคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม 309
การบันทึกบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 310
สรุป 329
แบบฝกหัด 330
บทที่ 7 การวิเคราะหงบการเงิน 337
ความหมายของการวิเคราะหงบการเงิน 337
เทคนิคและวิธีการวิเคราะหงบการเงินของธุรกิจ 337
การวิเคราะหอัตรารอยละตอยอดรวม หรือการวิเคราะหแนวตั้ง 337
การวิเคราะหแนวโนม หรือการวิเคราะหแนวนอน 341
การวิเคราะหงบการเงินโดยใชอัตราสวนทางการเงิน 343
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
(6)
สรุป 357
แบบฝกหัด 358
บทที่ 8 การวิเคราะหเงินทุนดําเนินงานและเงินสด 361
ความหมายของงบแสดงการหมุนเวียน 361
ความหมายของเงินทุนดําเนินงาน 361
ประโยชนของการวิเคราะหเงินทุนดําเนินงาน 362
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนดําเนินงานสุทธิ 362
งบแสดงแหลงที่มาและการใชไปของเงินทุนดําเนินงาน 362
งบกระแสเงินสด
ประโยชนของงบกระแสเงินสด
371
371
รูปแบบการรายงานงบกระแสเงินสด 380
การจัดทํางบกระแสเงินสด 383
สรุป 397
แบบฝกหัด 398
บรรณานุกรม 403
ภาคผนวก 407
สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
1.1 แผนภูมิแมบทการบัญชี สําหรับการจัดทํา และนําเสนองบการเงิน 12
2.1 แผนภูมิวงจรบัญชี 58
5.1 แผนภูมิแสดงความสัมพันธของบัญชีแยกประเภททั่วไปและบัญชีแยกประเภทยอย 256
5.2 แผนภูมิขั้นตอนการทําบัญชีของกิจการที่ใชสมุดรายวันเฉพาะ 258
6.1 แสดงวงจรการบันทึกตนทุนการผลิต 307
6.2 แสดงวงจรการบันทึกตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นในงวดปจจุบัน 325
8.1 สรุปกระแสเงินสดที่เกิดขึ้นในแตละงวดการดําเนินงาน 380
8.2 แสดงการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินสดเมื่อหนี้สินและสวนของเจาของ
เปลี่ยนแปลง
385
8.3 แสดงการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินสดเมื่อสินทรัพยอื่นๆเปลี่ยนแปลง 386
(10)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
2.1 สรุปการวิเคราะหรายการคาของรานภูมิใจบริการ 45
3.1 แสดงการบันทึกบัญชีเปรียบเทียบการตัดจําหนายหนี้สูญตามหลักเกณฑกฎหมาย
ภาษีอากรและตามหลักเกณฑทางบัญชี
117
3.2 แสดงตารางแยกอายุลูกหนี้ 121
3.3 แสดงตารางแยกอายุลูกหนี้ 122
3.4 แสดงการบันทึกการแกไขขอผิดพลาดทางการบัญชี 125
4.1 แสดงเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีสินคาแบบตอเนื่องและระบบ
สินคาเมื่อสิ้นงวด
176
4.2 แสดงการคํานวณราคาทุนสินคาวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ 237
6.1 แสดงขั้นตอนการดําเนินงานของกิจการอุตสาหกรรม 307
6.2 แสดงการบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือในสมุดรายวันทั่วไปเปรียบเทียบ 2 วิธี 319
ฉ
บทที่ 1
ลักษณะทั่วไปของการบัญชี
การบัญชี (accounting) เปนงานบริการอยางหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงานของหนวยงาน
ธุรกิจ (business enterprise) ทั้งหนวยงานที่มีวัตถุประสงคในการแสวงหากําไร (profit organization) และ
หนวยงานที่มิไดแสวงหากําไร (nonprofit organization) แตมุงเนนการบริการอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการ
บัญชีจะชวยใหขอมูลพื้นฐานสําหรับการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจในการเลือกแนวทางปฏิบัติ เพื่อให
สามารถดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมายของหนวยงาน ขอมูลทางการบัญชีจะแสดงอยูในรูปของตัวเลขที่สะทอน
เหตุการณที่เกิดขึ้นแลวจากกิจกรรมตาง ๆ ของหนวยงาน โดยการบัญชีจะเปนแหลงรวบรวมขอมูลอยางมีระบบและให
ขอมูลที่เปนประโยชนแกผูใชขอมูลทั้งภายในและภายนอกหนวยงานสามารถแสดงออกมาในรูปแบบของรายงานที่
แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของใชขอมูลทางการบัญชี ดังนั้นไมวาหนวยงานจะตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคใดผูใช
ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีทั้งภายในกิจการและภายนอกกิจการ ซึ่งตองการวัดคาทางการเงินของหนวยงานนั้น
ๆ จะตองอาศัยขอมูลทางการบัญชีทั้งสิ้น การบัญชีจึงถือไดวาเปนเครื่องมือสําคัญในการวัดคาความสําเร็จและความ
ลมเหลวของหนวยงาน โดยเฉพาะหนวยงานธุรกิจควรมีความรูเกี่ยวกับการบัญชีอยางเพียงพอที่จะใชในการตัดสินใจ
ทางธุรกิจได
ประวัติของการบัญชี
การบัญชีไดกําเนิดขึ้นควบคูกับการประกอบธุรกิจการคาในอดีต โดยมีพัฒนาการอยางตอเนื่องตาม
สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปจากการคนพบหลักฐานในชวงแรกประมาณ 3,000 ปกอนคริสตศักราช จนถึงศตวรรษที่ 13
พบวา การจดบันทึกรายการบัญชี เริ่มตั้งแต สมัยอียิปต บาบิโลเนีย กรีก และโรมัน ซึ่งพบหลักฐานการจดบันทึก
บนแผนดินเหนียว และบนแผนขี้ผึ้ง โดยบันทึกขอมูลทางการบัญชีเปนแผนแสดงรายรับ แผนแสดงรายจาย แผนแสดง
การผลิต แผนแสดงหนี้สิน รวมทั้งบันทึกสินคาคงเหลือปลายงวด รายงานประจําเดือน และรายงานประจําป การบันทึก
รายการบัญชีดังกลาว บันทึกไวทั้งสองดาน คือ ดานรายรับแสดงการรับเงินสดจากใคร และดานรายจายแสดงการ
จายเงินสดใหใคร ตอมาในปลายศตวรรษที่ 13 เริ่มพบหลักฐานการจดบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู (double
entry book keeping) ที่เมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี แตหลักฐานที่แสดงการบันทึกรายการบัญชีคูที่สมบูรณ
พบที่ เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ในป ค.ศ. 1340 ซึ่งเปนศูนยกลางทางการคาในยุคที่ประเทศอิตาลีมีความ
เจริญรุงเรือง ในป ค.ศ. 1494 ฟรา ลูกา ปาซิโอลิ (Fra Luca Pacioli) ชาวอิตาเลียนไดเขียนหนังสือเชิง
คณิตศาสตรเลมหนึ่ง ชื่อ “The Summa de Arithmetica Geometria Proportionate Proportionalita” ซึ่งมีบท
หนึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับหลักการบัญชีคู โดยใชสมการพีชคณิตเปนพื้นฐานวาสินทรัพยเทากับหนี้สินบวกสวนของ
เจาของและผลบวกของเดบิตเทากับผลบวกของเครดิต ซึ่งถือเปนแนวคิดของหลักการบัญชีคูที่สําคัญไดใชมาจนถึง
ปจจุบันและฟราลูกาปาซิโอลิ ไดรับการยกยองเปนบิดาแหงการบัญชี (เมธากุล เกียรติกระจายและศิลปพร ศรีจั่นเพชร,
2544, หนา 1 – 4)
แนวคิดทางการบัญชีไดพัฒนาปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่ซับซอนมากขึ้น จาก
ผลกระทบการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 19 และตนศตวรรษที่ 20 ทําใหเกิด
การพัฒนาการทางการบัญชีในเรื่องตาง ๆ เชน การประกอบการคาเปลี่ยนจากธุรกิจเจาของคนเดียวมาเปนหาง
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
2
หุนสวนและบริษัทจํากัด แนวคิดทางการบัญชีจากการใชทฤษฎีความเปนเจาของ (ownership theory) เปลี่ยนเปน
ทฤษฎีความเปนหนวยงาน (entity theory) แยกเปนอิสระจากเจาของหรือผูลงทุน มีการดําเนินงานตอเนื่อง
(going concern) และวัดผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นงวดระยะเวลาหนึ่ง ๆ แทนที่จะวัดผลการดําเนินงานเมื่อการคา
สิ้นสุดลง และในชวงดังกลาวประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เริ่มกอตั้งสมาคมวิชาชีพซึ่งมีอิทธิพลอยางมากตอ
วิวัฒนาการทางการบัญชี ประเทศไทยก็ไดรับอิทธิพลจากสมาคมวิชาชีพของประเทศดังกลาวจนถึงปจจุบัน
การบัญชีในประเทศไทยปรากฏหลักฐานมีการตราพระราชบัญญัติลักษณะเขาหุนสวน และบริษัท
รัตนโกสินทรศก 130 (พ.ศ. 2455) กําหนดใหบริษัทจํากัดตองจัดทําบัญชี และมีผูสอบบัญชีตรวจสอบ จนกระทั่งมี
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลตอการตื่นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศมาก ในป พ.ศ. 2482
รัฐบาลไดออกประมวลรัษฎากรมาบังคับใชจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลจากกําไรสุทธิสําหรับป และจัดเก็บภาษีเงิน
ไดบุคคลธรรมดาโดยประเมินจาก ยอดรายรับหรือรายได และมีการตราพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2482
กําหนดใหผูประกอบการธุรกิจตองจัดทําบัญชีเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร โดยบังคับให
หางรานตาง ๆ จัดทําบัญชี 5 เลม ประกอบดวย
1. บัญชีทรัพยสินรวมสินคาในครอบครอง
2. บัญชีเงินสด
3. บัญชีลูกหนี้ และบัญชีเจาหนี้
4. บัญชีรายวันซื้อ และรายวันขาย
5. บัญชีแยกประเภทรายได และคาใชจาย
นอกจากนั้นการจัดทําบัญชีตองบันทึกเปนภาษาไทย ถาเปนภาษาตางประเทศจะตองกํากับ
ภาษาไทยไว และจัดทํางบการเงินอยางนอยปละ 1 ครั้ง
ความหมายของการบัญชี
ความหมายของคําวา “การบัญชี” ตามพจนานุกรม หมายถึง ทะเบียนสมุด หรือกระดาษที่จด
รายชื่อและจํานวน
สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตของสหรัฐอเมริกา (The American Institute of
Certified Public Accountants) เรียกยอ ๆ วา “AICPA” ไดกลาวเกี่ยวกับ คําวา “การบัญชี” ไว ดังนี้ (อางถึงใน
เมธากุล เกียรติกระจายและศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 31)
“Accounting is the art of recording, classifying and summarizing in significant manner
and in terms of money transactions and events which are, in part at least, of a financial character and
interpreting the results there of”
จากการแปลความขางตน “การบัญชีเปนศิลปะของการนํารายการหรือเหตุการณที่เกี่ยวกับการเงิน
มาจดบันทึกและจัดใหเปนหมวดหมูพรอมทั้งสรุปผลในรูปจํานวนเงิน ตลอดจนการวิเคราะหความหมายจากผลนั้น
ดวย”
สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย (2538, หนา 4) ไดใหคําจํากัดความ
ของการบัญชีไวดังนี้ “การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนกและทําสรุปขอมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
3
ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดทายของการบัญชี คือ การใหขอมูลทางการเงินซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลาย
ฝายและผูที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ
จากคําจํากัดความดังกลาว สามารถสรุปสาระสําคัญไดดังนี้
1. การจดบันทึก (recording) เปนการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณเกี่ยวกับการเงินตามลําดับ
วันที่
2. การจําแนก (classifying) เปนการนําขอมูลที่จดบันทึกไวมาจําแนกหรือจัดประเภทรายการ
ออกเปนหมวดหมู เชน หมวดสินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย
3. การสรุปผล (summarizing)เปนการนําขอมูลที่จําแนกไวเปนหมวดหมูมาสรุปจัดทําไวในรูปของ
งบการเงินเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งประกอบดวยงบดุล งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน
4. การแปลความหมาย (interpreting) เปนการนํางบการเงินมาวิเคราะหและสรุปแปลความหมาย
หรือเปรียบเทียบรายการที่สําคัญของเหตุการณในปปจจุบันกับในอดีตและเพื่อคาดการณเหตุการณในอนาคต
เพื่อใหผูใชงบการเงินนําไปพิจารณาตัดสินใจ
ความหมายของการทําบัญชี
การทําบัญชี (book keeping) หมายถึง “การบันทึกรายการทางบัญชีที่เกิดขึ้น เพื่อเปนฐานในการ
จัดทํารายงานทางการเงิน” (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2538, หนา 24) หรือ
กลาวไดวาเปนการบันทึกรายการ หรือขอมูลทางการบัญชีในสมุดบัญชีของกิจการตามที่ไดวางระบบบัญชีไว
เรียบรอยแลว เชน บันทึกรายการในสมุดรายการขั้นตน ไดแก สมุดรายวันเฉพาะ สมุดรายวันทั่วไป และผาน
รายการจากสมุดรายวันไปสมุดบัญชี ขั้นปลาย คือ บัญชีแยกประเภท การบันทึกรายการปรับปรุง การปดบัญชี
และการจัดทํางบการเงิน ผูที่มีหนาที่จัดทําดังกลาว เรียกวา ผูทําบัญชี (bookkeeper)
ความแตกตางของการบัญชีกับการทําบัญชี
เนื่องจากการบัญชีกับการทําบัญชีมีความเกี่ยวของกับขอมูลทางการบัญชีเชนเดียวกัน แตถา
พิจารณาจากลักษณะและขอบเขตของงานแลวจะเห็นไดวาการทําบัญชีจะเปนสวนหนึ่งของการบัญชี กลาวคือ
ผูทําหนาที่เกี่ยวกับการบัญชีเรียกวา นักบัญชี (accountant) จะทําหนาที่ที่มีขอบเขตงานกวางกวางานของผูทํา
บัญชี โดยนักบัญชีนอกจากจะจดบันทึกการบัญชีในสมุดรายวันขั้นตน สมุดรายวันขั้นปลาย และจัดทํางบการเงิน
แลว นักบัญชียังสามารถออกแบบและวางระบบบัญชี กําหนดนโยบายบัญชี วิเคราะหและแปลความหมายขอมูล
ของงบการเงิน และตรวจสอบบัญชี ตลอดจนจัดทํารายการเฉพาะเรื่องทางการบัญชีตามที่ผูบริหารมอบหมาย
ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี
ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี หมายถึง ผูมีหนาที่จัดใหมีการทําบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.
2543 ซึ่งกําหนดผูมีหนาที่จัดทําบัญชีในประเทศไทยไว ดังนี้
1. หางหุนสวนจดทะเบียน
2. บริษัทจํากัด
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
4
3. บริษัทมหาชนจํากัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
4. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
5. กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร
6. สถานที่ประกอบการธุรกิจเปนประจําในสถานที่หลายแหงแยกจากกัน ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบใน
การจัดการธุรกิจในสถานที่นั้น เปนผูมีหนาที่จัดทําบัญชี
7.บุคคลธรรมดา หางหุนสวนสามัญตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
ผูทําบัญชี
ผูทําบัญชีตามความหมายของพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หมายถึง ผูรับผิดชอบในการทําบัญชี
ของผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ไมวาจะกระทําในฐานะเปนลูกจางของผูมีหนาที่จัดทําบัญชีหรือไม โดยผูมีหนาที่จัดทําบัญชี
ตองจัดใหมีผูทําบัญชี ซึ่งเปนผูมีคุณสมบัติและเงื่อนไขตามที่อธิบดีกรมทะเบียนการคา ประกาศกําหนดคุณสมบัติและ
เงื่อนไขของการเปนผูทําบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2544 ดังตอไปนี้
1. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชี
หรือเทียบเทา จากสถาบันการศึกษาซึ่งทบวงมหาวิทยาลัย คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือ
กระทรวงศึกษาธิการเทียบวาไมต่ํากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชี สามารถ
จัดทําบัญชีใหหางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่ง ณ วันปดบัญชีในรอบปบัญชีที่
ผานมา มีทุนจดทะเบียนไมเกิน 5 ลานบาท มีสินทรัพยรวมไมเกิน 30 ลานบาทและมีรายไดรวมไมเกิน 30 ลานบาท
2. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการบัญชีหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาซึ่ง
ทบวงมหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) หรือกระทรวงศึกษาธิการ เทียบวาไมต่ํากวาปริญญาตรี
ทางการบัญชีสามารถจัดทําบัญชีใหแกกิจการ ดังตอไปนี้
2.1 หางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งณ วันปดบัญชีใน
รอบปบัญชีที่ผานมามี ทุนจดทะเบียนหรือสินทรัพยรวมหรือรายไดรวมรายการใดรายการหนึ่งเกินกวาที่กําหนดไว
2.2 บริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
2.3 นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
2.4 กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร
2.5 ผูประกอบธุรกิจธนาคาร เงินทุนหลักทรัพย เครดิตฟองซิเอร ประกันชีวิตประกันวินาศภัย
2.6 ผูประกอบธุรกิจ ซึ่งไดรับการสงเสริมการลงทุนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน
ประโยชนของขอมูลทางการบัญชี
ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของผูใชขอมูล ซึ่งผูใชขอมูลทางบัญชีจําแนกได
2 ประเภท คือ บุคคลภายในกิจการและบุคคลภายนอกกิจการ ดังนั้นประโยชนของขอมูลทางการบัญชีมีไดดังตอไปนี้
1. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีที่มีตอบุคคลภายในกิจการ ซึ่งไดแก ผูบริหาร และฝายจัดการ
และพนักงาน มีดังนี้
1.1 เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจ
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
5
1.2 ทําใหทราบถึงเหตุการณและสถานการณทางการเงินที่แทจริงของกิจการใหมากที่สุด และ
รวดเร็วที่สุด
1.3 ทําใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและความสามารถในการทํากําไรของกิจการ เพื่อใช
ประเมินความสามารถในการจายคาตอบแทน บําเหน็จรางวัล สวัสดิการ และโอกาสการจางงาน
2. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีที่มีตอบุคคลภายนอกกิจการ ซึ่งไดแก เจาหนี้ของกิจการ ผูถือหุน
บุคคลทั่วไป และหนวยงานรัฐบาล มีดังนี้
2.1 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการประเมินฐานะความมั่นคงทางการเงินของกิจการ
2.2 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการพิจารณาการใหสินเชื่อ การติดตามทวงถามลูกหนี้ ตลอดจน
ความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้
2.3 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการคํานวณภาษีอากรใหกับภาครัฐ
ประเภทของการบัญชี
เนื่องจากความตองการใชขอมูลการบัญชีมีความแตกตางกันไปตามประเภทของผูใชขอมูลและ
วัตถุประสงคของการใชการบัญชีจึงแบงออกได 3 ประเภท (กาญจนา ศรีพงษ, 2545,หนา 1-7 และ 1-8) ดังนี้
1. การบัญชีการเงิน (financial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก บุคคลภายนอก ซึ่งไมมี
สวนเกี่ยวของในการดําเนินงานขององคกรไดแก ผูลงทุน ผูใหสินเชื่อ หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป
ขอมูลการบัญชีเสนอในรูปแบบของงบการเงิน ไดแก งบแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการตัดสินใจ
2. การบัญชีเพื่อการจัดการ (managerial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก ผูบริหารของ
องคกร นอกเหนือจากรายงานทางการบัญชีการเงิน การบัญชีเพื่อการจัดการยังใหขอมูลอื่น ๆ ที่จําเปนในการ
บริหารจัดการเปนการภายใน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการวางแผน และการควบคุมการดําเนินงานใหมี
ประสิทธิภาพ
3. การบัญชีภาษีอากร (tax accounting) เกี่ยวของในเรื่องการประเมินภาษี และการวางแผนทาง
ภาษี ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของหนวยงาน กรณีหนวยงานรัฐบาล เชน กรมสรรพากรจะจางนักบัญชีภาษีอากรทํา
หนาที่จัดเก็บภาษี ประเมินภาษี และตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในแบบฟอรมการเสียภาษีของผูเสียภาษี ซึ่ง
จะชวยใหองคกรไดรับการลดหยอนในการเสียภาษี เชน การบริจาคเงินใหสาธารณชน สําหรับหนวยงานธุรกิจนัก
บัญชีภาษีอากรชวยผูเสียภาษีในการกรอกแบบฟอรม การคํานวณ และวางแผนทางภาษี
ประเภทของกิจการ
สามารถแบงประเภทของกิจการไดเปน 2 ลักษณะ โดยแบงตามรูปแบบการจัดตั้งกิจการ และแบงตาม
รูปแบบการประกอบการ
1. ประเภทของกิจการตามรูปแบบการจัดตั้งกิจการ แบงเปน 3 ประเภทดังนี้
1.1 กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorships)เปนกิจการที่มีบุคคลคนเดียว
เปนผูกอตั้งและเปนเจาของ โดยเจาของจะนําเงินสดและสินทรัพยมาลงทุนในกิจการเพียงผูเดียว เจาของจะเปนทั้งผู
ลงทุนในกิจการและเปนผูบริหารดูแลการบริหารในทุกสวนของกิจการ หากกิจการมีผลกําไรจากการดําเนินงาน กําไรที่
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
6
เกิดขึ้นนั้นจะเปนของเจาของ แตหากกิจการมีผลขาดทุนหรือมีความรับผิดชอบในหนี้สิน เจาของจะตองรับผลขาดทุน
นั้นทั้งหมดและรับผิดชอบในหนี้สินทั้งหมดของกิจการ โดยไมจํากัดจํานวนแตเพียงผูเดียว รูปแบบของกิจการ
เจาของคนเดียว เชน รานคาปลีก สํานักงานบัญชี อูซอมรถยนต เปนตน
1.2 หางหุนสวน (partnership) เปนกิจการที่มีบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมกันจัดตั้ง
ขึ้นทําสัญญาตกลงเขาเปนหุนสวนทํากิจการรวมกัน มีวัตถุประสงคที่จะแบงปนผลกําไรขาดทุนที่เกิดจากการดําเนิน
กิจการตามที่ไดตกลงกันไวในสัญญา ผูเปนหุนสวนอาจนําเงินสด หรือ สินทรัพย หรือแรงงานมารวมลงทุนในกิจการ
การขยายกิจการของหางหุนสวนสามารถทําไดงายกวากิจการเจาของคนเดียว ประเภของหางหุนสวนตามกฎหมาย
แบงเปน 2 ประเภท คือ หางหุนสวนสามัญ และหางหุนสวนจํากัด
1.2.1 หางหุนสวนสามัญ (Ordinary Partnership หรือ Unlimited Partnership)
เปนหางหุนสวนที่ผูเปนหุนสวนทุกคนตองรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวน ดังนั้นการลงทุนของ
ผูเปนหุนสวนจะลงทุนดวยสินทรัพย หรือแรงงานก็ได ผูเปนหุนสวนทุกคนมีสิทธิเขามาบริหารงานเอง โดยแบงหนาที่กัน
ทําหรือแตงตั้งใหหุนสวนคนใดคนหนึ่งเปนผูจัดการ แลวดําเนินการในนามของหางหุนสวน หางหุนสวนสามัญจะจด
ทะเบียนเปนนิติบุคคลหรือ ไมจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ได ถาหางหุนสวนสามัญจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจะเรียกวา
หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล จัดเปนบุคคลตามกฎหมายแยกตางหากจากผูเปนหุนสวน
1.2.2 หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) เปนหางหุนสวนที่ประกอบดวยผู
เปนหุนสวน 2ประเภท คือ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ และหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ โดยที่
หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ ผูเปนหุนสวนจะรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนไมเกินจํานวนเงินที่ตนรับจะ
ลงทุนในหางหุนสวน การลงทุนจะตองลงทุนดวยเงินสดหรือสินทรัพยเทานั้น จะลงทุนดวยแรงงานไมได จึงไมมีสิทธิที่จะ
เขามาบริหารงานหรือดําเนินการในนามของหางหุนสวน จะมีสิทธิเพียงการออกความเห็นใหคําแนะนําและตรวจสอบการ
ดําเนินงานของหางได สวนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ ผูเปนหุนสวนจะรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวน
โดยไมจํากัดจํานวน การลงทุนจะลงทุนดวยเงินสด สินทรัพย หรือแรงงานก็ได และมีสิทธิที่จะเขามาบริหารงานหรือ
ดําเนินการในนามของหางหุนสวนได หางหุนสวนจํากัดกฎหมายกําหนด ใหจะตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ถาไมไดจด
ทะเบียนกฎหมายใหถือวาหางหุนสวนนั้นเปน หางหุนสวนสามัญ
1.3 บริษัทจํากัด(corporation) เปนกิจการที่กฎหมายกําหนดใหจดทะเบียนเปนนิติ
บุคคล มีบุคคลเริ่มกอตั้งบริษัท ตั้งแต 7 คนขึ้นไป แบงทุนของกิจการออกเปนหุนมีมูลคาหุนละเทา ๆ กัน และนํา
ออกจําหนายใหผูที่จะลงทุนซื้อหุนของบริษัท เรียกวา ผูถือหุน (stockholder) ผูถือหุนจะรับผิดชอบหนี้สินของ
กิจการไมเกินจํานวนคาหุนที่ยังชําระไมครบ การแบงประเภทบริษัทจํากัดตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ
บริษัทจํากัด และ บริษัทมหาชนจํากัด
1.3.1 บริษัทจํากัด (Private Company Limited) หรือ บริษัทเอกชนจํากัด เปน
บริษัทที่จัดตั้งตามประมวลกฎหมายแพงพาณิชย มีผูรวมกอการจัดตั้งอยางนอย เจ็ดคนรวมตกลงจัดตั้งบริษัท โดย
แบงทุนของกิจการเปนหุนมีมูลคาหุนละเทากัน มูลคาหุนตองไมต่ํากวาหุนละ 5 บาท บริษัทจะขายหุนต่ํากวาราคาตาม
มูลคาไมได และไมสามารถขายหุนใหแกประชาชนทั่วไปได การชําระคาหุนครั้งแรกเมื่อจัดตั้งบริษัทตองไมนอยกวา
25%ของมูลคาหุน หากมีสวนเกินมูลคาหุนใหชําระใน ครั้งแรก ผูถือหุนจะมีความรับผิดชอบจํากัดไมเกินจํานวนเงินที่
ตนยังใชไมครบมูลคาของหุนที่ตนถือ บริษัทจะซื้อหุนสามัญของบริษัทกลับคืนไมไดและไมสามารถออกหุนกูได
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
7
1.3.2 บริษัทมหาชนจํากัด (Public Company Limited) เปนบริษัทที่จัดตั้งตาม
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อเสนอขายหุนตอประชาชน มีผูเริ่มจัดตั้ง
บริษัทตั้งแตสิบหาคนขึ้นไป แบงทุนของกิจการเปนหุนมีมูลคาหุนละเทากัน บริษัทออกขายหุนต่ํากวาราคาตามมูลคา
ได ผูถือหุนตองชําระคาหุนเมื่อจัดตั้งบริษัทโดยชําระคาหุนเต็มมูลคาในครั้งเดียว บริษัทสามารถที่จะซื้อหุนสามัญของ
บริษัทกลับคืนไดและสามารถสามารถออกหุนกูได และไมวาบริษัทจะมีการจายเงินปนผลหรือไม ตองมีการตั้งสํารอง
ตามกฎหมาย อยางนอยหนึ่งในยี่สิบสวนของจํานวนผลกําไรที่บริษัทหาไดหรือรอยละ 5 ของกําไรสุทธิในปนั้น ๆ และ
สามารถหยุดไดเมื่อสํารองตามกฎหมายมีจํานวนถึงหนึ่งในสิบหรือรอยละ 10 ของจํานวนทุนจดทะเบียน
2. ประเภทของกิจการตามรูปแบบลักษณะการประกอบการ แบงปน 2 ประเภท ดังนี้
2.1 ธุรกิจบริการ (service firm) เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการใหบริการแกลูกคา
โดยไดรับคาตอบแทนเปนคาบริการ เชน สํานักงานบัญชี ธุรกิจขนสง อูซอมรถ ธนาคาร โรงพยาบาล โรงแรม เปนตน
2.2 ธุรกิจพณิชยกรรม เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการขายสินคา แบงปน 2
ประเภท คือ ธุรกิจซื้อขายสินคา และธุรกิจผลิตสินคา
2.2.1 ธุรกิจซื้อขายสินคา (merchandising firm) หรือธุรกิจจําหนาย
สินคา เปนกิจการที่ซื้อสินคามาเพื่อขาย เชน หางสรรพสินคา ธุรกิจคาสง เปนตน
2.2.2 ธุรกิจผลิตสินคา (manufacturing firm) หรือกิจการอุตสาหกรรม
เปนธุรกิจที่ซื้อวัตถุดิบมาแปลงสภาพใหเปนสินคาสําเร็จรูปเพื่อจําหนายใหแกกิจการอื่น หรือผูบริโภค เชน โรงงาน
ตัดเย็บเสื้อผา โรงงานกลั่นน้ํามัน โรงงานผลิตรถยนต เปนตน
แมบทการบัญชี
แมบทการบัญชี (accounting framework) กําหนดขึ้นเพื่อวางแนวคิดที่เปนพื้นฐานในการจัดทําและ
นําเสนองบการเงินแกผูใชงบการเงินที่เปนบุคคลภายนอก แมบทการบัญชีมีวัตถุประสงค ดังนี้(สภาวิชาชีพบัญชี, 2549,
หนา 4)
1.1 เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการพัฒนามาตรฐานการ
บัญชีในอนาคตและในการทบทวนมาตรฐานการบัญชีที่มีในปจจุบัน
1.2. เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการปรับขอกําหนดมาตรฐาน
และการปฏิบัติทางบัญชีที่เกี่ยวของกับการนําเสนองบการเงินใหสอดคลองกันโดยถือเปนหลักเกณฑในการลด
จํานวนทางเลือกของวิธีการบันทึกบัญชีที่เคยอนุญาตใหใช
1.3 เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูจัดทํางบการเงินในการนํามาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติรวมทั้งเปน
แนวทางในการปฏิบัติสําหรับเรื่องที่ยังไมมีมาตรฐานการบัญชีรองรับ
1.4 เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูสอบบัญชีในการแสดงความเห็นตองบการเงินวาไดรับจัดทําขึ้น
ตามมาตรฐานการบัญชีหรือไม
1.5 เพื่อชวยใหผูใชงบการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงใน งบการเงินซึ่ง
จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี
1.6 เพื่อใหผูสนใจไดทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของ
คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
8
ขอบเขตเนื้อหาของแมบทการบัญชี
แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินในเรื่องเกี่ยวกับผูใช
งบการเงิน วัตถุประสงคของงบการเงิน ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบ
การเงิน องคประกอบของงบการเงิน การรับรูองคประกอบของงบการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคาและแนวคิด
เกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนโดยสรุปรายละเอียด(เมธากุล เกียรติกระจาย, และศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544,
หนา 96-116) ไดดังนี้
2.1. ผูใชงบการเงิน ประกอบดวย บุคคลฝายตาง ๆ ที่สนใจขอมูลทางการบัญชี ที่จะบอกถึง
ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของกิจการเพื่อใชในการวางแผนและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ สามารถตอบสนอง
ความตองการที่แตกตางกันตามประเภทของผูใชงบการเงิน ดังนี้
2.1.1 ผูบริหารของกิจการตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประโยชนในการ
วางแผน ควบคุมและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ
2.1.2 ผูลงทุนตองการทราบขอมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการ
ลงทุน
2.1.3 ผูใหกูและเจาหนี้ตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อทราบถึงความมั่นคง
ทางการเงิน สภาพคลองและแสดงความสามารถของกิจการในการชําระหนี้
2.1.4 ลูกจางหรือกลุมตัวแทนตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประเมิน
ความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน
2.1.5 ลูกคาตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการโดยเฉพาะ
ตองการมีความสัมพันธอันยาวนาน หรือตองการพึ่งพากิจการ
2.1.6 รัฐบาลและหนวยงานราชการตองการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการ
เพื่อการจัดสรรทรัพยากร การกํากับดูแล การกําหนดนโยบายทางภาษี การจัดทําสถิติดานตาง ๆ และเพื่อใชเปน
ฐานในการคํานวณรายไดประชาชาติ
2.1.7 สาธารณชนตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวโนมการดําเนินงานและความสําเร็จ
ของกิจการ เพราะอาจไดรับผลกระทบตอสาธารณชนเกี่ยวกับการจางงานและการรับซื้อสินคาจากผูผลิต
2.2 วัตถุประสงคของงบการเงิน หมายถึง ประโยชนที่ไดรับจากการใชงบการเงินประเภทตาง ๆ
เชน งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี
หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบประกอบอื่น และคําอธิบายที่ทําใหงบการเงินนั้นสมบูรณ ซึ่งในแตละงบการเงินมี
วัตถุประสงคที่ใหประโยชนตาง ๆ กัน เชน ประโยชนในการตัดสินใจลงทุนและใหสินเชื่อ ประโยชนในการประเมิน
กระแสเงินสดเกี่ยวกับจํานวนเงิน จังหวะเวลาและความแนนอนของเงินสดที่พึงไดรับ ประโยชนในการไดทราบ
ขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ประโยชนในการ
ประเมินสภาพการณในอนาคตได และประโยชนในการใชขอมูลของงบการเงินประเมินผลการบริหารงานเพื่อ
ความรับผิดชอบของผูบริหารได
2.3 ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน เปนขอกําหนดของแมบทการบัญชี เพื่อใหงบ
การเงินบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งประกอบดวย เกณฑคงคาง และการดําเนินงานตอเนื่อง
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
9
2.3.1 เกณฑคงคาง หมายถึง รายการและเหตุการณทางการบัญชี จะรับรูเมื่อเกิดขึ้น
มิใชเมื่อมีการรับหรือจายเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด ทําใหกิจการตองบันทึกบัญชีรายไดคางรับเปนขอมูล
เกี่ยวกับทรัพยากรที่จะไดรับเงินสดในอนาคต ซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูรายได
แลว แตยังไมไดรับชําระเงิน การบันทึกบัญชีรายไดรับลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่ยังไม
เขาเกณฑการรับรูรายไดแตกิจการไดรับเงินสดแลว การบันทึกบัญชีคาใชจายคางจายเปนขอมูลเกี่ยวกับภาระ
ผูกพันที่กิจการตองจายเปนเงินสดในอนาคตซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูคาใชจาย
แลวแตกิจการยังไมไดจายชําระเงิน และการบันทึกบัญชีคาใชจายจายลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทาง
บัญชีที่ยังไมเขาเกณฑการรับรูคาใชจาย แตกิจการไดจายชําระเงินแลว
2.3.2 การดําเนินงานตอเนื่อง หมายถึง กิจการจะดําเนินงานตอเนื่อง และดํารงอยูตอไป
ในอนาคตเพื่อใหประสบผลสําเร็จตามแผนและเปาหมายและขอผูกพันที่ไดกําหนดไวงบการเงินจึงตองดําเนินการ
ตามเกณฑคงคางและการดําเนินงานตอเนื่องเพื่อประเมินความสามารถในการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการ
นอกจากกิจการมีเจตนาหรือมีความจําเปนเลิกกิจการ หรือ ไมสามารถดําเนินงานอยางตอเนื่องตอไปได กิจการ
ตองเปดเผยขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ หรือเงื่อนไขที่เปนเหตุใหกิจการไมสามารถดําเนินงานตอไปได รวมทั้ง
เปดเผยหลักเกณฑที่ใชในการจัดทํางบการเงินดวย
2.4 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน ตามแมบทการบัญชี หมายถึง คุณสมบัติที่ทําใหขอมูล
ในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน กลาวคือ ชวยใหผูจัดทํางบการเงินมีบรรทัดฐานในการตัดสินใจเลือก
วิธีการบัญชีและผูใชงบการเงินมีความเขาใจตรงกับผูจัดทํางบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงิน
แมบทการบัญชีไดกําหนดไวมี 4 ประการดังนี้
2.4.1 ความเขาใจได (understandability) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีที่นําเสนอในงบ
การเงินตองชวยใหผูใชงบการเงินเขาใจ และใชประโยชนตอการตัดสินใจของผูใชที่มีความรูพื้นฐานอยางเพียงพอ
แมขอมูลจะมีความซับซอน แตถาเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ผูจัดทํางบการเงินยังคงตองเสนอขอมูล ซึ่งแมบทการ
บัญชีไดกําหนดวากิจการยังคงตองเปดเผยขอมูลที่จําเปน เนื่องจากขอมูลที่นําเสนอจะใหประโยชนแกผูใชงบ
การเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ
2.4.2 ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (relevance) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีชวยใหผูใชงบ
การเงินสามารถคาดคะเนฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในอนาคต รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ เชน การจายเงินปนผล
การจายคาจาง ความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดไดเพียงไร เพื่อนักลงทุนตัดสินใจซื้อหุน และไดรับ
ผลตอบแทนคุมคากับเงินที่ลงทุนหรือเรียกวา เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งขอมูลนั้น
มีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ การใหความรูเกี่ยวกับผลลัพธของการตัดสินใจในอดีต ซึ่งสามารถนํามาใชในการ
ตัดสินใจในอนาคต อีกทั้งชวยคาดคะเน หรือยืนยันเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและเปนขอมูลที่พรอมจะ
นําไปใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่เกี่ยวของไดตามความตองการ นอกจากนั้นในเรื่องความมีนัยสําคัญ
(materiality) ของขอมูลทางการบัญชี ถาผูใชงบการเงินไมไดรับทราบแลว อาจตัดสินใจผิดไปจากกรณีที่ได
รับทราบ ซึ่งจะมีผลกระทบตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชงบการเงินได
2.4.3 ความเชื่อถือได (reliability) หมายถึง ขอมูลนั้นไมมีความผิดพลาดที่มีนัยสําคัญ หรือไม
มีความลําเอียง ผูใชขอมูลสามารถเชื่อไดวาขอมูลนั้นแสดงสภาพทางเศรษฐกิจ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่แสดงความ
เชื่อถือไดของขอมูล ซึ่งมีคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
10
1) การเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรม (faithful representation) หมายถึง การแสดงรายการ
และเหตุผลทางการบัญชีอยางเที่ยงธรรม ตามที่ตองการใหแสดงหรือควรจะแสดงโดยเปนขอมูลที่ชัดเจน และ
แนนอนบางครั้งเปนขอมูลการประมาณการจะมีการประมาณการอยางสมเหตุสมผลและเปนไปตามหลักการบัญชี
ที่รับรองทั่วไป
2) เนื้อหาสําคัญกวารูปแบบ (substance over form) หมายถึง การนําเสนอ งบ
การเงินตามเนื้อหา และความเปนจริงทางเศรษฐกิจ แมเนื้อหาทางเศรษฐกิจของเหตุการณนั้น อาจแตกตางจาก
รูปแบบทางกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหผูใชงบการเงินไดทราบขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรายการ และ
เหตุการณทางบัญชีที่แทจริง
3) ความเปนกลาง (neutrality) หมายถึง การเสนอขอมูลทางการบัญชีที่มีความ
นาเชื่อถือ มีความเปนกลาง สามารถสะทอนกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางแทจริง
4) ความระมัดระวัง (prudence) หรือหลักความระมัดระวัง หมายถึง ในการจัดทํางบ
การเงิน ผูจัดทําควรใชดุลพินิจที่จําเปนในการเลือกปฏิบัติทางการบัญชีภายใตความไมแนนอน เพื่อมิใหสินทรัพย
หรือรายไดแสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สิน หรือคาใชจายแสดงจํานวนต่ําเกินไป ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความมั่นใจวา
กิจการไดคํานึงถึงความเสียหาย หรือความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้น
5) ความครบถวน (completeness) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีตองครบถวน
ภายใตขอจํากัดของความมีนัยสําคัญ และตนทุนในการจัดทํา โดยตนทุนในการจัดทําไมควรสูงกวาประโยชน
2.4.4 การเปรียบเทียบกันได (comparability) หมายถึง การเปรียบเทียบงบการเงิน ของ
กิจการในรอบระยะเวลาตางกันหรือการเปรียบเทียบงบการเงินของธุรกิจตาง ๆ เพื่อใหผูใชงบการเงินสามารถ
ประเมินฐานะทางการเงิน กระแสเงินสด ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน และสามารถ
คาดคะเนแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการที่เปรียบเทียบได
2.5 องคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การจัดประเภทของรายการและเหตุการณทางบัญชีที่
แสดงไวในงบการเงินตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล
ไดแก สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดผลการดําเนินงานในงบ
กําไรขาดทุน ไดแก รายได และคาใชจาย สวนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินสะทอนถึงองคประกอบ
ในงบกําไรขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงองคประกอบในงบดุล
2.6 การรับรูองคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การรวมรายการเขาเปนสวนหนึ่งของงบดุล
และงบกําไรขาดทุน หากรายการนั้นเปนไปตามคํานิยามขององคประกอบ และเขาเกณฑการรับรูรายการที่เปนไป
ตามคํานิยามขององคประกอบใหรับรูเมื่อเขาเงื่อนไขทุกขอดังนี้
2.6.1 มีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการจะ
เขาหรือออกจากกิจการ
2.6.2 รายการดังกลาว มีราคาทุน หรือมูลคาที่สามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ
2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคา หมายถึง การกําหนดจํานวนที่เปนตัวเงินเพื่อรับรูองคประกอบ
ของงบการเงินในงบดุล และงบกําไรขาดทุน แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑในการวัดมูลคาไว ดังนี้
3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles)
11
2.7.1 ราคาทุนเดิม (historical cost) หมายถึง การบันทึกสินทรัพยดวยจํานวนเงินสดหรือ
รายการเทียบเทาเงินสดที่จายไป ณ เวลาที่ไดมาซึ่งสินทรัพยนั้น และบันทึกหนี้สินดวยจํานวนเงินสดหรือรายการ
เทียบเทาเงินสดที่คาดวาจะตองจายเพื่อชําระหนี้สินคาที่เกิดจากการดําเนินงานปกติ
2.7.2 ราคาทุนปจจุบัน (current cost) หมายถึง ราคาสินทรัพยที่ตองจายดวยเงินสดหรือ
รายการเทียบเทาเงินสดเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยชนิดเดียวกัน หรือสินทรัพยที่เทาเทียมกันในขณะนั้น และจํานวน
เงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่ตองชําระหนี้สินในขณะนั้น
2.7.3 มูลคาที่ควรจะไดรับ (realizable cost) หมายถึง มูลคาที่กิจการอาจไดรับเงินสด
หรือรายการเทียบเทาเงินสดจากการขายสินทรัพยในขณะนั้น หรือมูลคาของหนี้สินที่เกิดจากการดําเนินงาน
ตามปกติที่คาดวาตองจายคืนดวยเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด
2.7.4 มูลคาปจจุบัน (present value) หมายถึง การแสดงสินทรัพยดวยมูลคาปจจุบันของ
กระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตซึ่งคาดวาจะไดรับและหนี้สินที่แสดงมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดจายสุทธิซึ่ง
คาดวาจะตองชําระหนี้ภายใตการดําเนินงานตามปกติ
2.8 แนวคิดเกี่ยวกับทุน และการรักษาระดับทุน แนวคิดเกี่ยวกับทุน คือ การหามูลคาของ
สินทรัพยสุทธิ หรือสวนของเจาของ หรือมูลคาของทุนในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ผลแตกตางของสินทรัพยสุทธิ หรือ
มูลคาของทุน ณ วันตนงวดกับวันปลายงวด คือ ผลที่ไดจากการดําเนินงานหรือกําไรในความหมายของนัก
เศรษฐศาสตร กลาวคือ กําไร หมายถึง การเพิ่มขึ้นของสวนทุน แนวคิดการรักษาระดับทุน แบงออกเปน 2 สวน
2.8.1 การรักษาระดับทุนทางการเงิน (financial capital maintenance) หมายถึง แนวคิด
ที่วากําไรเกิดขึ้นเมื่อจํานวนที่เปนตัวเงินของสินทรัพยสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวาจํานวนที่เปนตัวเงิน
ของสินทรัพยสุทธิเมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชี โดยไมรวมรายการที่เกิดขึ้นระหวางกิจการกับเจาของในระหวางรอบ
ระยะเวลาบัญชีนั้น
2.8.2 การรักษาระดับทุนทางการผลิต (physical capital maintenance) แนวคิดที่วากําไร
เกิดขึ้นเมื่อกําลังการผลิตที่กิจการสามารถใชผลิตจริงเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวากําลังการผลิตเมื่อเริ่มรอบ
ระยะเวลาบัญชี หรืออาจแสดงในรูปของทรัพยากรหรือเงินทุนที่ตองจายเพื่อใหไดกําลังการผลิตนั้นโดยไมรวมการ
แบงปนสวนทุนใหกับเจาของหรือเงินทุนที่ไดรับจากเจาของในรอบระยะเวลาเดียวกัน
โดยแมบทการบัญชีสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินสามารถแสดงไดดังภาพที่ 1.1
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม

More Related Content

What's hot

สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าจริงใจ รักจริง
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินtumetr1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

What's hot (20)

สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 

หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม

  • 1.
  • 2. พิมพ์ครั้งที่ 2 หลักการบัญชีเบื้องต้น (Fundamental Accounting Principles) อังคณา นุตยกุล วิไล ศรีธนางกูล ประทินพร แรมวัลย์
  • 3. เอกสารประกอบการสอน หลักการบัญชีเบื้องตน (ปรับปรุงใหม) ผูเรียบเรียง : รองศาสตราจารยอังคณา นุตยกุล ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิไล ศรีธนางกุล ผูชวยศาสตราจารยประทินพร แรมวัลย พิมพครั้งที่ 1 : จํานวน 105 เลม สิงหาคม 2554 พิมพครั้งที่ 2 : จํานวน 250 เลม ธันวาคม 2554 ออกแบบปก : โครงการสวนดุสิต กราฟฟคไซท พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด เอ็ม แอนด เอ็ม เลเซอรพริ้นต โทร : 0-2215-3999
  • 4. คํานํา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้ ไดเรียบเรียงขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน วิชา 3821302 หลักการ บัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5) ตามหลักสูตรบริหารธุรกิจ(ปรับปรุงพ.ศ.2552) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไปสามารถศึกษาคนควาและ ฝกฝนไดดวยตนเอง เกิดความรูความเขาใจใน หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี สําหรับกิจการ บริการ กิจการพณิชยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม ตลอดจนหลักการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนจากงบการเงิน ไดเปน อยางดี เนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ ประกอบดวย ลักษณะทั่วไปของการบัญชี การจัดทํางบการเงิน หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี การบัญชีสําหรับกิจการบริการ การบัญชีสําหรับกิจการพณิชยกรรม การบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม การวิเคราะหงบการเงิน และการวิเคราะหทุนดําเนินงานและเงินสด ในการเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนนี้ คณะผูเรียบเรียงไดนําประสบการณจากการสอนและการศึกษา คนควาหาขอมูลจากแหลงตางๆทั้งภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะอยางยิ่งทานเจาของเอกสาร ตํารา หนังสืออางอิง ที่ ผูเขียนใชในการคนควาอางอิง ทําใหสามารถเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนเลมนี้ไดจนสมบูรณ จึง ขอขอบพระคุณทานเจาของตํารา บริษัท สํานักพิมพที่ใชในการอางอิงเปนอยางสูง ทานเปนผูหนึ่งที่ทําใหวงวิชาการ ขยายแผไพศาล คณะผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการสอนหลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) เลมนี้จะเปนประโยชนตอนักศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไปตามวัตถุประสงคขางตน อังคณา นุตยกุล วิไล ศรีธนางกูล ประทินพร แรมวัลย 2 พฤษภาคม 2552
  • 5. คํานําพิมพครั้งที่ 2 ในการจัดพิมพครั้งนี้ ผูเขียนไดปรับปรุงเนื้อหาในแตละบทใหทันสมัยขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ขอขอบพระคุณผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่ใหโอกาสและสนับสนุนในการจัดทําตําราวิชาการ เลมนี้ และขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรการบัญชีทุกๆทานที่ไดใหคําแนะนําชวยเหลือใหตําราเลมนี้เสร็จสิ้น สมบูรณ ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา ตํารา หลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2554) เลมนี้จะเปนประโยชนตอผูศึกษาและผูสนใจโดยทั่วไป และหากมีขอเสนอแนะโปรดติดตอไดที่ pratinporn_rae@dusit.ac.th จักขอบพระคุณยิ่ง อังคณา นุตยกุล วิไล ศรีธนางกูล ประทินพร แรมวัลย 31 พฤษภาคม 2554
  • 6. คําอธิบายรายวิชา 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน(Fundamental Accounting Principles) 3(2-2-5) ศึกษาความสําคัญของขอมูลทางการบัญชี บทบาทหนาที่ของหนวยงานบัญชีในองคกร หลักการและวิธีทางการบัญชีตามวงจรการบัญชี การบัญชีสําหรับกิจการบริการ กิจการพณิชยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม การบัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม การจัดทํางบการเงินและการวิเคราะหขอมูล เบื้องตนจากงบการเงิน
  • 7.
  • 8. สารบัญ หนา คํานํา (1) สารบัญ (5) สารบัญภาพ (9) สารบัญตาราง (11) บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของการบัญชี 1 ประวัติของการบัญชี 1 ความหมายของการบัญชี 2 ความหมายของการทําบัญชี 3 ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี 3 ผูทําบัญชี 4 ประโยชนของขอมูลทางการบัญชี 4 ประเภทของการบัญชี 5 ประเภทของกิจการ 5 แมบทการบัญชี 7 สถาบันที่เกี่ยวของกับวิชาชีพบัญชี 13 จริยธรรมของผูประกอบวิชาชีพบัญชี 13 งบการเงิน 14 ความหมายของงบการเงิน 15 งบแสดงฐานะการเงิน 16 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 24 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ 33 งบกระแสเงินสด 35 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 38 สรุป 40 แบบฝกหัด 42 บทที่ 2 หลักการบันทึกบัญชี 45 หลักการบันทึกบัญชี 45 แนวคิดทางการบัญชี 46 รายการคา 46 เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี 47 สมการบัญชี 48
  • 9. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) (4) การวิเคราะหรายการคากับสมการบัญชี 49 หลักการบัญชีคู 54 ผังบัญชี 61 การบันทึกรายการในสมุดบัญชีและการจัดทํางบทดลอง 64 ประเภทของสมุดบัญชี 65 การบันทึกรายการคาในสมุดรายวันทั่วไป 67 การบันทึกรายการคาในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป 74 งบทดลอง 84 สรุป แบบฝกหัด 88 89 บทที่ 3 การวัดผลการดําเนินงาน 99 เกณฑที่ใชในการบันทึกบัญชี 99 การปรับปรุงรายการบัญชี 99 การแกไขขอผิดพลาดทางการบัญชี 130 งบทดลองหลังการปรับปรุง 136 กระดาษทําการ 138 รายการปดบัญชี 145 รายการเปดบัญชี 154 การโอนกลับรายการ 155 สรุป 157 แบบฝกหัด 158 บทที่ 4 การบัญชีสําหรับกิจการซื้อขายสินคา 165 การซื้อและการขายสินคา 165 เอกสารที่เกี่ยวกับการซื้อขายสินคา 166 ราคาทุนสินคา 170 คาขนสง 170 สวนลด 172 การรับคืนสินคาและสวนลด 174 การสงคืนสินคาและสวนลด 174 ภาษีมูลคาเพิ่มสําหรับกิจการซื้อขายสินคา 174 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินคาคงเหลือ 175 ระบบบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือแบบตอเนื่อง 175 ระบบบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือเมื่อสิ้นงวด 180
  • 10. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) (5) รายการที่ควรพิจารณานับเปนสินคาคงเหลือ 240 การคํานวณมูลคาสินคาคงเหลือ 241 สรุป 246 แบบฝกหัด 248 บทที่ 5 สมุดรายวันเฉพาะ 257 ความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ 257 ประเภทของสมุดรายวันเฉพาะ 258 สมุดบัญชีแยกประเภทยอย 258 การบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ 260 สมุดรายวันซื้อ 261 สมุดรายวันสงคืนและสวนลด 265 สมุดรายวันขาย 270 สมุดรายวันรับคืนและสวนลด 274 สมุดรายวันรับเงินหรือสมุดเงินสดรับ 279 สมุดรายวันจายเงิน หรือ สมุดเงินสดจาย 285 สรุป 292 แบบฝกหัด 294 บทที่ 6 การบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 301 ความหมายของการบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 301 งบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม 301 การดําเนินงานของกิจการอุตสาหกรรม 306 ลักษณะของการผลิต 308 สวนประกอบของตนทุนการผลิต 308 สินคาคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม 309 การบันทึกบัญชีสําหรับกิจการอุตสาหกรรม 310 สรุป 329 แบบฝกหัด 330 บทที่ 7 การวิเคราะหงบการเงิน 337 ความหมายของการวิเคราะหงบการเงิน 337 เทคนิคและวิธีการวิเคราะหงบการเงินของธุรกิจ 337 การวิเคราะหอัตรารอยละตอยอดรวม หรือการวิเคราะหแนวตั้ง 337 การวิเคราะหแนวโนม หรือการวิเคราะหแนวนอน 341 การวิเคราะหงบการเงินโดยใชอัตราสวนทางการเงิน 343
  • 11. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) (6) สรุป 357 แบบฝกหัด 358 บทที่ 8 การวิเคราะหเงินทุนดําเนินงานและเงินสด 361 ความหมายของงบแสดงการหมุนเวียน 361 ความหมายของเงินทุนดําเนินงาน 361 ประโยชนของการวิเคราะหเงินทุนดําเนินงาน 362 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงเงินทุนดําเนินงานสุทธิ 362 งบแสดงแหลงที่มาและการใชไปของเงินทุนดําเนินงาน 362 งบกระแสเงินสด ประโยชนของงบกระแสเงินสด 371 371 รูปแบบการรายงานงบกระแสเงินสด 380 การจัดทํางบกระแสเงินสด 383 สรุป 397 แบบฝกหัด 398 บรรณานุกรม 403 ภาคผนวก 407
  • 12. สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1.1 แผนภูมิแมบทการบัญชี สําหรับการจัดทํา และนําเสนองบการเงิน 12 2.1 แผนภูมิวงจรบัญชี 58 5.1 แผนภูมิแสดงความสัมพันธของบัญชีแยกประเภททั่วไปและบัญชีแยกประเภทยอย 256 5.2 แผนภูมิขั้นตอนการทําบัญชีของกิจการที่ใชสมุดรายวันเฉพาะ 258 6.1 แสดงวงจรการบันทึกตนทุนการผลิต 307 6.2 แสดงวงจรการบันทึกตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นในงวดปจจุบัน 325 8.1 สรุปกระแสเงินสดที่เกิดขึ้นในแตละงวดการดําเนินงาน 380 8.2 แสดงการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินสดเมื่อหนี้สินและสวนของเจาของ เปลี่ยนแปลง 385 8.3 แสดงการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินสดเมื่อสินทรัพยอื่นๆเปลี่ยนแปลง 386
  • 13. (10)
  • 14. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 2.1 สรุปการวิเคราะหรายการคาของรานภูมิใจบริการ 45 3.1 แสดงการบันทึกบัญชีเปรียบเทียบการตัดจําหนายหนี้สูญตามหลักเกณฑกฎหมาย ภาษีอากรและตามหลักเกณฑทางบัญชี 117 3.2 แสดงตารางแยกอายุลูกหนี้ 121 3.3 แสดงตารางแยกอายุลูกหนี้ 122 3.4 แสดงการบันทึกการแกไขขอผิดพลาดทางการบัญชี 125 4.1 แสดงเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีสินคาแบบตอเนื่องและระบบ สินคาเมื่อสิ้นงวด 176 4.2 แสดงการคํานวณราคาทุนสินคาวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ 237 6.1 แสดงขั้นตอนการดําเนินงานของกิจการอุตสาหกรรม 307 6.2 แสดงการบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือในสมุดรายวันทั่วไปเปรียบเทียบ 2 วิธี 319
  • 15.
  • 16. บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของการบัญชี การบัญชี (accounting) เปนงานบริการอยางหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงานของหนวยงาน ธุรกิจ (business enterprise) ทั้งหนวยงานที่มีวัตถุประสงคในการแสวงหากําไร (profit organization) และ หนวยงานที่มิไดแสวงหากําไร (nonprofit organization) แตมุงเนนการบริการอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการ บัญชีจะชวยใหขอมูลพื้นฐานสําหรับการวางแผน การควบคุม และการตัดสินใจในการเลือกแนวทางปฏิบัติ เพื่อให สามารถดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมายของหนวยงาน ขอมูลทางการบัญชีจะแสดงอยูในรูปของตัวเลขที่สะทอน เหตุการณที่เกิดขึ้นแลวจากกิจกรรมตาง ๆ ของหนวยงาน โดยการบัญชีจะเปนแหลงรวบรวมขอมูลอยางมีระบบและให ขอมูลที่เปนประโยชนแกผูใชขอมูลทั้งภายในและภายนอกหนวยงานสามารถแสดงออกมาในรูปแบบของรายงานที่ แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของใชขอมูลทางการบัญชี ดังนั้นไมวาหนวยงานจะตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคใดผูใช ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีทั้งภายในกิจการและภายนอกกิจการ ซึ่งตองการวัดคาทางการเงินของหนวยงานนั้น ๆ จะตองอาศัยขอมูลทางการบัญชีทั้งสิ้น การบัญชีจึงถือไดวาเปนเครื่องมือสําคัญในการวัดคาความสําเร็จและความ ลมเหลวของหนวยงาน โดยเฉพาะหนวยงานธุรกิจควรมีความรูเกี่ยวกับการบัญชีอยางเพียงพอที่จะใชในการตัดสินใจ ทางธุรกิจได ประวัติของการบัญชี การบัญชีไดกําเนิดขึ้นควบคูกับการประกอบธุรกิจการคาในอดีต โดยมีพัฒนาการอยางตอเนื่องตาม สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปจากการคนพบหลักฐานในชวงแรกประมาณ 3,000 ปกอนคริสตศักราช จนถึงศตวรรษที่ 13 พบวา การจดบันทึกรายการบัญชี เริ่มตั้งแต สมัยอียิปต บาบิโลเนีย กรีก และโรมัน ซึ่งพบหลักฐานการจดบันทึก บนแผนดินเหนียว และบนแผนขี้ผึ้ง โดยบันทึกขอมูลทางการบัญชีเปนแผนแสดงรายรับ แผนแสดงรายจาย แผนแสดง การผลิต แผนแสดงหนี้สิน รวมทั้งบันทึกสินคาคงเหลือปลายงวด รายงานประจําเดือน และรายงานประจําป การบันทึก รายการบัญชีดังกลาว บันทึกไวทั้งสองดาน คือ ดานรายรับแสดงการรับเงินสดจากใคร และดานรายจายแสดงการ จายเงินสดใหใคร ตอมาในปลายศตวรรษที่ 13 เริ่มพบหลักฐานการจดบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู (double entry book keeping) ที่เมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี แตหลักฐานที่แสดงการบันทึกรายการบัญชีคูที่สมบูรณ พบที่ เมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ในป ค.ศ. 1340 ซึ่งเปนศูนยกลางทางการคาในยุคที่ประเทศอิตาลีมีความ เจริญรุงเรือง ในป ค.ศ. 1494 ฟรา ลูกา ปาซิโอลิ (Fra Luca Pacioli) ชาวอิตาเลียนไดเขียนหนังสือเชิง คณิตศาสตรเลมหนึ่ง ชื่อ “The Summa de Arithmetica Geometria Proportionate Proportionalita” ซึ่งมีบท หนึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับหลักการบัญชีคู โดยใชสมการพีชคณิตเปนพื้นฐานวาสินทรัพยเทากับหนี้สินบวกสวนของ เจาของและผลบวกของเดบิตเทากับผลบวกของเครดิต ซึ่งถือเปนแนวคิดของหลักการบัญชีคูที่สําคัญไดใชมาจนถึง ปจจุบันและฟราลูกาปาซิโอลิ ไดรับการยกยองเปนบิดาแหงการบัญชี (เมธากุล เกียรติกระจายและศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 1 – 4) แนวคิดทางการบัญชีไดพัฒนาปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่ซับซอนมากขึ้น จาก ผลกระทบการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 19 และตนศตวรรษที่ 20 ทําใหเกิด การพัฒนาการทางการบัญชีในเรื่องตาง ๆ เชน การประกอบการคาเปลี่ยนจากธุรกิจเจาของคนเดียวมาเปนหาง
  • 17. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 2 หุนสวนและบริษัทจํากัด แนวคิดทางการบัญชีจากการใชทฤษฎีความเปนเจาของ (ownership theory) เปลี่ยนเปน ทฤษฎีความเปนหนวยงาน (entity theory) แยกเปนอิสระจากเจาของหรือผูลงทุน มีการดําเนินงานตอเนื่อง (going concern) และวัดผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นงวดระยะเวลาหนึ่ง ๆ แทนที่จะวัดผลการดําเนินงานเมื่อการคา สิ้นสุดลง และในชวงดังกลาวประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เริ่มกอตั้งสมาคมวิชาชีพซึ่งมีอิทธิพลอยางมากตอ วิวัฒนาการทางการบัญชี ประเทศไทยก็ไดรับอิทธิพลจากสมาคมวิชาชีพของประเทศดังกลาวจนถึงปจจุบัน การบัญชีในประเทศไทยปรากฏหลักฐานมีการตราพระราชบัญญัติลักษณะเขาหุนสวน และบริษัท รัตนโกสินทรศก 130 (พ.ศ. 2455) กําหนดใหบริษัทจํากัดตองจัดทําบัญชี และมีผูสอบบัญชีตรวจสอบ จนกระทั่งมี การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลตอการตื่นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศมาก ในป พ.ศ. 2482 รัฐบาลไดออกประมวลรัษฎากรมาบังคับใชจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลจากกําไรสุทธิสําหรับป และจัดเก็บภาษีเงิน ไดบุคคลธรรมดาโดยประเมินจาก ยอดรายรับหรือรายได และมีการตราพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2482 กําหนดใหผูประกอบการธุรกิจตองจัดทําบัญชีเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากร โดยบังคับให หางรานตาง ๆ จัดทําบัญชี 5 เลม ประกอบดวย 1. บัญชีทรัพยสินรวมสินคาในครอบครอง 2. บัญชีเงินสด 3. บัญชีลูกหนี้ และบัญชีเจาหนี้ 4. บัญชีรายวันซื้อ และรายวันขาย 5. บัญชีแยกประเภทรายได และคาใชจาย นอกจากนั้นการจัดทําบัญชีตองบันทึกเปนภาษาไทย ถาเปนภาษาตางประเทศจะตองกํากับ ภาษาไทยไว และจัดทํางบการเงินอยางนอยปละ 1 ครั้ง ความหมายของการบัญชี ความหมายของคําวา “การบัญชี” ตามพจนานุกรม หมายถึง ทะเบียนสมุด หรือกระดาษที่จด รายชื่อและจํานวน สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตของสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants) เรียกยอ ๆ วา “AICPA” ไดกลาวเกี่ยวกับ คําวา “การบัญชี” ไว ดังนี้ (อางถึงใน เมธากุล เกียรติกระจายและศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 31) “Accounting is the art of recording, classifying and summarizing in significant manner and in terms of money transactions and events which are, in part at least, of a financial character and interpreting the results there of” จากการแปลความขางตน “การบัญชีเปนศิลปะของการนํารายการหรือเหตุการณที่เกี่ยวกับการเงิน มาจดบันทึกและจัดใหเปนหมวดหมูพรอมทั้งสรุปผลในรูปจํานวนเงิน ตลอดจนการวิเคราะหความหมายจากผลนั้น ดวย” สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย (2538, หนา 4) ไดใหคําจํากัดความ ของการบัญชีไวดังนี้ “การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนกและทําสรุปขอมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ
  • 18. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 3 ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดทายของการบัญชี คือ การใหขอมูลทางการเงินซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลาย ฝายและผูที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ จากคําจํากัดความดังกลาว สามารถสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1. การจดบันทึก (recording) เปนการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณเกี่ยวกับการเงินตามลําดับ วันที่ 2. การจําแนก (classifying) เปนการนําขอมูลที่จดบันทึกไวมาจําแนกหรือจัดประเภทรายการ ออกเปนหมวดหมู เชน หมวดสินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย 3. การสรุปผล (summarizing)เปนการนําขอมูลที่จําแนกไวเปนหมวดหมูมาสรุปจัดทําไวในรูปของ งบการเงินเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งประกอบดวยงบดุล งบกําไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน 4. การแปลความหมาย (interpreting) เปนการนํางบการเงินมาวิเคราะหและสรุปแปลความหมาย หรือเปรียบเทียบรายการที่สําคัญของเหตุการณในปปจจุบันกับในอดีตและเพื่อคาดการณเหตุการณในอนาคต เพื่อใหผูใชงบการเงินนําไปพิจารณาตัดสินใจ ความหมายของการทําบัญชี การทําบัญชี (book keeping) หมายถึง “การบันทึกรายการทางบัญชีที่เกิดขึ้น เพื่อเปนฐานในการ จัดทํารายงานทางการเงิน” (สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย, 2538, หนา 24) หรือ กลาวไดวาเปนการบันทึกรายการ หรือขอมูลทางการบัญชีในสมุดบัญชีของกิจการตามที่ไดวางระบบบัญชีไว เรียบรอยแลว เชน บันทึกรายการในสมุดรายการขั้นตน ไดแก สมุดรายวันเฉพาะ สมุดรายวันทั่วไป และผาน รายการจากสมุดรายวันไปสมุดบัญชี ขั้นปลาย คือ บัญชีแยกประเภท การบันทึกรายการปรับปรุง การปดบัญชี และการจัดทํางบการเงิน ผูที่มีหนาที่จัดทําดังกลาว เรียกวา ผูทําบัญชี (bookkeeper) ความแตกตางของการบัญชีกับการทําบัญชี เนื่องจากการบัญชีกับการทําบัญชีมีความเกี่ยวของกับขอมูลทางการบัญชีเชนเดียวกัน แตถา พิจารณาจากลักษณะและขอบเขตของงานแลวจะเห็นไดวาการทําบัญชีจะเปนสวนหนึ่งของการบัญชี กลาวคือ ผูทําหนาที่เกี่ยวกับการบัญชีเรียกวา นักบัญชี (accountant) จะทําหนาที่ที่มีขอบเขตงานกวางกวางานของผูทํา บัญชี โดยนักบัญชีนอกจากจะจดบันทึกการบัญชีในสมุดรายวันขั้นตน สมุดรายวันขั้นปลาย และจัดทํางบการเงิน แลว นักบัญชียังสามารถออกแบบและวางระบบบัญชี กําหนดนโยบายบัญชี วิเคราะหและแปลความหมายขอมูล ของงบการเงิน และตรวจสอบบัญชี ตลอดจนจัดทํารายการเฉพาะเรื่องทางการบัญชีตามที่ผูบริหารมอบหมาย ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ผูมีหนาที่จัดทําบัญชี หมายถึง ผูมีหนาที่จัดใหมีการทําบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งกําหนดผูมีหนาที่จัดทําบัญชีในประเทศไทยไว ดังนี้ 1. หางหุนสวนจดทะเบียน 2. บริษัทจํากัด
  • 19. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 4 3. บริษัทมหาชนจํากัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 4. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย 5. กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร 6. สถานที่ประกอบการธุรกิจเปนประจําในสถานที่หลายแหงแยกจากกัน ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบใน การจัดการธุรกิจในสถานที่นั้น เปนผูมีหนาที่จัดทําบัญชี 7.บุคคลธรรมดา หางหุนสวนสามัญตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ผูทําบัญชี ผูทําบัญชีตามความหมายของพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หมายถึง ผูรับผิดชอบในการทําบัญชี ของผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ไมวาจะกระทําในฐานะเปนลูกจางของผูมีหนาที่จัดทําบัญชีหรือไม โดยผูมีหนาที่จัดทําบัญชี ตองจัดใหมีผูทําบัญชี ซึ่งเปนผูมีคุณสมบัติและเงื่อนไขตามที่อธิบดีกรมทะเบียนการคา ประกาศกําหนดคุณสมบัติและ เงื่อนไขของการเปนผูทําบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 10 สิงหาคม 2544 ดังตอไปนี้ 1. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชี หรือเทียบเทา จากสถาบันการศึกษาซึ่งทบวงมหาวิทยาลัย คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือ กระทรวงศึกษาธิการเทียบวาไมต่ํากวาอนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางการบัญชี สามารถ จัดทําบัญชีใหหางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่ง ณ วันปดบัญชีในรอบปบัญชีที่ ผานมา มีทุนจดทะเบียนไมเกิน 5 ลานบาท มีสินทรัพยรวมไมเกิน 30 ลานบาทและมีรายไดรวมไมเกิน 30 ลานบาท 2. ผูทําบัญชีมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการบัญชีหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาซึ่ง ทบวงมหาวิทยาลัย หรือคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) หรือกระทรวงศึกษาธิการ เทียบวาไมต่ํากวาปริญญาตรี ทางการบัญชีสามารถจัดทําบัญชีใหแกกิจการ ดังตอไปนี้ 2.1 หางหุนสวนจดทะเบียน และบริษัทจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งณ วันปดบัญชีใน รอบปบัญชีที่ผานมามี ทุนจดทะเบียนหรือสินทรัพยรวมหรือรายไดรวมรายการใดรายการหนึ่งเกินกวาที่กําหนดไว 2.2 บริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 2.3 นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2.4 กิจการรวมคาตามประมวลรัษฎากร 2.5 ผูประกอบธุรกิจธนาคาร เงินทุนหลักทรัพย เครดิตฟองซิเอร ประกันชีวิตประกันวินาศภัย 2.6 ผูประกอบธุรกิจ ซึ่งไดรับการสงเสริมการลงทุนตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน ประโยชนของขอมูลทางการบัญชี ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของผูใชขอมูล ซึ่งผูใชขอมูลทางบัญชีจําแนกได 2 ประเภท คือ บุคคลภายในกิจการและบุคคลภายนอกกิจการ ดังนั้นประโยชนของขอมูลทางการบัญชีมีไดดังตอไปนี้ 1. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีที่มีตอบุคคลภายในกิจการ ซึ่งไดแก ผูบริหาร และฝายจัดการ และพนักงาน มีดังนี้ 1.1 เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจ
  • 20. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 5 1.2 ทําใหทราบถึงเหตุการณและสถานการณทางการเงินที่แทจริงของกิจการใหมากที่สุด และ รวดเร็วที่สุด 1.3 ทําใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความมั่นคงและความสามารถในการทํากําไรของกิจการ เพื่อใช ประเมินความสามารถในการจายคาตอบแทน บําเหน็จรางวัล สวัสดิการ และโอกาสการจางงาน 2. ประโยชนของขอมูลทางการบัญชีที่มีตอบุคคลภายนอกกิจการ ซึ่งไดแก เจาหนี้ของกิจการ ผูถือหุน บุคคลทั่วไป และหนวยงานรัฐบาล มีดังนี้ 2.1 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการประเมินฐานะความมั่นคงทางการเงินของกิจการ 2.2 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการพิจารณาการใหสินเชื่อ การติดตามทวงถามลูกหนี้ ตลอดจน ความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้ 2.3 เปนขอมูลทางการบัญชีใชในการคํานวณภาษีอากรใหกับภาครัฐ ประเภทของการบัญชี เนื่องจากความตองการใชขอมูลการบัญชีมีความแตกตางกันไปตามประเภทของผูใชขอมูลและ วัตถุประสงคของการใชการบัญชีจึงแบงออกได 3 ประเภท (กาญจนา ศรีพงษ, 2545,หนา 1-7 และ 1-8) ดังนี้ 1. การบัญชีการเงิน (financial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก บุคคลภายนอก ซึ่งไมมี สวนเกี่ยวของในการดําเนินงานขององคกรไดแก ผูลงทุน ผูใหสินเชื่อ หนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป ขอมูลการบัญชีเสนอในรูปแบบของงบการเงิน ไดแก งบแสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการตัดสินใจ 2. การบัญชีเพื่อการจัดการ (managerial accounting) เปนการจัดหาขอมูลใหแก ผูบริหารของ องคกร นอกเหนือจากรายงานทางการบัญชีการเงิน การบัญชีเพื่อการจัดการยังใหขอมูลอื่น ๆ ที่จําเปนในการ บริหารจัดการเปนการภายใน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการวางแผน และการควบคุมการดําเนินงานใหมี ประสิทธิภาพ 3. การบัญชีภาษีอากร (tax accounting) เกี่ยวของในเรื่องการประเมินภาษี และการวางแผนทาง ภาษี ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของหนวยงาน กรณีหนวยงานรัฐบาล เชน กรมสรรพากรจะจางนักบัญชีภาษีอากรทํา หนาที่จัดเก็บภาษี ประเมินภาษี และตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในแบบฟอรมการเสียภาษีของผูเสียภาษี ซึ่ง จะชวยใหองคกรไดรับการลดหยอนในการเสียภาษี เชน การบริจาคเงินใหสาธารณชน สําหรับหนวยงานธุรกิจนัก บัญชีภาษีอากรชวยผูเสียภาษีในการกรอกแบบฟอรม การคํานวณ และวางแผนทางภาษี ประเภทของกิจการ สามารถแบงประเภทของกิจการไดเปน 2 ลักษณะ โดยแบงตามรูปแบบการจัดตั้งกิจการ และแบงตาม รูปแบบการประกอบการ 1. ประเภทของกิจการตามรูปแบบการจัดตั้งกิจการ แบงเปน 3 ประเภทดังนี้ 1.1 กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorships)เปนกิจการที่มีบุคคลคนเดียว เปนผูกอตั้งและเปนเจาของ โดยเจาของจะนําเงินสดและสินทรัพยมาลงทุนในกิจการเพียงผูเดียว เจาของจะเปนทั้งผู ลงทุนในกิจการและเปนผูบริหารดูแลการบริหารในทุกสวนของกิจการ หากกิจการมีผลกําไรจากการดําเนินงาน กําไรที่
  • 21. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 6 เกิดขึ้นนั้นจะเปนของเจาของ แตหากกิจการมีผลขาดทุนหรือมีความรับผิดชอบในหนี้สิน เจาของจะตองรับผลขาดทุน นั้นทั้งหมดและรับผิดชอบในหนี้สินทั้งหมดของกิจการ โดยไมจํากัดจํานวนแตเพียงผูเดียว รูปแบบของกิจการ เจาของคนเดียว เชน รานคาปลีก สํานักงานบัญชี อูซอมรถยนต เปนตน 1.2 หางหุนสวน (partnership) เปนกิจการที่มีบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมกันจัดตั้ง ขึ้นทําสัญญาตกลงเขาเปนหุนสวนทํากิจการรวมกัน มีวัตถุประสงคที่จะแบงปนผลกําไรขาดทุนที่เกิดจากการดําเนิน กิจการตามที่ไดตกลงกันไวในสัญญา ผูเปนหุนสวนอาจนําเงินสด หรือ สินทรัพย หรือแรงงานมารวมลงทุนในกิจการ การขยายกิจการของหางหุนสวนสามารถทําไดงายกวากิจการเจาของคนเดียว ประเภของหางหุนสวนตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ หางหุนสวนสามัญ และหางหุนสวนจํากัด 1.2.1 หางหุนสวนสามัญ (Ordinary Partnership หรือ Unlimited Partnership) เปนหางหุนสวนที่ผูเปนหุนสวนทุกคนตองรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวน ดังนั้นการลงทุนของ ผูเปนหุนสวนจะลงทุนดวยสินทรัพย หรือแรงงานก็ได ผูเปนหุนสวนทุกคนมีสิทธิเขามาบริหารงานเอง โดยแบงหนาที่กัน ทําหรือแตงตั้งใหหุนสวนคนใดคนหนึ่งเปนผูจัดการ แลวดําเนินการในนามของหางหุนสวน หางหุนสวนสามัญจะจด ทะเบียนเปนนิติบุคคลหรือ ไมจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ได ถาหางหุนสวนสามัญจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจะเรียกวา หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล จัดเปนบุคคลตามกฎหมายแยกตางหากจากผูเปนหุนสวน 1.2.2 หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) เปนหางหุนสวนที่ประกอบดวยผู เปนหุนสวน 2ประเภท คือ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ และหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ โดยที่ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ ผูเปนหุนสวนจะรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนไมเกินจํานวนเงินที่ตนรับจะ ลงทุนในหางหุนสวน การลงทุนจะตองลงทุนดวยเงินสดหรือสินทรัพยเทานั้น จะลงทุนดวยแรงงานไมได จึงไมมีสิทธิที่จะ เขามาบริหารงานหรือดําเนินการในนามของหางหุนสวน จะมีสิทธิเพียงการออกความเห็นใหคําแนะนําและตรวจสอบการ ดําเนินงานของหางได สวนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ ผูเปนหุนสวนจะรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวน โดยไมจํากัดจํานวน การลงทุนจะลงทุนดวยเงินสด สินทรัพย หรือแรงงานก็ได และมีสิทธิที่จะเขามาบริหารงานหรือ ดําเนินการในนามของหางหุนสวนได หางหุนสวนจํากัดกฎหมายกําหนด ใหจะตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ถาไมไดจด ทะเบียนกฎหมายใหถือวาหางหุนสวนนั้นเปน หางหุนสวนสามัญ 1.3 บริษัทจํากัด(corporation) เปนกิจการที่กฎหมายกําหนดใหจดทะเบียนเปนนิติ บุคคล มีบุคคลเริ่มกอตั้งบริษัท ตั้งแต 7 คนขึ้นไป แบงทุนของกิจการออกเปนหุนมีมูลคาหุนละเทา ๆ กัน และนํา ออกจําหนายใหผูที่จะลงทุนซื้อหุนของบริษัท เรียกวา ผูถือหุน (stockholder) ผูถือหุนจะรับผิดชอบหนี้สินของ กิจการไมเกินจํานวนคาหุนที่ยังชําระไมครบ การแบงประเภทบริษัทจํากัดตามกฎหมาย แบงเปน 2 ประเภท คือ บริษัทจํากัด และ บริษัทมหาชนจํากัด 1.3.1 บริษัทจํากัด (Private Company Limited) หรือ บริษัทเอกชนจํากัด เปน บริษัทที่จัดตั้งตามประมวลกฎหมายแพงพาณิชย มีผูรวมกอการจัดตั้งอยางนอย เจ็ดคนรวมตกลงจัดตั้งบริษัท โดย แบงทุนของกิจการเปนหุนมีมูลคาหุนละเทากัน มูลคาหุนตองไมต่ํากวาหุนละ 5 บาท บริษัทจะขายหุนต่ํากวาราคาตาม มูลคาไมได และไมสามารถขายหุนใหแกประชาชนทั่วไปได การชําระคาหุนครั้งแรกเมื่อจัดตั้งบริษัทตองไมนอยกวา 25%ของมูลคาหุน หากมีสวนเกินมูลคาหุนใหชําระใน ครั้งแรก ผูถือหุนจะมีความรับผิดชอบจํากัดไมเกินจํานวนเงินที่ ตนยังใชไมครบมูลคาของหุนที่ตนถือ บริษัทจะซื้อหุนสามัญของบริษัทกลับคืนไมไดและไมสามารถออกหุนกูได
  • 22. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 7 1.3.2 บริษัทมหาชนจํากัด (Public Company Limited) เปนบริษัทที่จัดตั้งตาม พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อเสนอขายหุนตอประชาชน มีผูเริ่มจัดตั้ง บริษัทตั้งแตสิบหาคนขึ้นไป แบงทุนของกิจการเปนหุนมีมูลคาหุนละเทากัน บริษัทออกขายหุนต่ํากวาราคาตามมูลคา ได ผูถือหุนตองชําระคาหุนเมื่อจัดตั้งบริษัทโดยชําระคาหุนเต็มมูลคาในครั้งเดียว บริษัทสามารถที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษัทกลับคืนไดและสามารถสามารถออกหุนกูได และไมวาบริษัทจะมีการจายเงินปนผลหรือไม ตองมีการตั้งสํารอง ตามกฎหมาย อยางนอยหนึ่งในยี่สิบสวนของจํานวนผลกําไรที่บริษัทหาไดหรือรอยละ 5 ของกําไรสุทธิในปนั้น ๆ และ สามารถหยุดไดเมื่อสํารองตามกฎหมายมีจํานวนถึงหนึ่งในสิบหรือรอยละ 10 ของจํานวนทุนจดทะเบียน 2. ประเภทของกิจการตามรูปแบบลักษณะการประกอบการ แบงปน 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ธุรกิจบริการ (service firm) เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการใหบริการแกลูกคา โดยไดรับคาตอบแทนเปนคาบริการ เชน สํานักงานบัญชี ธุรกิจขนสง อูซอมรถ ธนาคาร โรงพยาบาล โรงแรม เปนตน 2.2 ธุรกิจพณิชยกรรม เปนธุรกิจที่ดําเนินงานเกี่ยวกับการขายสินคา แบงปน 2 ประเภท คือ ธุรกิจซื้อขายสินคา และธุรกิจผลิตสินคา 2.2.1 ธุรกิจซื้อขายสินคา (merchandising firm) หรือธุรกิจจําหนาย สินคา เปนกิจการที่ซื้อสินคามาเพื่อขาย เชน หางสรรพสินคา ธุรกิจคาสง เปนตน 2.2.2 ธุรกิจผลิตสินคา (manufacturing firm) หรือกิจการอุตสาหกรรม เปนธุรกิจที่ซื้อวัตถุดิบมาแปลงสภาพใหเปนสินคาสําเร็จรูปเพื่อจําหนายใหแกกิจการอื่น หรือผูบริโภค เชน โรงงาน ตัดเย็บเสื้อผา โรงงานกลั่นน้ํามัน โรงงานผลิตรถยนต เปนตน แมบทการบัญชี แมบทการบัญชี (accounting framework) กําหนดขึ้นเพื่อวางแนวคิดที่เปนพื้นฐานในการจัดทําและ นําเสนองบการเงินแกผูใชงบการเงินที่เปนบุคคลภายนอก แมบทการบัญชีมีวัตถุประสงค ดังนี้(สภาวิชาชีพบัญชี, 2549, หนา 4) 1.1 เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการพัฒนามาตรฐานการ บัญชีในอนาคตและในการทบทวนมาตรฐานการบัญชีที่มีในปจจุบัน 1.2. เพื่อเปนแนวทางสําหรับคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีในการปรับขอกําหนดมาตรฐาน และการปฏิบัติทางบัญชีที่เกี่ยวของกับการนําเสนองบการเงินใหสอดคลองกันโดยถือเปนหลักเกณฑในการลด จํานวนทางเลือกของวิธีการบันทึกบัญชีที่เคยอนุญาตใหใช 1.3 เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูจัดทํางบการเงินในการนํามาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติรวมทั้งเปน แนวทางในการปฏิบัติสําหรับเรื่องที่ยังไมมีมาตรฐานการบัญชีรองรับ 1.4 เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูสอบบัญชีในการแสดงความเห็นตองบการเงินวาไดรับจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีหรือไม 1.5 เพื่อชวยใหผูใชงบการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงใน งบการเงินซึ่ง จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี 1.6 เพื่อใหผูสนใจไดทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการกําหนดมาตรฐานการบัญชีของ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี
  • 23. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 8 ขอบเขตเนื้อหาของแมบทการบัญชี แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินในเรื่องเกี่ยวกับผูใช งบการเงิน วัตถุประสงคของงบการเงิน ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบ การเงิน องคประกอบของงบการเงิน การรับรูองคประกอบของงบการเงิน แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคาและแนวคิด เกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนโดยสรุปรายละเอียด(เมธากุล เกียรติกระจาย, และศิลปพร ศรีจั่นเพชร, 2544, หนา 96-116) ไดดังนี้ 2.1. ผูใชงบการเงิน ประกอบดวย บุคคลฝายตาง ๆ ที่สนใจขอมูลทางการบัญชี ที่จะบอกถึง ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของกิจการเพื่อใชในการวางแผนและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ สามารถตอบสนอง ความตองการที่แตกตางกันตามประเภทของผูใชงบการเงิน ดังนี้ 2.1.1 ผูบริหารของกิจการตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประโยชนในการ วางแผน ควบคุมและตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ 2.1.2 ผูลงทุนตองการทราบขอมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการ ลงทุน 2.1.3 ผูใหกูและเจาหนี้ตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อทราบถึงความมั่นคง ทางการเงิน สภาพคลองและแสดงความสามารถของกิจการในการชําระหนี้ 2.1.4 ลูกจางหรือกลุมตัวแทนตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อประเมิน ความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน 2.1.5 ลูกคาตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการโดยเฉพาะ ตองการมีความสัมพันธอันยาวนาน หรือตองการพึ่งพากิจการ 2.1.6 รัฐบาลและหนวยงานราชการตองการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการ เพื่อการจัดสรรทรัพยากร การกํากับดูแล การกําหนดนโยบายทางภาษี การจัดทําสถิติดานตาง ๆ และเพื่อใชเปน ฐานในการคํานวณรายไดประชาชาติ 2.1.7 สาธารณชนตองการทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวโนมการดําเนินงานและความสําเร็จ ของกิจการ เพราะอาจไดรับผลกระทบตอสาธารณชนเกี่ยวกับการจางงานและการรับซื้อสินคาจากผูผลิต 2.2 วัตถุประสงคของงบการเงิน หมายถึง ประโยชนที่ไดรับจากการใชงบการเงินประเภทตาง ๆ เชน งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบประกอบอื่น และคําอธิบายที่ทําใหงบการเงินนั้นสมบูรณ ซึ่งในแตละงบการเงินมี วัตถุประสงคที่ใหประโยชนตาง ๆ กัน เชน ประโยชนในการตัดสินใจลงทุนและใหสินเชื่อ ประโยชนในการประเมิน กระแสเงินสดเกี่ยวกับจํานวนเงิน จังหวะเวลาและความแนนอนของเงินสดที่พึงไดรับ ประโยชนในการไดทราบ ขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ประโยชนในการ ประเมินสภาพการณในอนาคตได และประโยชนในการใชขอมูลของงบการเงินประเมินผลการบริหารงานเพื่อ ความรับผิดชอบของผูบริหารได 2.3 ขอสมมติในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน เปนขอกําหนดของแมบทการบัญชี เพื่อใหงบ การเงินบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งประกอบดวย เกณฑคงคาง และการดําเนินงานตอเนื่อง
  • 24. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 9 2.3.1 เกณฑคงคาง หมายถึง รายการและเหตุการณทางการบัญชี จะรับรูเมื่อเกิดขึ้น มิใชเมื่อมีการรับหรือจายเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด ทําใหกิจการตองบันทึกบัญชีรายไดคางรับเปนขอมูล เกี่ยวกับทรัพยากรที่จะไดรับเงินสดในอนาคต ซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูรายได แลว แตยังไมไดรับชําระเงิน การบันทึกบัญชีรายไดรับลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่ยังไม เขาเกณฑการรับรูรายไดแตกิจการไดรับเงินสดแลว การบันทึกบัญชีคาใชจายคางจายเปนขอมูลเกี่ยวกับภาระ ผูกพันที่กิจการตองจายเปนเงินสดในอนาคตซึ่งเปนรายการและเหตุการณทางบัญชีที่เขาเกณฑการรับรูคาใชจาย แลวแตกิจการยังไมไดจายชําระเงิน และการบันทึกบัญชีคาใชจายจายลวงหนาเปนรายการและเหตุการณทาง บัญชีที่ยังไมเขาเกณฑการรับรูคาใชจาย แตกิจการไดจายชําระเงินแลว 2.3.2 การดําเนินงานตอเนื่อง หมายถึง กิจการจะดําเนินงานตอเนื่อง และดํารงอยูตอไป ในอนาคตเพื่อใหประสบผลสําเร็จตามแผนและเปาหมายและขอผูกพันที่ไดกําหนดไวงบการเงินจึงตองดําเนินการ ตามเกณฑคงคางและการดําเนินงานตอเนื่องเพื่อประเมินความสามารถในการดําเนินงานตอเนื่องของกิจการ นอกจากกิจการมีเจตนาหรือมีความจําเปนเลิกกิจการ หรือ ไมสามารถดําเนินงานอยางตอเนื่องตอไปได กิจการ ตองเปดเผยขอเท็จจริงเกี่ยวกับสถานการณ หรือเงื่อนไขที่เปนเหตุใหกิจการไมสามารถดําเนินงานตอไปได รวมทั้ง เปดเผยหลักเกณฑที่ใชในการจัดทํางบการเงินดวย 2.4 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน ตามแมบทการบัญชี หมายถึง คุณสมบัติที่ทําใหขอมูล ในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน กลาวคือ ชวยใหผูจัดทํางบการเงินมีบรรทัดฐานในการตัดสินใจเลือก วิธีการบัญชีและผูใชงบการเงินมีความเขาใจตรงกับผูจัดทํางบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบการเงิน แมบทการบัญชีไดกําหนดไวมี 4 ประการดังนี้ 2.4.1 ความเขาใจได (understandability) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีที่นําเสนอในงบ การเงินตองชวยใหผูใชงบการเงินเขาใจ และใชประโยชนตอการตัดสินใจของผูใชที่มีความรูพื้นฐานอยางเพียงพอ แมขอมูลจะมีความซับซอน แตถาเกี่ยวของกับการตัดสินใจ ผูจัดทํางบการเงินยังคงตองเสนอขอมูล ซึ่งแมบทการ บัญชีไดกําหนดวากิจการยังคงตองเปดเผยขอมูลที่จําเปน เนื่องจากขอมูลที่นําเสนอจะใหประโยชนแกผูใชงบ การเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ 2.4.2 ความเกี่ยวของกับการตัดสินใจ (relevance) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีชวยใหผูใชงบ การเงินสามารถคาดคะเนฐานะการเงินและผลการดําเนินงานในอนาคต รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ เชน การจายเงินปนผล การจายคาจาง ความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดไดเพียงไร เพื่อนักลงทุนตัดสินใจซื้อหุน และไดรับ ผลตอบแทนคุมคากับเงินที่ลงทุนหรือเรียกวา เปนขอมูลที่เปนประโยชนตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งขอมูลนั้น มีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ การใหความรูเกี่ยวกับผลลัพธของการตัดสินใจในอดีต ซึ่งสามารถนํามาใชในการ ตัดสินใจในอนาคต อีกทั้งชวยคาดคะเน หรือยืนยันเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและเปนขอมูลที่พรอมจะ นําไปใชในการตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาที่เกี่ยวของไดตามความตองการ นอกจากนั้นในเรื่องความมีนัยสําคัญ (materiality) ของขอมูลทางการบัญชี ถาผูใชงบการเงินไมไดรับทราบแลว อาจตัดสินใจผิดไปจากกรณีที่ได รับทราบ ซึ่งจะมีผลกระทบตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผูใชงบการเงินได 2.4.3 ความเชื่อถือได (reliability) หมายถึง ขอมูลนั้นไมมีความผิดพลาดที่มีนัยสําคัญ หรือไม มีความลําเอียง ผูใชขอมูลสามารถเชื่อไดวาขอมูลนั้นแสดงสภาพทางเศรษฐกิจ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่แสดงความ เชื่อถือไดของขอมูล ซึ่งมีคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้
  • 25. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 10 1) การเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรม (faithful representation) หมายถึง การแสดงรายการ และเหตุผลทางการบัญชีอยางเที่ยงธรรม ตามที่ตองการใหแสดงหรือควรจะแสดงโดยเปนขอมูลที่ชัดเจน และ แนนอนบางครั้งเปนขอมูลการประมาณการจะมีการประมาณการอยางสมเหตุสมผลและเปนไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป 2) เนื้อหาสําคัญกวารูปแบบ (substance over form) หมายถึง การนําเสนอ งบ การเงินตามเนื้อหา และความเปนจริงทางเศรษฐกิจ แมเนื้อหาทางเศรษฐกิจของเหตุการณนั้น อาจแตกตางจาก รูปแบบทางกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหผูใชงบการเงินไดทราบขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรายการ และ เหตุการณทางบัญชีที่แทจริง 3) ความเปนกลาง (neutrality) หมายถึง การเสนอขอมูลทางการบัญชีที่มีความ นาเชื่อถือ มีความเปนกลาง สามารถสะทอนกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางแทจริง 4) ความระมัดระวัง (prudence) หรือหลักความระมัดระวัง หมายถึง ในการจัดทํางบ การเงิน ผูจัดทําควรใชดุลพินิจที่จําเปนในการเลือกปฏิบัติทางการบัญชีภายใตความไมแนนอน เพื่อมิใหสินทรัพย หรือรายไดแสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สิน หรือคาใชจายแสดงจํานวนต่ําเกินไป ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความมั่นใจวา กิจการไดคํานึงถึงความเสียหาย หรือความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้น 5) ความครบถวน (completeness) หมายถึง ขอมูลทางการบัญชีตองครบถวน ภายใตขอจํากัดของความมีนัยสําคัญ และตนทุนในการจัดทํา โดยตนทุนในการจัดทําไมควรสูงกวาประโยชน 2.4.4 การเปรียบเทียบกันได (comparability) หมายถึง การเปรียบเทียบงบการเงิน ของ กิจการในรอบระยะเวลาตางกันหรือการเปรียบเทียบงบการเงินของธุรกิจตาง ๆ เพื่อใหผูใชงบการเงินสามารถ ประเมินฐานะทางการเงิน กระแสเงินสด ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงิน และสามารถ คาดคะเนแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการที่เปรียบเทียบได 2.5 องคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การจัดประเภทของรายการและเหตุการณทางบัญชีที่ แสดงไวในงบการเงินตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล ไดแก สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ องคประกอบที่เกี่ยวของโดยตรงกับการวัดผลการดําเนินงานในงบ กําไรขาดทุน ไดแก รายได และคาใชจาย สวนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินสะทอนถึงองคประกอบ ในงบกําไรขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงองคประกอบในงบดุล 2.6 การรับรูองคประกอบของงบการเงิน หมายถึง การรวมรายการเขาเปนสวนหนึ่งของงบดุล และงบกําไรขาดทุน หากรายการนั้นเปนไปตามคํานิยามขององคประกอบ และเขาเกณฑการรับรูรายการที่เปนไป ตามคํานิยามขององคประกอบใหรับรูเมื่อเขาเงื่อนไขทุกขอดังนี้ 2.6.1 มีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่ประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการจะ เขาหรือออกจากกิจการ 2.6.2 รายการดังกลาว มีราคาทุน หรือมูลคาที่สามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ 2.7 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดมูลคา หมายถึง การกําหนดจํานวนที่เปนตัวเงินเพื่อรับรูองคประกอบ ของงบการเงินในงบดุล และงบกําไรขาดทุน แมบทการบัญชีไดกําหนดเกณฑในการวัดมูลคาไว ดังนี้
  • 26. 3821302 หลักการบัญชีเบื้องตน (Fundamental Accounting Principles) 11 2.7.1 ราคาทุนเดิม (historical cost) หมายถึง การบันทึกสินทรัพยดวยจํานวนเงินสดหรือ รายการเทียบเทาเงินสดที่จายไป ณ เวลาที่ไดมาซึ่งสินทรัพยนั้น และบันทึกหนี้สินดวยจํานวนเงินสดหรือรายการ เทียบเทาเงินสดที่คาดวาจะตองจายเพื่อชําระหนี้สินคาที่เกิดจากการดําเนินงานปกติ 2.7.2 ราคาทุนปจจุบัน (current cost) หมายถึง ราคาสินทรัพยที่ตองจายดวยเงินสดหรือ รายการเทียบเทาเงินสดเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยชนิดเดียวกัน หรือสินทรัพยที่เทาเทียมกันในขณะนั้น และจํานวน เงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดที่ตองชําระหนี้สินในขณะนั้น 2.7.3 มูลคาที่ควรจะไดรับ (realizable cost) หมายถึง มูลคาที่กิจการอาจไดรับเงินสด หรือรายการเทียบเทาเงินสดจากการขายสินทรัพยในขณะนั้น หรือมูลคาของหนี้สินที่เกิดจากการดําเนินงาน ตามปกติที่คาดวาตองจายคืนดวยเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสด 2.7.4 มูลคาปจจุบัน (present value) หมายถึง การแสดงสินทรัพยดวยมูลคาปจจุบันของ กระแสเงินสดรับสุทธิในอนาคตซึ่งคาดวาจะไดรับและหนี้สินที่แสดงมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดจายสุทธิซึ่ง คาดวาจะตองชําระหนี้ภายใตการดําเนินงานตามปกติ 2.8 แนวคิดเกี่ยวกับทุน และการรักษาระดับทุน แนวคิดเกี่ยวกับทุน คือ การหามูลคาของ สินทรัพยสุทธิ หรือสวนของเจาของ หรือมูลคาของทุนในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ผลแตกตางของสินทรัพยสุทธิ หรือ มูลคาของทุน ณ วันตนงวดกับวันปลายงวด คือ ผลที่ไดจากการดําเนินงานหรือกําไรในความหมายของนัก เศรษฐศาสตร กลาวคือ กําไร หมายถึง การเพิ่มขึ้นของสวนทุน แนวคิดการรักษาระดับทุน แบงออกเปน 2 สวน 2.8.1 การรักษาระดับทุนทางการเงิน (financial capital maintenance) หมายถึง แนวคิด ที่วากําไรเกิดขึ้นเมื่อจํานวนที่เปนตัวเงินของสินทรัพยสุทธิเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวาจํานวนที่เปนตัวเงิน ของสินทรัพยสุทธิเมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชี โดยไมรวมรายการที่เกิดขึ้นระหวางกิจการกับเจาของในระหวางรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้น 2.8.2 การรักษาระดับทุนทางการผลิต (physical capital maintenance) แนวคิดที่วากําไร เกิดขึ้นเมื่อกําลังการผลิตที่กิจการสามารถใชผลิตจริงเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีสูงกวากําลังการผลิตเมื่อเริ่มรอบ ระยะเวลาบัญชี หรืออาจแสดงในรูปของทรัพยากรหรือเงินทุนที่ตองจายเพื่อใหไดกําลังการผลิตนั้นโดยไมรวมการ แบงปนสวนทุนใหกับเจาของหรือเงินทุนที่ไดรับจากเจาของในรอบระยะเวลาเดียวกัน โดยแมบทการบัญชีสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินสามารถแสดงไดดังภาพที่ 1.1