SlideShare a Scribd company logo
ภูมิอากาศโลก
อ. วิชาญ พันธุ์ดี
บรรยากาศโลก
1. ก๊าช
2. ของเหลว
3. ของแข็ง
กาเนิดบรรยากาศโลก
1. โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืดร้อน (4,600 Mg)
2. ก๊าซไฮโดรเจนแตกตัวเป็นประจุ (Ion) และหลุดหนีสู่อวกาศ
3. เปลือกโลกเริ่มเย็นตัวลงเป็นของแข็ง มีการระเบิดของภูเขาไฟ
4. บรรยากาศโลกส่วนใหญ่เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน
5. โลกเย็นตัวลงจนไอน้าในอากาศสามารถควบแน่นทาให้เกิดฝน
6. ก๊าซออกซิเจนกลายเป็นองค์ประกอบหลักแทนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(2,000 Mg)
องค์ประกอบของอากาศ
บรรยากาศชั้นโฮโมสเฟียร์ ที่ห่อหุ้มโลกส่วนใหญ่ประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจน 78% ก๊าซ
ออกซิเจน 21% ก๊าซอาร์กอน 0.9% ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 0.033 % ที่เหลือ
เป็น ไอน้า และก๊าซอื่น ๆ จานวนเล็กน้อย
0.036%
78%
21%
0.9%
ชั้นบรรยากาศโลก
2. ฮีเทอร์โรสเฟียร์
(Heterosphere)
1. โฮโมสเฟียร์ (Homosphere)
แบ่งออกเป็น 2 ชั้นใหญ่ ๆ คือ
 ตัวอย่างภาพ บรรยากาศและพื้นผิวโลก จากดาวเทียมสถิต GOES-7 เมื่อวันที่
25/08/92
โฮโมสเฟียร์(Homosphere)
1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)
สูงจากผิวโลก 8 - 15 ก.ม. ยิ่งสูงอุณหภูมิยิ่งลด 6.4 องศา C
ทุก ๆ 1,000 เมตร อุณหภูมิจะหยุดลดลงเมื่อถึงชั้นรอยต่อ(โทรโพพอส)
-55 องศาC
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere)
ถัดจากโทรโพพอสไปจนถึงสตราโตพอส (20 - 48)
ก.ม. ยิ่งสูงอุณหภูมิยิ่งสูง อาจถึง 77 องศาC บรรยาการเคลื่อนที่ใน
แนวนอน ท้องฟ้าแจ่มใส โดยปกติเครื่องบินมักนิยมบินในชั้นนี้
3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)
ถัดจากชั้นสตราโตพอส สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 50 - 80
ก.ม. ความสูงเพิ่มขึ้นอุณหภูมิลดลง อาจถึง -100 องศาC ไปจนถึง
 ตัวอย่างภาพของบรรยากาศชั้น Troposphere แสดงถึงลักษณะของเมฆ cirrus และ cumulus
 ภาพของเมฆฝน Cumulonimbus ในบรรยากาศชั้น โทรโปสเฟียร์
 ภาพของ เมฆ ซึ่งกาลังขยายตัวจากบรรยากาศชั้นโทรโปสเฟียร์ ขึ้นมายังชั้น สเตรโตเฟียร์
เทอร์โมสเฟียร์ (Termosphere)
บางครั้งเราเรียกบรรยากาศที่ระดับความสูง 90-400 กิโลเมตร ว่า
“ไอโอโนสเฟียร์” (Ionosphere) เนื่องจากก๊าซในบรรยากาศชั้นนี้มีสถานะเป็น
ประจุไฟฟ้า ซึ่ง มีประโยชน์ในการสะท้อนคลื่นวิทยุสาหรับการสื่อสาร
โทรคมนาคม
มวลอากาศในชั้นเทอร์โมสเฟียร์มิได้อยู่ในสถานะของก๊าซ หากแต่อยู่ใน
สถานะของประจุไฟฟ้า เนื่องจากอะตอมของก๊าซไนโตรเจนและออกซิเจนใน
บรรยากาศชั้นบน ได้รับรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์เช่น รังสีเอ็กซ์ และแตกตัวเป็น
ประจุ อย่างไรก็ตามแม้ว่าบรรยากาศชั้นนี้จะมีอุณหภูมิสูงมาก แต่ก็มิได้มีความร้อน
มาก เนื่องจากมีอะตอมของก๊าซอยู่เบาบางมาก (อุณหภูมิเป็นเพียงค่าเฉลี่ยของ
พลังงานในแต่ละอะตอม ปริมาณความร้อนขึ้นอยู่กับมวลทั้งหมดของสสาร)
ฮีเทอร์โรสเฟียร์ (Heterosphere) สูง > 90 ก.ม.
เหนือชั้นเทอร์โมสเฟียร์ขึ้นไป ที่ระยะสูงประมาณ 500 กิโลเมตร โมเลกุลของ
อากาศอยู่ห่างไกลกันมาก จนอาจไม่สามารถวิ่งชนกับโมเลกุลอื่นได้ในบางครั้ง
โมเลกุลซึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงเหล่านี้ อาจหลุดพ้นอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก เรา
เรียกบรรยากาศในชั้นที่อะตอมหรือโมเลกุลของอากาศมีแนวโน้มจะหลุดหนีไปสู่
อวกาศนี้ว่า “เอ็กโซสเฟียร์” (Exosphere)
รังสีสู่โลก
ฮีเทอร์โรสเฟียร์ (Heterosphere)
1. Molecular nitrogen layer เป็นโมเลกุลของไนโตรเจน สูง 90 - 200 ก.ม.
2. Atomic oxygen layer ประกอบด้วยชั้นอะตอมของออกซิเจน
สูง 200 - 1,100 ก.ม.
3. Helium layer คือ ชั้นฮีเลียม สูง 1,100 - 3,500 ก.ม.
4. Hydrogen layer คือ ชั้นไฮโดรเจน 3,500 - > 10,000 ก.ม.
(อาจถึง 35,000 ก.ม.)
แมกนิโตสเฟียร์ (Magnetosphere)
บรรยากาศของสนามแม่เหล็ก สูง 64,000 - 130,000 ก.ม.
 ภาพจาลองของ กระแสลมสุริยะ จากดวงอาทิตย์ ที่เข้ามายัง บรรยากาศโลก
 ตัวอย่างของ แสงออโรรา ที่พบในเขตขั้วโลกเหนือ (aurora borealis)
 ตัวอย่างของ แสงออร์โรรา ที่พบในเขตขั้วโลกเหนือ (aurora borealis) ในปี ค.ศ. 2003
ระดับของเมฆ
นิมโบสเตรตัส
อัลโตสเตรตัส
สเตรโตคิวมูลัส
คิวมูลัส
คิวมูโลนิมบัส
เซอโรสเตรตัส
เซอรัส
อัลโตคิวมูลัส
เซอโรคิวมูลัส
อัลโตสเตรตัส
นิมโบสเตรตัส
สเตรตัส
อัลโตคิวมูลัส
เซอโรคิวมูลัส
เซอรัส Ci
เซอโรคิวมูลัส Cc
เซอโรสเตรตัส Cs
อัลโตคิวมูลัส Ac
อัลโตสเตรตัส As
นิมโบสเตรตัส Ns
สเตรโตคิวมูลัส Sc
สเตรตัส St
คิวมูลัส Cu
คิวมูโลนิมบัส Cb
Ci
Cb
Cu
Cs Cc
Ac
As
Ns
St
ดวงอาทิตย์ทรงกลด
เมฆก่อ
ตัว
แนวตั้ง
ฝนตก พายุฝนฟ้ าคะนอง
6 km
2
km
บังดวงอาทิตย์
18
km
Sc
เซอรัส
สัญลักษณ์
สัดส่วนเมฆปกคลุมท้องฟ้า
1/10
2-3/10
4/10
5/10
ไม่มีเมฆ
7-8/10
9/10
10/10
มีสิ่งกีดขวาง
6/10
เมฆยิ่งสูง ก้อนยิ่งเล็ก แผ่นยิ่งบางการเรียกชื่อเมฆ
ระดับของเมฆ
เซอโรคิวมูลัส
อัลโตคิวมูลัส
คิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส
เซอโรสเตรตัส
อัลโตสเตรตัส
สเตรตัสนิมโบสเตรตัส
สเตรโตคิวมูลัส
Cirro
(ชั้นสูง)
Alto
(ชั้นกลาง)
เมฆแผ่น(เมฆฝน) (เมฆฝน)
Strato (ชั้นต่า)
เมฆก้อน
อุณหภูมิอากาศ
1. กาลอากาศ (Weather) = ลักษณะของอากาศประจาวันใดวันหนึ่งเวลาใด
เวลาหนึ่ง เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก
2. ภูมิอากาศ (Climate) = สภาวะอากาศของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง ที่ได้จาก
การเก็บข้อมูลมาเป็นเวลานาน เป็นค่าเฉลี่ยของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคนั้น ๆ
ทั้งยังพิจารณาถึงภูมิอากาศที่แตกต่างไปจากค่าเฉลี่ยด้วย
องค์ประกอบภูมิอากาศ
• อุณหภูมิ
• ความกดอากาศ
• ลม ทิศทางลม
• ความชื้น
- ความชื้นในอากาศ
- เมฆและหมอก
- หยาดน้าฟ้า
ปัจจัยที่ควบคุมสภาพภูมิอากาศ
• ความเข้มของแสงแดด ซึ่งแปรผันตามละติจูด
• การกระจายตัวของแผ่นดิน และมหาสมุทร
• กระแสน้า กระแสลม ในมหาสมุทร
• ตาแหน่งของหย่อมความกดอากาศต่า
และหย่อมความกดอากาศสูง
• เทือกเขา
• ระดับสูงของพื้นที่
The Six Factors
ละติจูด
เนื่องจากโลกเป็นทรงกลม แสงอาทิตย์จึงตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมไม่เท่ากัน (ภาพที่ 3) ในเวลา
เที่ยงวันพื้นผิวบริเวณศูนย์สูตรได้รับรังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมชัน แต่พื้นผิวบริเวณขั้วโลก
ได้รับรังสีจากแสงอาทิตย์เป็นมุมลาด ส่งผลให้เขตศูนย์สูตรมีอุณหภูมิสูงกว่าเขตขั้วโลก
ประกอบกับรังสีที่ตกกระทบพื้นโลกเป็นมุมลาด เดินทางผ่านความหนาชั้นบรรยากาศเป็น
ระยะทางมากกว่า รังสีที่ตกกระทบเป็นมุมชัน ความเข้มของแสงจึงถูกบรรยากาศกรองให้ลด
น้อยลง ยังผลให้อุณหภูมิลดต่าลงไปอีก
พื้นดินและพื้นน้า
พื้นดินและพื้นน้ามีคุณสมบัติในการดูดกลืนและคายความร้อนแตกต่างกัน เมื่อรับความร้อน
พื้นดินจะร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้า เมื่อคายความร้อนพื้นดินจะเย็น
ตัวอย่างรวดเร็ว และมีอุณหภูมิต่ากว่าพื้นน้า
ระดับสูงของพื้นที่ (Elevation)
สภาพทั่วไปเราจะพบว่ายิ่งสูงขึ้นไป อุณหภูมิของอากาศจะลดต่าลงด้วยอัตรา 6.4°C ต่อ
กิโลเมตร (Environmental lapse rate) ดังนั้นอุณหภูมิบนยอดเขาสูง 2,000 เมตร จะต่ากว่า
อุณหภูมิที่ระดับน้าทะเลประมาณ 13°C
ตาแหน่งทางภูมิศาสตร์
พื้นผิวโลกมีสภาพภูมิประเทศแตกต่างกัน มีทั้งที่ราบ ทิวเขา หุบเขา ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาบ
ทะเลทราย ที่ราบสูง สภาพภูมิประเทศมีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศโดยตรง
การวัดอุณหภูมิ
1. อุณหภูมิเฉลี่ยของวัน = มากสุดของวัน + น้อยสุดของวัน
2
2. อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือน = อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวันรวมกัน
จานวนวัน
3. อุณหภูมิเฉลี่ยของปี = อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละเดือนรวมกัน
12
แกนของโลกเอียง 23.5 ขณะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
การหมุนเวียนของบรรยากาศ หากโลกไม่หมุน
การหมุนเวียนของบรรยากาศ เนื่องจากโลกหมุน
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
การเคลื่อนที่ของแนวปะทะอากาศยกตัวเขตร้อน (ITCZ)
ปัจจัยที่มีผลต่อภูมิอากาศ
1. ที่ตั้ง
เขตร้อน ละติจูดระหว่าง 23 ½ น.-23 ½ ใต้.
เขตอบอุ่น ละติจูดระหว่าง 23 ½ น-66 ½ น และ 23 ½ ต. – 66 ½ ต.
เขตหนาว ระหว่าง 66 ½ น – 90 น. และ 66 ½ ต. – 90 ต.
ประเทศไทย อยู่ช่วงละติจูด 5 – 20 น. เป็นเขตร้อนจึงมีสภาพ
อากาศร้อน
ฝนแข็ง
บางครั้งฝนก็ตกลงมาเป็นเม็ดน้าแข็งเรียกว่า ลูกเห็บ ลูกเห็บเกิดขึ้น
เมื่อเม็ดน้าฝนถูกหอบสูงขึ้นไปในก้อนเมฆทาให้มันเย็นจัดจนกลายเป็น
น้าแข็งขณะที่ลูกเห็บกระดอนขึ้นกระดอนลงอยู่ภายในก้อนเมฆ มันจะมี
ขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนล่างของเมฆฝนฟ้าคะนองสีเทาขนาดใหญ่นี้มีน้า
อยู่เต็มไปหมด ฝนเม็ดใหญ่ ๆ ตกติดต่อกันลงมาเป็นสาย
กระแสลมวน
ลมบก ลมทะเล
การเรียกชื่อเมฆ
เซอรัส Ci
เซอโรคิวมูลัส Cc
เซอโรสเตรตัส Cs
อัลโตคิวมูลัส Ac
อัลโตสเตรตัส As
นิมโบสเตรตัส Ns
สเตรโตคิวมูลัส Sc
สเตรตัส St
คิวมูลัส Cu
คิวมูโลนิมบัส Cb
Ci
Cb
Cu
Cs Cc
Ac
As
Ns
St
ดวงอาทิตย์ทรงกลด
เมฆก่อ
ตัว
แนวตั้ง
ฝนตก พายุฝนฟ้ าคะนอง
6 km
2
km
บังดวงอาทิตย์
18
km
Sc
เซอรัส
สัญลักษณ์
สัดส่วนเมฆปกคลุมท้องฟ้า
1/10
2-3/10
4/10
5/10
ไม่มีเมฆ
7-8/10
9/10
10/10
มีสิ่งกีดขวาง
6/10
เมฆยิ่งสูง ก้อนยิ่งเล็ก แผ่นยิ่งบางการเรียกชื่อเมฆ
ระดับของเมฆ
เซอโรคิวมูลัส
อัลโตคิวมูลัส
คิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส
เซอโรสเตรตัส
อัลโตสเตรตัส
สเตรตัสนิมโบสเตรตัส
สเตรโตคิวมูลัส
Cirro
(ชั้นสูง)
Alto
(ชั้นกลาง)
เมฆแผ่น(เมฆฝน) (เมฆฝน)
Strato (ชั้นต่า)
เมฆก้อน
เมฆชั้นต่ำ(พื้น-2km)
เมฆชั้นกลำง(2-6km)
เมฆชั้นสูง(6-18km)
Cirrocumulus|Cc
เซอโรคิวมูลัส:
Cirrostratus|Cs
เซอโรสเตรตัส:
Cirrus|Ci
เซอรัส:
Altocumulus|Ac
อัลโตคิวมูลัส:
Altostratus|As
อัลโตสเตรตัส:
Cumulus|Cu
คิวมูลัส:
Stratus|St
สเตรตัส:
Stratocumulus|Sc
สเตรโตคิวมูลัส:
Nimbostratus|Ns
นิมโบสเตรตัส:
Cumulonimbus|Cb
คิวมูโลนิมบัส:
เมฆก่อตัวในแนวตั้ง(พื้น-18km)
มีลักษณะเป็นเกร็ดบาง
หรือระลอกคลื่นเล็กๆ
โปร่งแสง เรียงรายกันอย่าง
มีระเบียบ
แผ่นบางสีขาวโปร่งแสง
ปกคลุมท้องฟ้ากินอาณา
บริเวณกว้าง ทาให้เกิดดวง
อาทิตย์/ดวงจันทร์ทรงกลด
ริ้วสีขาวเป็นเส้นบาง
โปร่งแสง มีลักษณะ
คล้ายขนนก เนื่องจาก
ถูกกระแสลมชั้นบนพัด
เมฆก้อนลอยติดกัน คล้าย
ฝูงแกะ คล้ายเมฆเซอโร
คิวมูลัส แต่มีขนาดใหญ่
กว่ามาก
เมฆแผ่นหนา สีเทา ปกคลุม
ท้องฟ้าเป็นอาณาบริเวณกว้าง
บางครั้งหนามากจนบดบัง
ดวงอาทิตย์ได้
เมฆก้อน ลอยต่ารูปทรงไม่
ชัดเจน มักมีสีเทา มีช่องว่าง
ระหว่างก้อนไม่มากมักพบ
เห็นเมื่อสภาพอากาศไม่ดี
เมฆแผ่นบาง ลอยสูงเหนือ
พื้น
ไม่มากนัก มักเกิดขึ้นตอน
เช้า หรือหลังฝนตก หาก
ลอยต่า
ปกคลุมพื้น เรียกว่า หมอก
เมฆสีเทา ทาให้เกิดฝน แต่
ไม่มีพายุฝนฟ้าคะนอง มัก
ปรากฏให้เห็นสายฝนตกลง
จากฐานเมฆ
เมฆปุกปุย ฐานราบ ยอด
มน ทรงดอกกะหล่า มัก
เกิดขึ้นในวันที่มีอากาศดี
และมีการก่อตัวในแนวดิ่ง
เมฆขนาดยักษ์ รูปทรงดอก
กระหล่า ทาให้เกิดพายุฝนฟ้า
คะนอง หากลมชั้นบนพัดแรง
ยอดเมฆจะแผ่ออกคล้ายทั่ง
แผนภาพเมฆ
© 2003 The LESA Project
ระดับของเมฆ
นิมโบสเตรตัส
อัลโตสเตรตัส
สเตรโตคิวมูลัส
คิวมูลัส
คิวมูโลนิมบัส
เซอโรสเตรตัส
เซอรัส
อัลโตคิวมูลัส
เซอโรคิวมูลัส
อัลโตสเตรตัส
นิมโบสเตรตัส
สเตรตัส
อัลโตคิวมูลัส
เซอโรคิวมูลัส
เมฆชั้นต่า : สเตรโตคิวมูลัส Stratocumulus
เมฆชั้นต่า: สเตรตัส Stratus
เมฆชั้นต่า: นิมโบสเตรตัส Nimbostratus
เมฆชั้นกลาง: อัลโตสเตรตัส Altostratus
เมฆชั้นกลาง: อัลโตคิวมูลัส Altocumulus
เมฆชั้นสูง: เซอโรคิวมูลัส Cirrocumulus
เมฆชั้นสูง: เซอโรสเตรตัส Cirrostratus
เมฆชั้นสูง: เซอรัส Cirrus
เมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง: เมฆคิวมูลัส Cumulus
เมฆที่ก่อตัวในแนวตั้ง: เมฆคิวมูโลนิมบัส Cumulus
แกนควบแน่น และหยดน้าในเมฆ
การชนและรวมตัวของหยดน้า
การเพิ่มขนาดของผลึกน้าแข็ง
การเพิ่มขนาดของหยดน้าในก้อนเมฆ
หยาดน้าฟ้าในเมฆคิวมูโลนิมบัส
อุปกรณ์วัดน้าฝน
การจาแนกภูมิอากาศโลก
ปี ค.ศ.1918 วลาดิเมียร์ เคิปเปน (Vladimir Köppen)
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้จาแนกภูมิอากาศโลกโดยใช้เกณฑ์
อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนและปริมาณหยาดน้าฟ้า โดยใช้สัญลักษณ์เป็น
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ดังนี้
การจาแนกประเภทภูมิอากาศตามแบบเคิปเปน
A เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น (Tropical climate) มีอุณหภูมิเฉลี่ยทุก
เดือนสูงกว่า 64.4 องศา F (18 องศา C) ไม่มีฤดูหนาวเลย ปริมาณฝน
เฉลี่ยค่อนข้างสูง
B เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง (Dry climate) มีอัตราการระเหยของ
น้ามากกว่าปริมาณความชื้นที่ได้รับแต่ละปี มีฝนตกน้อยตามบริเวณต่าง ๆ ไม่
มีร่องน้าที่น้าสามารถไหลได้ตลอดปี
C เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น (Warm temperate (Mesothermal) climate)
เดือนที่หนาวที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 64.4 องศา F (18 องศา C ) แต่สูง
กว่า26.6 องศา F (-3 องศา C ) และอย่างน้อยเป็นเวลา 1 เดือนที่มี
อุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C ) มีทั้งฤดูร้อนและฤดูหนาว
D ภูมิอากาศหนาวมีหิมะตก (Snow Microthermal climate) เดือนที่หนาวที่สุด
อุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 26.6 องศา F (-3 องศา C ) เดือนที่ร้อนที่สุดมีอุณหภูมิ
เฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C) ตามแนวของเส้นไอโซเทอมทางเหนือ
สุดของเดือนที่ร้อนที่สุดของภูมิอากาศแบบ D เป็นแนวที่ต้นไม้เจริญเติบโตได้
E ภูมิอากาศที่มีน้าแข็งปกคลุม (Ice climate) อุณหภูมิเฉลี่ยเดือนที่ร้อนที่สุดต่ากว่า
50 องศา F (10 องศา C ) ไม่มีฤดูร้อนเลย
* S ภูมิอากาศทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe climate) อุณหภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง ฝน
ตกเฉลี่ยต่า ประมาณปีละ 15 - 30 นิ้ว (38 - 76 เซนติเมตร) ได้แก่ BS
* W ภูมิอากาศทะเลทราย (Desert climate) อุณหภูมิอากาศแห้งแล้ง ฝนตกเฉลี่ย
ประจาปีน้อยกว่า 10 นิ้ว (25 เซนติเมตร) ได้แก่ BW
* f ภูมิอากาศชุ่มชื้น มีฝนตกทุกเดือน ไม่มีฤดูแล้ง ใช้กับภูมิอากาศแบบ A,B,C
* w ภูมิอากาศแห้งแล้งในฤดูหนาว หรือระยะที่ดวงอาทิตย์อ้อมใต้
* s ภูมิอากาศแห้งแล้งในฤดูร้อน หรือระยะที่ดวงอาทิตย์อ้อมเหนือ
* m ภูมิอากาศที่มีระยะเวลาแห้งแล้งสั้น พบในเขตมรสุม ใช้กับอากาศแบบ A
Af ภูมิอากาศแบบป่าร้อนชื้น มีปริมาณฝนมากกว่า 2.4 นิ้ว/ปี
Am ภูมิอากาศแบบป่าร้อนชื้น ฝนน้อยกว่า 2.4 นิ้ว/ปี (ภาคใต้,ตะวันออก)
Aw ภูมิอากาศร้อนชื้นแบบสะวันนา (ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือของไทย)
BS ภูมิอากาศทุ่งหญ้าสเตปป์
BW ภูมิอากาศทะเลทราย
Cw ภูมิอากาศอบอุ่น ชื้น และฝนตกชุก แห้งแล้งในฤดูหนาว
Cf ภูมิอากาศอบอุ่นชุ่มชื้น มีความชื้นตลอดปี
Cs ภูมิอากาศอบอุ่นชื้น มีฝนตก แห้งแล้งในหน้าร้อน (เมริเตอเรเนียน)
Df ภูมิอากาศหนาวมีหิมะตกชุ่มชื้นตลอดปี
Dw ภูมิอากาศหนาวมีหิมะตก ฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง
WT ภูมิอากาศแบบทุนดรา
WF ภูมิอากาศที่มีหิมะปกคลุมตลอดปี
สวัสดี
* ขอให้ทาข้อสอบโดยสวัสดิภาพ *

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
Coco Tan
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Physciences Physciences
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
พัน พัน
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
panadda kingkaew
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 

Similar to อากาศภาค

งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
focuswirakarn
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศSunflower_aiaui
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55krupornpana55
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
พัน พัน
 

Similar to อากาศภาค (20)

งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศ
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
2
22
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 

อากาศภาค