SlideShare a Scribd company logo
ส่วนประกอบของเงินทุน
เงินทุนทั้งสิ้นของบริษัทซึ่งแสดงอยู่ในงบดุลภายใต้ส่วน
ของผู้ถือหุ้น(Shareholders’ Equity) ประกอบด้วย 3
ส่วนสาคัญคือ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุน ละกาไรสะสม
ทุนเรือนหุ้น (Capital Stock) หมายถึง หุ้นทุน
ของบริษัทซึ่งจะต้องแสดงด้วยราคาตามมูลค่าเสมอ โดยทั่วไปการ
แสดงทุนเรือนหุ้นในงบดุลแยกเป็น 2 ส่วนคือ
1. ทุนจดทะเบียน หมายถึง มูลค่าหุ้นทุนทั้งสิ้นที่จดทะเบียนไว้ตาม
กฎหมาย โดยระบุชนิดของหุ้น จานวนหุ้น และมูลค่าหุ้น
2. ทุนที่ออกจาหน่ายและเรียกชาระแล้ว หมายถึง หุ้นทุนทั้งสิ้นที่นา
ออกจาหน่ายและเรียกชาระเต็มมูลค่าแล้ว โดยระบุชนิดของหุ้น จานวนหุ้น และ
มูลค่ารวม ในกรณีที่มีหุ้นบุริมสิทธิควรแสดงสิทธิพิเศษของหุ้นนั้นไว้ด้วย เช่น หุ้น
บุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้ เป็นต้น
ส่วนเกินทุน (Capital Excess) หมายถึง ส่วนเกิดจากมูลค่าหุ้น
หรือส่วนเกินจากทุนที่นามาลง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เกิดจากกาไร
ในการดาเนินงาน ดังนั้นบริษัทจะนาเงินทุนในส่วนนี้ไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
ส่วนเกินทุนประกอบด้วย
1. ส่วนเกินมูลค่าหุ้น หมายถึง ส่วนเกินทุนที่เกิดจากการออกหุ้นทุนใน
ราคาที่สูงกว่ามูลค่าในทางตรงข้ามถ้าบริษัทออกหุ้นทุนในราคาต่ากว่ามูลค่า จะ
เกิดผลต่างด้านเดบิตถือเป็นส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ซึ่งจะต้องแสดงเป็นรายการหัก
จากส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล
2. ส่วนเกินทุนอื่น หมายถึง ส่วนเกินทุนอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนเกินมูลค่า
หุ้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในกรณีต่างๆ เช่น
- ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม
- ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ
- ส่วนเกินทุนจากการไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ
- ส่วนเกินทุนจากการริบหุ้น
- ส่วนเกินทุนจากการบริจาค เป็นต้น
กำไรสะสม (Retained Earnings) หมายถึง กาไรสุทธิที่สะสม
ไว้ตั้งแต่บริษัทเริ่มเปิดกิจการ หัก้ดวยเงินปันผลของปีก่อนๆ ในกรณีที่บริษัท
ประสบผลขาดทุนจานวนมากบัญชีกาไรสะสมจะมียอดคงเหลือด้านเดบิต
เรียกว่า ขาดทุนสะสม (Deficit) โดยกาไรสะสมแบ่ง 2 ประเภท คือ
1. กาไรสะสมจัดสรร หมายถึง กาไรสะสมส่วนที่กันสาหรับวัตถุประสงค์
เฉพาะตามที่กาหนด เช่น จัดสรรไว้เป็นสารองตามกฎหมาย หรือเพื่อ
ขยายกิจการเป็นต้น
2. กาไรสะสมที่ยังไม่จัดสรร หมายถึงกาไรสะสมส่วนที่เหลือจากการจัดสรร
ซึ่งบริษัทสามารถนาไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้
กำรเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
เงินทุนของบริษัทจากัดอาจมีการเปลี่ยนแปลงจากรายการต่างๆ
ดังต่อไปนี้
1. การเพิ่มทุนและการให้สิทธิซื้อหุ้น
2. หุ้นทุนได้รับคืนมา
3. การลดทุน
4. การแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ
5. การแตกหุ้นและการรวมหุ้น
6. การตีราคาสินทรัพย์ใหม่
ในบางกรณีรายการต่างๆ ข้างต้น อาจก่อให้เกิดผลกาไรหรือขาดทุนจากการ
เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น เช่น จากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ เป็นต้น ซึ่ง
ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปจะไม่รับรู้ผลกาไรที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินงาน
ดังกล่าวเป็นรายได้หรือกาไรสะสม แต่จะรับรู้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นโดยเครดิตไว้ใน
บัญชีส่วนเกินทุน โดยถือหลักว่ากาไรสะสะมจะต้องไม่เพิ่มขึ้นเนื่องจากกาไรที่เกิด
จากผู้ถือหุ้น แต่อาจลดลงได้ในกรณีที่เป็นผลขาดทุนโดยถือเป็นการโอนกาไรสะสม
ตั้งขึ้นเป็นทุน
กำรเพิ่มทุนและกำรให้สิทธิซื้อหุ้น
การเพิ่มทุน บริษัทอาจจัดหาเงินทุนด้วยวิธีการออกหุ้นทุนเพิ่ม โดยการจดทะเบียน
เพิ่มทุนจะต้องได้รับอนุมัติจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3
ใน 4 ของจานวนเสียงทั้งหมด และจะต้องนามตินั้นไปจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน
จดทะเบียนภายใน 14 วัน ซึ่งการเพิ่มทุนของบริษัทเอกชนและบริษัทมหาชนอาจ
แตกต่างกันดังนี้
- ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ การเพิ่มทุนของบริษัทเอกชน
ต้องกระทาโดย มติพิเศษ ซึ่งหมายถึงการลงมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นสองครั้ง
ติดต่อกัน โดยการประชุมครั้งที่ 2 เพื่อลงมติยืนยันมติเดิมต้องห่างจากการประชุม
ครั้งแรกไม่น้อยกว่า 14 วันและไม่เกิน 6 สัปดาห์
จานวนหุ้นที่ออกใหม่ต้องเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมด ตามส่วน
จานวนหุ้นที่แต่ละคนถืออยู่ โดยทาเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทุกคนทราบจานวน
หุ้น ราคา และระยะเวลาที่จะใช้สิทธิซื้อหุ้นได้ถ้าไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้นภายในเวลาที่
กาหนด บริษัทสามารถนาหุ้นนั้นออกเสนอขายให้กับบุคคลอื่นได้
- ตำมพระรำชบัญญัติบริษัทมหำชนจำกัด การเพิ่มทุนของบริษัท
มหาชนจะกระทาได้ต่อเมื่อหุ้นทั้งหมดได้ออกจาหน่ายและได้รับชาระเงินค่าหุ้น
ครบถ้วนแล้ว หรือในกรณีที่หุ้นยังจาหน่ายไม่ครบ หุ้นที่เลหือต้องเป็นหุ้นที่จัดสรรไว้
เพื่อรองรับหุ้นกู้แปลงสภาพหรือใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น
การเพิ่มทุนของบริษัทมหาชนไม่ต้องใช้มติพิเศษ และจานวนหุ้นที่ออกใหม่
จะเสนอขายทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ โดยจะเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมด
หรือจะเสนอขายต่อประชาชนหรือบุคคลอื่นไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก้ได้ ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น
การให้สิทธิซื้อหุ้น (Stock Rights or Stock lssue) เมื่อจด
ทะเบียนเพิ่มทุน บริษัทอาจให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลบางกลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้นเดิม
ผู้บริหาร พนักงาน และผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทรวมทั้งผู้ซื้อหุ้นชนิดอื่นของบริษัท
เพื่อเป็นการจูงใจหรือตอบแทนบุคคลดังกล่าว โดยการให้สิทธิซื้อหุ้นทุนที่จะออก
ใหม่ได้ก่อนบุคคลอื่นในราคาที่กาหนด ซึ่งโดยทั่วไปมักจะต่ากว่ามูลค่ายุติธรรมของ
หุ้นทาให้สิทธินั้นมีค่าและอาจมีการซื้อขายสิทธิได้ในบางประเทศ แต่สาหรับ
ประเทศไทยไม่สามารถซื้อขายได้เนื่องจากสิทธิดังกล่าวโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ค่ำของสิทธิ = มูลค่ำยุติธรรมของหุ้น ณ วันสิทธิ – รำคำใช้สิทธิซื้อหุ้น
บริษัทต้องทาหนังสือแจ้งให้ผู้ได้รับสิทธิทราบจานวนสิทธิ รวมทั้งราคา ระยะเวลา
และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้สิทธิดังกล่าว พร้อมทั้งจัดทาทะเบียนเพื่อบันทึกทรงจาเกี่ยวกับ
การให้สิทธิ การนาสิทธิมาใช้ซื้อหุ้น และจานวนหุ้นที่ต้องสารองไว้สาหรับสิทธิที่ยังมิได้
นามาใช้ โดยทุกครั้งที่มีผู้ใช้สิทธิซื้อหุ้นจะต้องบันทึกข้อมูลในทะเบียนเพื่อลดยอดจานวน
หุ้นที่ต้องสารองไว้ให้เป็นปัจจุบันเสมอ
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการให้สิทธิซื้อหุ้นทุนที่จะออกใหม่อาจแบ่งเป็น 3 กรณี
คือ 1. การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม
2. การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน
3. การให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น
กำรให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิ (Right) ตาม
จานวนหุ้นที่ตนถืออยู่ 1 หุ้น ต่อ 1 สิทธิ เช่น บริษัทมีหุ้นทุน 20,000หุ้น ถ้าจดทะเบียน
เพิ่มทุน 10,000 หุ้น โดยเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมดจะต้องออกสิทธิ 20,000
หน่วย (สิทธิ 2 หน่วยใช้ซื้อหุ้นใหม่ได้ 1 หุ้น)
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม สรุปได้ดังนี้
- วันให้สิทธิซื้อหุ้น ไม่ว่าสิทธิที่ให้จะมีค่าหรือไม่ ไม่ต้องบันทึกบัญชีเพียงแต่
บันทึกทรงจาเกี่ยวกับสิทธิที่ให้ไว้ในสมุดบัญชี โดยระบุชนิดของหุ้นและเงื่อนไขต่างๆที่
กาหนดในการใช้สิทธิซื้อหุ้น
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น ให้บันทึการจาหน่ายหุ้นทุนตามปกติ ยกเว้นกรณีที่
ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้นต่ากว่ามูลค่าหุ้น ผลต่างให้ เดบิตกาไรสะสม โดยถือเป็นการโอน
กาไรสะสมยกขึ้นเป็นทุนอันเนื่องจากการที่บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นเดิมซื้อหุ้นใหม่
ได้ในราคาต่ากว่ามูลค่าของหุ้นนั้น
- วันที่สิทธิหมดอายุ ถ้ายังมีสิทธิซื้อหุ้นเหลืออยู่โดยไม่มีผู้นามาใช้ ให้
บันทึกทรงจาเกี่ยวกับการยกเลิกสิทธิดังกล่าว และบริษัทสามารถนาหุ้นที่เหลือ
ออกจาหน่ายให้บุคคลอื่นได้
ตัวอย่ำงที่ 1 บริษัทมีทุนหุ้นสามัญที่ออกแล้ว 5,000หุ้น ต่อมาบริษัทจด
ทะเบียนเพิ่มทุนหุ้นสามัญ 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท โดยให้สิทธิแก่ผู้
ซื้อหุ้นเดิมซื้อหุ้นใหม่ได้ในอัตรา 5 หุ้น เดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาหุ้นละ 105 บาท
กาหนดให้ใช้สิทธิภายใน 2 เดือน หุ้นสามัญมีมูลค่ายุติธรรม ณ วันให้สิทธิ หุ้นละ
135 บาทเมื่อครบกาหนด 2 เดือน ปรากฏว่ามีผู้นาสิทธิมาใช้ซื้อหุ้นใหม่ทั้งสิ้น
900 หุ้น โดยใช้สิทธิทั้งสิ้น (900x5)=4,500 หน่วย บริษัทจึงยกเลิกสิทธิที่
เหลือ (5,000-4,500)=500 หน่วย
กำรบันทึกบัญชี
- วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกทรงจา บริษัทออกสิทธิซื้อหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้น
เดิม 5,000 หน่วย โดยสิทธิ 5 หน่วยสามารถซื้อหุ้นใหม่ได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ
105บาท สิทธิมีอายุ 2 เดือน
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900หุ้น ราคาหุ้นละ
105 บาท
เดบิต เงินสด (900x100) 94,500
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (900x100) 90,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ(900x5) 4,500
- วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกทรงจา
สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่เหลือจานวน 500 สิทธิ ซึ่งยังไม่มีผู้นามาใช้
หมดอายุในวันนี้
กำรให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงำน สิทธิซื้อหุ้นที่ให้กับพนักงานมักจะเป็นสิทธิ
ที่มีค่าซึ่งบริษัทจะต้องบันทึกค่าของสิทธิ โดยเครดิตไว้ในบัญชีสิทธิในการซื้อหุ้นทุน
ดังนี้
วันให้สิทธิซื้อหุ้น จะเดบิตบัญชีใดขึ้นอยู่กับว่าเป็นการตอบแทนผลงานในช่วงเวลา
ใด
ก. กรณีตอบแทนผลงานงวดก่อน
เดบิต กาไรสะสม xx
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx
ข. กรณีตอบแทนผลงานงวดปัจจุบัน
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน xx
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx
ค. กรณีตอบแทนผลงานในอนาคต
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี xx
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx
ณ วันสิ้นงวด จะต้องตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายแต่ละงวดตามระยะเวลาที่กาหนด
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน xx
เครดิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี xx
ตัวอย่ำงที่ 2 บริษัท วี จากัด จดทะเบียนเพิ่มทุนหุ้นสามัญ โดยจัดสรรสิทธิในการซื้อหุ้นใหม่ให้กับผู้ริหาร
และพนักงานจานวน 5,000 หน่วย กาหนดการใช้สิทธิซื้อหุ้นใหม่ในอัตราสิทธิ 5 หน่วย ต่อ1 หุ้น ใน
ราคาหุ้นละ 105 บาท หุ้นสามัญมีมูลค่ายุติธรรม ณ วันให้สิทธิ หุ้นละ 135 บาท
ค่าของสิทธิ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้น ณ วันให้สิทธิ-ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น
= 135-105
= 30 บาทต่อหุ้น (หรือ 30/ 5=6 บาทต่อสิทธิ)
สิทธิทั้งสิ้นจานวน 5,000 หน่วย สามารถซื้อหุ้นได้จานวน (5,000/5)=1,000หุ้น
กรณีที่ 1 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานงวดก่อน
- วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น
เดบิต กาไรสะสม 30,000
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30) 30,000
กรณีที่ 2 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานงวดปัจจุบัน
- วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน 30,000
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30) 30,000
กรณีที่ 3 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานในอนาคต
จากตัวอย่างของบริษัท วี จากัด สมมุติบริษัทให้สิทธิในวันต้นปี 25x1 โดยกาหนดเงื่อนไขว่า
พนักงานจะใช้สิทธิซื้อหุ้นได้ต่อเมื่อปฏิบัติงานในบริษัทต่อไปจนครบ 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ให้สิทธิ
ซื้อหุ้น
- วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี 30,000
เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30)
30,000
- วันสิ้นงวดปี 25x1และ 25x2 บันทึกรายการปรับปรุงค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชีเฉลี่ย
ตัดเป็นค่าใช้จ่ายปีละ (30,000/2)=15,000 บาท โดย
เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน 15,000
เครดิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี 15,000
รายการวันใช้สิทธิซื้อหุ้น และวันที่สิทธิหมดอายุ จะบันทึกเหมือนกันทั้ง 3
กรณี ดังนี้
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น ให้บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ พร้อมทั้งเดบิตสิทธิใน
การซื้อหุ้นทุน เพื่อลดยอดลงตามจานวนสิทธิที่นามาใช้ซื้อหุ้นแล้ว ดังนี้
เดบิต เงินสด (ตามราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น) xx
สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ (ค่าของสิทธิ) xx
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (ตามมูลค่า) xx
ถ้ามีผลต่างจากรายการข้างต้น ให้บันทึกไว้ในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่า
หุ้นสามัญ
ถ้าสินทรัพย์นั้นไม่เคยตีราคาลดลง และไม่เคยรับรู้เป็นค่าใช้จ่ามาก่อน ให้รับรู้ราคาที่ตี
ใหม่เป็นรายการในส่วนของผู้ถือหุ้น โคยเครดิตบัญชี ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์
ถ้าสินทรัพย์นั้นเคยตีราคาลดลง และกิจการรับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน
แล้วให้รับรู้ราคาทีตีเพิ่มขึ้นใหม่เป็นรายได้โดยเครดิตบัญชี กาไรจากการตีราคาสินทรัพย์ ใน
จานวนไม่เกินกว่าที่เคยตีราคาลดลงซึ่งได้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน (ถ้าตีราคาเพิ่มขึ้นเกิน
กว่าที่เคยตีราคาลดลงส่วนที่เกินให้เครดิตบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์)
2. การตีราคาสินทรัพย์ลดลง ให้บันทึกลดยอดบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่ตีราคาลดลง
โดย
เดบิต ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx
ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx
เครดิต สินทรัพย์ xx
ถ้าสินทรัพย์นั้นไม่เคยตีราคาเพิ่มขึ้น ให้นาส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่ไปบันทึกรับรู้
เป็นค่าใช้จ่าย โดยเดบิตบัญชี ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์
-วันให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้ บันทึกการจาหน่ายหุ้นอื่นตามปกติ โดย
ถือว่าเงินที่ได้รับทั้งสิ้นเป็นราคาขายของหุ้นอื่นนั้นทั้งจานวน สาหรับข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิ
เพียงแต่บันทึกทรงจาไว้เพื่อการจัดสรรจานวนหุ้นที่ต้องสารองไว้สาหรับสิทธิดังกล่าว
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น โดยปกติถ้าราคาใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญสูงกว่ามูลค่ายุติธรรม จะไม่มี
ผู้ใช้สิทธิเนื่องจากสามารถซื้อหุ้นในตลาดในราคาที่ต่ากว่า แต่ถ้าต่อมามูลค่ายุติธรรมของ
หุ้นเพิ่มขึ้นจนสูงกว่าราคาที่ใช้สิทธิมาใช้ซื้อหุ้น ให้บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ
ตามปกติ
- วันที่สิทธิหมดอายุ ไม่ต้องบันทึกบัญชี ถ้ามีสิทธิซื้อหุ้นที่ไม่มีผู้นามาใช้เหลืออยู่
บริษัทเพียงแต่บันทึกทรงจาเพื่อยกเลิกจานวนหุ้นที่สารองไว้สาหรับสิทธิดังกล่าว
ตัวย่างที่ 4 บริษัท ดี จากัด ออกจาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้น ในราคา
หุ้นละ 130 บาท พร้อมทั้งให้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ซื้อบุริมสิทธิ 4,000
หน่วย โดยสิทธิ 4 หน่วยจะซื้อหุ้นสามัญที่จะออกใหม่ได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105
บาทสิทธิมีอายุ 2 เดือนมูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันที่ให้สิทธิหุ้นละ 101 บาท
ต่อมาเมื่อมูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญเพิ่มขึ้นเป็นหุ้นละ 120 บาทปรากฏว่ามีผู้นา
สิทธิมาใช้ซื้อหุ้นสามัญทั้งสิ้น 900 หุ้น สิทธิที่เหลือหมดอายุโดยไม่มีผู้นามาใช้
ค่าของสิทธิ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้น ณ วันให้สิทธิ – ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น
= 101 – 105 = (4) บาท ดังนั้น สิทธิไม่มีค่า
การบันทึกบัญชี
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญพร้อมการจาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ บันทึกการ
จาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้นราคาหุ้นละ 130 บาท พร้อมทั้งใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ
เพิ่มทุนแก่ผู้ซื้อหุ้นบุริมสิทธิ 4,000 หน่วยโดยสิทธิ 4 หน่วยจะซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น
ในราคาหุ้นละ 105 บาทสิทธิมีอายุ 2 เดือน
เดบิต เงินสด(1,000 x 103) 13,000
เครดิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ(1,000 x 100) 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ(1,000 x 30) 30,000
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900 หุ้น ราคาหุ้นละ 105 บาท
เดบิต เงินสด(900 x 105) 94,500
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(900 x 100) 90,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ(900 x 5) 4,500
วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกทรงจา
สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่เหลือจานวน 500 หน่วย ซึ่งยังไม่มีผู้นามาใช้หมดอายุใน
วันนี้
2. กรณีสิทธิมีค่า ให้บันทึกค่าของสิทธิไว้ในบัญชีโดยเครดิตบัญชีสิทธิในการซื้อ
หุ้นสามัญ และถือเป็นรายการหักจากการจาหน่ายหุ้นอื่น ดังนี้
- วันให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้บันทึกรายการ ดังนี้
เดบิต เงินสด(ราคาขายหุ้นอื่นพร้อมสิทธิ) xx
เครดิต หุ้นอื่น(ตามมูลค่า) xx
สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(ค่าของสิทธิ) xx
ถ้ามีผลต่างจกรายการข้างต้น ให้บันทึกไว้ในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น
อื่น
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น และ วันที่สิทธิหมดอายุ มีวิธีการบันทึกบัญชีและการคานวณ
ส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นสามัญ เช่นเดียวกับกรณีการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่
พนักงาน
ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่างที่ 4 ถ้าหุ้นสามัญของบริษัท ดี จากัด มีมูลค่ายุติธรรม
ณ วันให้สิทธิหุ้นละ 125 บาท สามารถคานวณค่าของสิทธิ และส่วนเกินมูลค่าหุ้น
บุริมสิทธิได้ดังนี้
ค่าของสิทธิ= มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันให้สิทธิ - ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น
= 125 – 105 = 20 บาทต่อหุ้น
ราคาขายหุ้นบุริมสิทธิ = ราคาขายหุ้นบุริมสิทธิพร้อมสิทธิ – ค่าของสิทธิ
= 130 – 20 = 110 บาทต่อหุ้น
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ = 110 – 20 = 10 บาทต่อหุ้น
การบันทึกบัญชี
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้บันทึกการรับเงินสดหุ้นละ
130 บาท โดยแยกเป็นค่าของสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญหุ้นละ 20 บาท และราคาขาย
หุ้นบุริมสิทธิหุ้นละ 110 บาท ดังนี้
เดบิต เงินสด(1,000 x 130) 130,000
เครดิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ(1,000x100) 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ(1,000x10) 10,000
สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x20) 20,000
- วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกรายการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900 หุ้น ราคาหุ้นละ 105 บาท
พร้อมทั้งบันทึกยกเลิกสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ 900 หุ้น ค่าของสิทธิ 20 บาทต่อหุ้น
เดบิต เงินสด(900x105) 94,500
สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(900x20) 18,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(900x100) 90,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ*(900x25) 22,500
*ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันให้สิทธิ – มูลค่าหุ้น
สามัญ = 125 – 100 = 25 บาทต่อหุ้น
- วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกยกเลิกสิทธิซื้อหุ้นที่เหลือ 100 หุ้น ค่าของสิทธิ 20 บาท
ต่อหุ้น
เดบิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(100x20) 2,000
เครดิต ส่วนเกินทุนจากการไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้น 2,000
ใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น เป็นตราสารแสดงสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญของบริษัท
ในอนาคต ซึ่งถือเป็นหลักทรัพย์ประเภทหนึ่งตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 สามารถนาไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทยได้
บริษัทมหาชนอาจออกใบสาคัญการแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น แทนการใช้สิทธิ
ซื้อหุ้น โดยอาจออกขายให้กับนักลงทุนทั่วไป หรือจัดสรรให้กับผู้ถือหุ้นเดิมและ
บุคคลต่าง ๆ โดยอาจกาหนดราคาขายหน่วยละ 0 บาทหรือเท่าใดก็ได้
ตัวอย่างที่ 6 บริษัทออกจาหน่ายหุ้นกู้มูลค่า 100,000 บาท ในราคา 112,000
บาท โดยผู้ซื้อหุ้นกู้ได้รับใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น 2,300 หน่วย ซึ่งจะนามาซื้อหุ้น
สามัญได้460 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาท มูลค่ายุติธรรมในวันนี้ของหุ้นกู้103,500
บาทและใบสาคัญแสดงสิทธิ หน่วยละ 5 บาท
การปันส่วนราคาขายของหลักทรัพย์
มูลค่ายุติธรรม อัตราส่วน ราคาขาย
หุ้นกู้ 103,500 90% 112,000 x 90% = 100,800
ใบสาคัญแสดงสิทธิ 2,300 x 5 = 11,500 10% 112,000 x 10% = 11,200
รวม 115,000 100% 112,000
การบันทึกบัญชี
- วันที่จาหน่ายหุ้นกู้ควบคู่กับใบสาคัญแสดงสิทธิ
เดบิต เงินสด 120,000
เครดิต หุ้นกู้ 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้(108,000 -100,000) 800
ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 11,200
- วันที่ใช้ใบสาคัญแสดงสิทธิ เช่น มีผู้นาใบสาคัญแสดงสิทธิทั้งหมดมาใช้ซื้อหุ้น
สามัญ
เดบิต เงินสด 48,300
ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 11,200
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(460 x 100) 46,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ[(460x5)+11,200] 13,500
หุ้นทุนได้รับคืน หมายถึง หุ้นทุนของบริษัทที่ออกใบหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นไปแล้ว
ต่อมาได้รับคืนและยังถืออยู่ในมือโดยมิได้ยกเลิกหุ้นทุนนั้น
หุ้นทุนที่ซื้อคืนมา อาจบันทึกบัญชีได้ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน เหมาะสาหรับกรณีที่บริษัทต้องการใช้
หุ้นซื้อคืนเป็นเครื่องมือในการบริหารปริมาณ และราคาหุ้นที่ซื้อขายในตลาดให้อยู่ใน
ระดับที่เหมาะสม
1.เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา
เดบิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx
เครดิต เงินสด xx
2.เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา
เดบิต เงินสด xx
เครดิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx
กรณีจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในราคาสูงหรือต่ากว่าราคาทุน ให้บันทึก
ผลต่างดังนี้
•ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา
•ผลต่างด้านเดบิต การนาหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาออกมาจาหน่ายใหม่ในราคาต่ากว่า
มูลค่า ผู้ซื้อไม่ต้องรับผิดชอบในส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ซึ่งต่างจากการนาหุ้น
ออกจาหน่ายครั้งแรกที่ผู้ซื้อต้องรับผิดชอบในหนี้สินของบริษัทเต็มตามมูลค่า
หุ้น ผลต่างด้านเดบิตในกรณีนี้จึงไม่บันทึกในบัญชีส่วนต่ากว่ามูลค่า แต่ให้นาไป
หักลดยอดบัญชีต่างๆ ตามลาดับดังนี้
ขั้นที่ 1 : หัก ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา ของหุ้นทุนชนิดเดียวกัน (ถ้ามี)
ขั้นที่ 2 : หัก กาไรสะสม
ตัวอย่างที่ 7 บริษัทมีทุนหุ้นสามัญมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ซึ่งออกจาหน่ายและออกใบหุ้น
แล้ว 10,000 หุ้น โดยมีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญทั้งสิ้น 30,000 บาท และมีกาไรสะสม
80,000 บาท
บริษัทซื้อหุ้นสามัญกลับคืนมา 2 ครั้ง จานวน 800 หุ้น และ 200 หุ้น ในราคาหุ้น
ละ 95 บาท และ 104 บาท ตามลาดับ ต่อมาบริษัทได้นาหุ้นสามัญที่ซื้อคืนมาออกจาหน่าย
ใหม่ 2 ครั้ง จานวน 200 หุ้น และ 500 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาท และ 92 บาท
ตามลาดับ
การบันทึกบัญชี :
-การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 800 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (800 x 95) 76,000
เครดิต เงินสด 76,000
•การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 104 บาท
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 104) 20,800
เครดิต เงินสด 20,800
•การจาหน่ายหุ้นทุนสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 106 บาท
เดบิต เงินสด (200 x 106) 21,200
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (76,000+20800/800+200) x 200 19,360
ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 1,840
•การจาหน่ายหุ้นทุนสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 500 หุ้น ราคาหุ้นละ 92 บาท
เดบิต เงินสด (500 x 92) 46,000
ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 1,840
กาไรสะสม 560
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (76,000+20800/800+200) x 500 48,400
วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น(Par Value Method) วิธีนี้เหมาะ
สาหรับกรณีที่บริษัทซื้อหุ้นทุนคืนมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดทุน อย่างไรก็ดีในกรณี
ที่บริษัทมิได้ยกเลิกหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาแต่ได้นาออกจาหน่ายใหม่ในภายหลัง ให้ถือ
เสมือนเป็นการจาหน่ายหุ้นทุนใหม่
1. เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา ให้เดบิตบัญชีหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่า พร้อมทั้งปิด
บัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นที่ซื้อคืนตามราคาที่จาหน่ายหุ้นนั้นไปในครั้ง
ก่อน (หากไม่สามารถระบุได้อาจคานวณส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นโดยใช้ วิธี
ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก หรือ วิธีเข้าก่อนออกก่อน)
เดบิต หุ้นทุนได้รับคืนมา (ราคาตามมูลค่าหุ้น) xx
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุน (จาการขายครั้งก่อน) xx
เครดิต เงินสด xx
ส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นทุน (จาการขายครั้งก่อน) xx
กรณีมีผลต่างระหว่างรายการข้างต้น (ราคาซื้อคืนแตกต่างจากราคาที่จาหน่ายครั้ง
ก่อน)
• ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา
• ผลต่างด้านเดบิต ให้นาไปลดยอดบัญชี กาไรสะสม
ตัวอย่างที่ 8 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติบริษัทใช้วิธีบันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตาม
มูลค่าหุ้น
• การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 800 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท
เดบิตทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (800 x 100) 80,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ (800 x 3) 2,400
เครดิต เงินสด (800 x 95) 76,000
ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา 6,400
• การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 104 บาท
เดบิตทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ (200 x 3) 600
กาไรสะสม 200
เครดิต เงินสด (200 x 104) 20,800
2. เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาให้ลดยอดบัญชีหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาตามมูลค่า
หุ้นทุน โดย
เดบิต เงินสด xx
เครดิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx
กรณีจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในราคาสูงหรือต่ากว่ามูลค่า ให้บันทึกผลต่างดังนี้
•ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึก ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เหมือนการจาหน่ายหุ้นทุนตามปกติ
•ผลต่างด้านเดบิต ให้นาไปลดยอดบัญชีต่างๆ เช่นเดียวกับวิธีราคาทุน ดังนี้
ขั้นที่ 1 : หัก ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา ของหุ้นทุนชนิดเดียวกัน (ถ้ามี)
ขั้นที่ 2 : หัก กาไรสะสม
จากตัวอย่างที่ 8 บริษัทจะบันทึกการจาหน่ายหุ้นทุนได้รับคืนมา ดังนี้
•การจาหน่ายหุ้นสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 106 บาท
เดบิต เงินสด (200 x 106) 21,200
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 1,200
•การจาหน่ายหุ้นสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 500 หุ้น ราคาหุ้นละ 92 บาท
เดบิต เงินสด (500 x 92) 46,000
ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 4,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (500 x 100) 50,000
การแสดงรายการหุ้นทุนได้รับคืนมาในงบดุล รายการเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา จะ
มีผลต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลเท่านั้น ไม่มีผลต่อรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกาไร
ขาดทุน
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามราคาทุนให้แสดงจานวนและราคาทุนของ
หุ้นทุนที่ซื้อคืนมาเป็นรายการหักจากส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล โดยแสดงต่อจากกาไร
สะสม
วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามมูลค่าหุ้นให้แสดงจานวนและมูลค่าหุ้น
ทุนที่ซื้อคืนมาเป็นรายการหักจากบัญชีหุ้นทุนนั้นในงบดุล และสรุปเป็นทุนที่ออกและ
เรียกชาระแล้วสุทธิ
สาหรับส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมาทั้ง 2 วิธี ให้แสดงเป็นส่วนหนึ่งของ
ส่วนเกินทุนในส่วนของผู้ถือหุ้นตามปกติ โดยทั้ง 2 วิธีจะปรากฏยอดรวมในส่วนของ
ผู้ถือหุ้นเท่ากันเสมอ
การจัดทางบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ต้องแสดงรายละเอียด
การเปลี่ยนแปลงจานวนและมูลค่าหุ้นทุนที่ซื้อคืน ได้แก่ การซื้อหุ้นทุนคืนมา การ
ยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืน หรือการนาหุ้นทุนนั้นออกจาหน่ายใหม่ รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนซื้อคืนนั้น
บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และนโยบายการบัญชี จานวน
และมูลค่าของหุ้นซื้อคืนที่นาไปหักจากส่วนของผู้ถือหุ้น แสดงเป็นรายการแยก
ต่างหากในงบดุลหรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ตัวอย่างที่ 9 : จากตัวอย่างที่ 7 และ 8 อาจแสดงรายการเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในงบดุล
ดังนี้
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามราคาทุน วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามมูลค่าหุ้น
ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 30,000
กาไรสะสม (80,000 - 560) 79,440
หัก ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา
(300 หุ้น ราคาหุ้นละ 96.80 บาท) (29,040)
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,080,400
ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000
หัก ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา
(300 หุ้น ราคาหุ้นละ 100 บาท) (30,000)
ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้วสุทธิ 970,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 28,200
ส่วนเกินจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 2,400
กาไรสะสม (80,000 - 200) 79,800
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,080,400
การจัดสรรกาไรสะสมสาหรับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา เป็นการกันเงินกาไรไว้ใน
บริษัทเพื่อมิให้นาไปจ่ายเป็นเงินปันผลจนกว่าจะมีการจาหน่ายหุ้นทุนนั้น
กลับออกไป ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันให้กับเจ้าหนี้ โดยบริษัทต้องจัดสรร
กาไรสะสมไว้ในจานวน เท่ากับราคาทุนที่ซื้อคืนมา ไม่ว่าจะใช้วิธีบันทึกหุ้น
ทุนที่ซื้อคืนมาตามราคาทุนหรือตามมูลค่าหุ้น โดยอาจจัดสรรกาไรสะสมได้ 2
วิธี
วิธีที่ 1 : ไม่บันทึกบัญชีกาไรสะสมจัดสรร เพียงแต่เปิดเผยข้อมูลไว้ในหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน โดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาและจานวนกาไร
สะสมที่บริษัทต้องจัดสรรไว้สาหรับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาทั้งสิ้น
วิธีที่ 2 : บันทึกบัญชีกาไรสะสมจัดสรร ดังนี้
- เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา ให้ลดยอดบัญชีกาไรสะสม โอนไปเข้าบัญชีกาไรสะสม
จัดสรรตามราคาทุนที่จ่ายซื้อหุ้นทุนคืนมาทั้งสิ้น เช่น หุ้นสามัญมูลค่าหุ้นละ 100 บาท
บริษัทซื้อคืนมาในราคาหุ้นละ 110 บาท จานวน 1,000 หุ้น จะบันทึกรายการจัดสรรกาไร
สะสม โดย
เดบิต กาไรสะสม (1,000 x 110) 110,000
เครดิต กาไรสะสมจัดสรร – สาหรับหุ้นสามัญได้รับคืนมา 110,000
- เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา ให้กลับรายการจัดสรรกาไรสะสม ตามส่วนของ
จานวนหุ้นที่ขายกลับออกไป เช่น บริษัทนาหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาออกจาหน่ายในราคา
หุ้นละ 120 บาท จานวน 500 หุ้น จะบันทึกรายการโอนกลับกาไรสะสมจัดสรรตาม
ราคาทุนที่ซื้อคืน โดย
เดบิต กาไรสะสมจัดสรร – สาหรับหุ้นสามัญได้รับคืนมา 55,000
เครดิต กาไรสะสม (500 x 110) 55,000
หุ้นทุนที่ได้รับชาระจากลูกหนี้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นบางรายมีฐานะเป็นลูกหนี้
ของบริษัทด้วย บริษัทอาจได้รับชาระหนี้เป็นหุ้นทุนของบริษัทที่ลูกหนี้รายนั้นถืออยู่
การบันทึกหุ้นทุนที่ได้รับคืนมาจากลูกหนี้จะแตกต่างจากการบันทึกหุ้นทุนที่ซื้อมา
เพียงรายการเดียวเท่านั้นคือ ณ วันที่ได้รับหุ้นทุนคืนมา รายการ เครดิตเงินสด ให้
เปลี่ยนเป็น เครดิตลูกหนี้ ตามจานวนหนี้ที่รับชาระสาหรับรายการอื่นๆ ให้บันทึก
เหมือนกัน รวมทั้งมีการจัดสรรกาไรสะสมสาหรับหุ้นทุนได้รับคืนมาด้วย
หุ้นทุนที่ได้รับบริจาคการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคสรุปได้ดังนี้
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุนตามวิธีนี้ในวันที่บริษัทได้รับ
บริจาคหุ้นทุนเพียงแต่บันทึกทรงจาไว้และจะบันทึกบัญชีเมื่อนาหุ้นทุนที่ได้รับบริจาค
ออกจาหน่าย โดยจานวนเงินที่จาหน่ายได้ทั้งหมด ให้เครดิตไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจาก
การบริจาค
วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้นวิธีนี้จะบันทึกบัญชี
เช่นเดียวกับกรณีที่ซื้อหุ้นทุนคืนมา เพียงแต่ในวันที่ได้รับหุ้นทุนคืนมาให้เปลี่ยนรายการ
เครดิตเงินสด เป็น เครดิตส่วนเกินทุนจากการบริจาค และต่อมาถ้านาหุ้นทุนที่ได้รับ
บริจาคออกจาหน่ายได้ในราคาที่สูงหรือต่ากว่ามูลค่า ให้บันทึกผลต่างดังกล่าวไว้ใน
บัญชีส่วนเกินทุนจากการบริจาค
หลังจากบริษัทนาหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายทั้งหมดแล้ว บัญชี
ส่วนเกินทุนจากการบริจาคจะมียอดคงเหลือเท่ากันทั้ง 2 วิธี โดยวิธีที่ 1 เป็นที่นิยม
มากกว่าเพราะง่ายในการปฏิบัติ อีกทั้งบัญชีส่วนเกินทุนจากการบริจาคซึ่งบันทึกต่อเมื่อ
มีการจาหน่ายหุ้นแล้ว จะแสดงยอดตรงตามความเป็นจริงมากกว่า
หมายเหตุ บริษัทไม่ต้องจัดสรรกาไรสะสมไว้สาหรับหุ้นทุนที่ได้รับบริจาค เนื่องจาก
เป็นการได้รับหุ้นทุนคืนมาโดยไม่มีการแลกเปลี่ยนหรือค่าตอบแทนใดๆ
ตัวอย่างที่ 10 : บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจานวน 5,000 หุ้น ซึ่ง
ออกจาหน่ายแล้วในราคาตามมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ต่อมาได้รับบริจาคกลับคืนมา 300
หุ้น โดยได้นาออกจาหน่ายในครั้งแรกจานวน 100 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท และ
จาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 102 บาท
การบันทึกรายการรับบริจาคหุ้นทุน และจาหน่ายหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคจะ
ปรากฏดังนี้
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น
บันทึกทรงจา :
ได้รับบริจาคหุ้นทุนสามัญจากผู้ถือหุ้น จานวน 300 หุ้น มูลค่า
หุ้นละ 100 บาท
บันทึกทรงจา :
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (300 x 100) 30,000
เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 30,000
ได้รับบริจาคหุ้นสามัญ 300 หุ้น มูลค่าหุ้นละ100 บาท
เดบิต เงินสด (100 x 95) 9,500
เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 9,500
นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งแรกจานวน 100
หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท
เดบิต เงินสด (100 x 95) 9,500
ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 500
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (100 x 100) 10,000
นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งแรกจานวน 100 หุ้น ราคา
หุ้นละ 95 บาท
เดบิต เงินสด (200 x 102) 20,400
เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 20,400
นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200
หุ้น ราคาหุ้นละ 102 บาท
เดบิต เงินสด (200 x 102) 20,400
เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000
ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 400
นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคา
หุ้นละ 102 บาท
การลดทุน
การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทอาจลดมูลค่าต่อหุ้น หรืออาจจะลดจานวน
หุ้นลง โดยต้องเป็นไปตามมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน
4 ของจานวนเสียงทั้งหมดที่มาประชุม (บริษัทเอกชนต้องใช้มติพิเศษ) และต้องนามติ
นั้นไปจดทะเบียนภายใน 14 วัน นับแต่วันลงประชุมลงมติ รวมทั้งต้องโฆษณามติการ
ลดทุนในหนังสือพิมพ์และมีหนังสือแจ้งมตินั้นไปยังเจ้าหนี้ของบริษัท กาหนดให้ส่ง
คาคัดค้านภายใน 30 วัน สาหรับบริษัทเอกชน และ 2 เดือนสาหรับบริษัทมหาชน
ถ้ามีการคัดค้าน บริษัทจะลดทุนมิได้จนกว่าจะได้ชาระหนี้หรือให้
หลักประกันเพื่อหนี้นั้นแล้ว ในกรณีที่เจ้าหนี้คนใดมิได้ส่งคาคัดค้านมาภายในที่
กาหนด เพราะไม่ทราบมติการลดทุนโดยมิใช่ความผิดของเจ้าหนี้นั้น ผู้ถือหุ้นของ
บริษัทเอกชนต้องรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้นั้นตามจานวนที่ได้รับคืนทุนภายในเวลา 2 ปี
นับแต่วันจดทะเบียนลดทุน และภายใน1 ปีสาหรับผู้ถือหุ้นของบริษัทมหาชน
บริษัทเอกชนจะลดทุนให้เหลือต่ากว่า 25% ของทุนจดทะเบียนไม่ได้
และจะโอนทุนสารองมาตัดผลขาดทุนสะสมไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์แต่สาหรับบริษัทสามารถทาได้ตามพระราชบัญญัติมหาชนจากัด
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ซึ่งกาหนดให้บริษัทที่มีผลขาดทุนสะสมอาจโดนทุน
สารองต่างๆมาตัดขาดทุนสะสมได้และถ้ายังมีผลขาดทุนสะสมเหลืออยู่บริษัท
อาจลดทุนให้เหลือต่ากว่า 25% ของทุนจดทะเบียนได้โดยการลดทุนของบริษัท
อาจเกิดขึ้นในกรณีดังนี้
การลงทุนของบริษัทอาจเกิดขึ้นในกรณี ดังนี้
1. การยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมา
2. การไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ
3. การตัดผลขาดทุนสะสม
การยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมา
บริษัทต้องดาเนินการทางกฎหมายตามขั้นตอนการลดทุนให้เรียบร้อย
ก่อน หลังจากนั้นจึงบันทึกการยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมาเพื่อลดทุนจดทะเบียน
โดย
1. วันที่ได้รับหุ้นคืนมา ให้บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามวิธีการที่ศึกษา
มาแล้ว
2. วันจดทะเบียนลดทุน ให้บันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับหุ้นทุนได้รับคืนมา
โดย
วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน ให้ปิดบัญชีหุ้นทุน และหุ้น
ทุนได้รับคืนมารวมทั้งส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นทุนนั้น (ใช้วิธีถัวเฉลี่ย
ถ่วงน้าหนัก) ถ้ามีผลต่างให้บันทึกดังนี้
- ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนดด้รบคคนนมา –
ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม
วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น ให้ปิดบัญชีหุ้นทุน และหุ้นทุน
ได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น โดยไม่ต้องยกเลิกส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพราะได้บันทึกแล้ว
ณ วันที่ซื้อคืน
ตัวอย่างที่ 11 : บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ
100 บาท ออกจาหน่ายแล้วในราคาหุ้นละ 103 บาท ต่อมาบริษัทซื้อหุ้นสามัญ
กลับคืนมาจานวน 1,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 98 บาท และยกเลิกหุ้นทุนที่ซื้อคืน
มาทั้งหมดเพื่อลดทุนจดทะเบียนลง
การบันทึกรายการซื้อหุ้นทุนคืนมาและการยกเลิกหุ้นทุนเพื่อลดทุนจดทะเบียน
วิธีที่ 1 :บักทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2:บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 98,000
เครดิต เงินสด (1,000×98) 98,000
ซื้อหุ้นสามัญคืนมา 1,000 บาท หุ้นๆละ 98 บ.
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 3,000
เครดิต เงินสด 98,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น- 5,000
สามัญได้รับคืนมา
ซื้อหุ้นสามัญคืนมา 1,000 บาท หุ้นๆละ 98 บ.
วิธีที่ 1:บักทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2:บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 3,000
เครดิต เงินสด 98,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น- 5,000
สามัญได้รับคืนมา
ยกเลิกหุ้นสามัญซื้อคืนมา 1,000 บาทเพื่อลด
ทุนจดทะเบียน
เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000
เครดิต เงินสด (1,000×100) 100,000
ยกเลิกหุ้นสามัญซื้อคืนมา 1,000 บาทเพื่อลด
ทุนจดทะเบียน
การไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ
การลดทุนจดทะเบียนโดยการเรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ อาจได้ในกรณีที่บริษัทออกหุ้น
บุริมสิทธิโดยกาหนดเงื่อนไขการเรียกไถ่คืนไว้ล่วงหน้า โดยจะต้องระบุไว้ในหุ้นและ
หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทให้ชัดเจน โดยทั่วไปราคาเรียกไถ่คืนมักจะกาหนดไว้สูง
กว่าราคาที่ออกจาหน่ายครั้งแรก ในวันที่เรียกไถ่คืนถ้าหุ้นบุริมสิทธิมีเงินปันผลค้างอยู่
บริษัทจะต้องจ่ายเงินปันผลค้างทั้งสิ้นจนถึงวันไถ่คืนด้วย โดยหลักการบันทึกบัญชีสรุป
ได้ดังนี้
1. บันทึกการโอนปิดบัญชีทุนหุ้นบุริมสิทธิที่เรียกไถ่คืน รวมทั้งบัญชีที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกจ่ายเงินสด ตามราคาเรียกไถ่คืน รวมทั้งเงินปันผลคงค้าง(ถ้ามี)
3. ถ้ามีผลต่างระหว่างราคาที่ออกจาหน่ายครั้งแรก กับราคาเรียกไถ่คืน ให้บันทึก
ดังนี้
-ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม
-ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากการดถ่คนนหุ้นทุนคุริมสิทธิ
ตัวอย่างที่ 12 : บริษัทมีทุนหุ้นบุริสิทธิชนิดเรียกไถ่คืนได้ จานวน 1,000 หุ้น มูลค่า
หุ้นละ 100 บาท ซึ่งออกจาหน่ายแล้วทั้งหมด ในราคาหุ้นละ 120 บาท ต่อมาบริษัท
เรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิทั้งหมดในราคาหุ้นละ 130 บาท
การบันทึกบัญชี
เมื่อเรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้นในราคาหุ้นละ 130 บาท
เดบิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×100) 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×20) 20,000
กาไรสะสม 10,000
เครดิต เงินสด (1,000×130) 130,000
การตัดผลขาดทุนสะสม
การลดทุนในกรณีนี้ผู้ถือหุ้นจะไม่ได้รับการคืนทุนแต่อย่างใด โดย
บริษัทเอกชนจะโอนทุนสารองตัดผลขาดทุนสะสมไม่ได้ สาหรับบริษัทมหาชนที่มี
ผลขาดทุนสะสมจานวนมากอาจพิจารณาโอนเงินสารองต่าง ๆมาตัดขาดทุนสะสม
ได้โดยบันทึกตามลาดับดังนี้
ขั้นที่ 1 : โอนทุนสารองอื่นตัดผลขาดทุนสะสม
ขั้นที่ 2 : โอนทุนสารองตามกฎหมายตัดผลขาดทุนสะสม
ขั้นที่ 3 : โอนส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนตัดผลขาดทุนสะสม
ขั้นที่ 4 : โอนทุนเรือนหุ้นตัดผลขาดทุนสะสม
(การโอนทุนเรือนหุ้นตัดผลขาดทุนสะสม บริษัทเอกชนจะลดทุนจด
ทะเบียนให้เหลือต่ากว่า 25% ไม่ได้ แต่บริษัทมหาชนอาจลดทุนจดทะเบียนให้
เหลือต่ากว่า 25% ได้)
ตัวอย่างที่ 13 : บริษัทมีผลขาดทุนสะสมและรายการเกี่ยวกับส่วนของผู้ถือหุ้น
ปรากฏดังนี้
ทุนหุ้นสามัญ จดทะเบียนและจาหน่ายแล้ว 10,000 หุ้นๆละ 10 บาท 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5,000
กาไรสะสม (ยอดเดบิต) (88,000)
กาไรสะสมจัดสรร – สารองตามกฎหมาย 3,000
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 20,000
ถ้าบริษัทต้องการตัดผลขาดทุนสะสมให้หมด จะต้องลดทุนจดทะเบียน
ให้เหลือ 20,000 บาท เพื่อให้ยอดเดบิตในบัญชีกาไรสะสมหมดไป โดยดาเนินการ
และบันทึกรายการตามลาดับดังนี้
การบันทึกบัญชี
ขั้นที่ 1 : โอนทุนสารองตามกฎหมายตบดผลขาดทุนสะสม(คริษบทดม่มีสารองอน่น)
เดบิต กาไรสะสมจัดสรร – สารองตามกฎหมาย 3,000
เครดิต กาไรสะสม 3,000
ขั้นที่ 2 : โอนส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนตบดผลขาดทุนสะสม
เดบิต ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5,000
เครดิต กาไรสะสม 5,000
ขั้นที่ 3 : โอนทุนเรนอนหุ้นตบดผลขาดทุนสะสมส่วนที่เหลนอ
(88,000 – 8,000 = 80,000 คาท)
โดยอาจลดจานวนหุ้นลง 8,000 หุ้น หรืออาจลดมูลค่าหุ้นโดยยกเลิกหุ้น
เดิมทั้งหมด และออกหุ้นใหม่ในจานวนเท่าเดิม แต่มูลค่าต่อหุ้นลดลงเหลือหุ้นละ
(20,000 ÷ 10,000) = 2 บาท
กรณีลดจานวนหุ้นลง โดยมูลค่าต่อหุ้นคงเดิม กรณีลดมูลค่าต่อหุ้นลงโดยจานวนหุ้นคงเดิม
เดบิต ทุนหุ้นสามัญ (8,000×10) 80,000
เครดิต ส่วนเกินทุนจาก- 80,000
การลดทุน
บันทึกการลดทุนโดยจานวนหุ้นลง 8,000 หุ้น
เหลือทุนจดทะเบียน
เดบิต ทุนหุ้นสามัญ 100,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ 20,000
ส่วนเกินทุนจาก- 80,000
การลดมูลค่าหุ้น
บันทึกการลดทุนโดยลดมูลค่าหุ้นลง เหลือหุ้น
ละ 2 บาท
กรณีลดจานวนหุ้นลง โดยมูลค่าต่อหุ้นคงเดิม กรณีลดมูลค่าต่อหุ้นลงโดยจานวนหุ้นคงเดิม
เดบิต ส่วนเกินทุนจากการลดทุน 80,000
เครดิต กาไรสะสม 80,000
โอนส่วนเกินทุนจากการลดทุนตัดผลขาดทุน
สะสม
เดบิต ส่วนเกินทุนจากการลดทุน 80,000
เครดิต กาไรสะสม 80,000
โอนส่วนเกินทุนจากการลดทุนตัดผลขาดทุน
สะสม
(ต่อ)
หมายเหตุ : กรณีที่บริษัทมหาชนจากัดมีส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ต้องนาส่วนเกิน
มูลค่าหุ้นทุน (ขั้นที่ 2) และส่วนเกินทุนจากการลดทุน (ขั้นที่ 3) มาหักล้างขาดทุน
สะสมได้
การแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ
หมายถึง การนาหุ้นบุริมสิทธิมาเปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญ ซึ่งโดยทั่วไปจะ
กระทามิได้ เว้นแต่ในกรณีที่ข้อบังคับของบริษัทกาหนดไว้โดยผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ
ต้องยื่นคาขอแปลงหุ้นต่อบริษัทพร้อมกับส่งมอบใบหุ้นบุริมสิทธิคืน เพื่อ
แลกเปลี่ยนกับใบหุ้นสามัญที่บริษัทจะออกให้ใหม่ ตามเงื่อนไขและอัตราการ
แปลงสภาพที่ระบุไว้
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. บันทึกการโอนปิดบัญชีทุนหุ้นบุริมสิทธิที่นามาแปลงสภาพ รวมทั้งบัญชี
ส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ตามส่วนของหุ้นที่นามา
แปลงสภาพ
2. บันทึกการออกหุ้นสามัญ ด้วยราคาตามมูลค่าของหุ้นสามัญ
3. ถ้ามีผลต่างระหว่างมูลค่าหุ้นสามัญที่ออกให้ใหม่ กับราคาตามบัญชีของ
หุ้นบุริมสิทธิ
- ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี
ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นคุริสิทธิ
– ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม
ตัวอย่างที่ 14 : บริษัท เค จากัด มีรายการเกี่ยวกับส่วนของผู้ถือหุ้น ดังนี้
หุ้นสามัญ 30,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท(จดทะเบียน 50,000 หุ้น) 300,000
หุ้นบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้ 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 100,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×20) 20,000
กาไรสะสม 90,000
510,000
สมมติมีผู้นาหุ้นบุริมสิทธิจานวน 500 หุ้น มาแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ
การบันทึกบัญชี
ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการแปลงสภาพหุ้นบุริสิทธิแต่ละกรณี เช่น
กรณีที่ 1 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้10 หุ้น
เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×10×10) 50,000
ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพ - 10,000
หุ้นบุริสิทธิ
กรณีที่ 2 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้12 หุ้น
เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×12×10) 60,000
กรณีที่ 3 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้15 หุ้น
เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000
กาไรสะสม 15,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×15×10) 75,000
การแตกหุ้นและการรวมหุ้น
การแตกหุ้น (Stock Split – up)
ในกรณีที่หุ้นของบริษัทมีราคาตลาดค่อนข้างสูง ซึ่งอาจทาให้การซื้อขาย
หุ้นในตลาดขาดสภาพคล่อง บริษัทอาจพิจารณาแตกหุ้นเพื่อลดราคาให้ต่าลง โดย
เรียกหุ้นจากผู้ถือหุ้นกลับคืนมาเพื่อยกเลิก และออกใบหุ้นให้ใหม่ในจานวนหุ้นที่
เพิ่มขึ้นแต่มีมูลค่ารวมเท่าเดิมเช่น บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น
มูลค่าหุ้นละ 100 บาท บริษัทประกาศแตกหุ้นในอัตรา 1 : 20 จะต้องออกหุ้นใหม่
จานวน (10,000×20) = 200,000 หุ้น ดังนี้
จานวนหุ้น มูลค่าหุ้น มูลค่ารวม
ใบหุ้นเดิมที่ยกเลิก 10,000 100 1,000,000
ใบหุ้นที่ออกให้ใหม่ภายหลังการแตกหุ้น 200,000 5 1,000,000
การรวมหุ้น(Stock Split – down)
การรวมหุ้น วิธีการรวมหุ้นจะเหมือนกับการแตกหุ้นคือบริษัทจะเรียกหุ้นจากผู้ถือ
หุ้นกลับคืนมาเพื่อยกเลิก และออกใบหุ้นให้ใหม่ในจานวนหุ้นที่ลดลงแต่มีมูลค่า
รวมเท่าเดิม เช่น
บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
บริษัทประกาศรวมหุ้นในราคา 10 : 1 จะต้องออกหุ้นใหม่จานวน (100,000 ÷ 10)
= 10,000 หุ้น ดังนี้
จานวนหุ้น มูลค่าหุ้น มูลค่ารวม
ใบหุ้นเดิมที่ยกเลิก 100,000 10 1,000,000
ใบหุ้นที่ออกให้ใหม่ภายหลังการแตกหุ้น 10,000 100 1,000,000
บริษัทอาจบันทึกการแตกหุ้นและการรวมหุ้นไว้ในบัญชี หรือเพียงแต่
บันทึกทรงไว้ โดยทั้ง 2 กรณีต้องบันทึกรายการเปลี่ยนแปลงไว้ในทะเบียนผู้ถือ
หุ้น เพื่อแสดงรายละเอียดการแลกเปลี่ยนหุ้นเดิมกับหุ้นใหม่ โดยการแตกหุ้นและ
การรวมหุ้นข้างต้นถ้าบันทึกบัญชีจะปรากฏรายการเหมือนกันดังนี้
เดบิต ทุนหุ้นสามัญ (ที่ยกเลิก) 1,000,000
เครดิต ทุนหุ้นสามัญ 1,000,000
(ที่ออกใหม่ภายหลังการแตก/รวมหุ้น)
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท

More Related Content

What's hot

เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
Aor's Sometime
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
Orawonya Wbac
 
07 ma
07 ma07 ma
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
tumetr1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
Earn LikeStock
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
tumetr1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
Kan Pan
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
pop Jaturong
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
Ornkapat Bualom
 

What's hot (20)

เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
2
22
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท

  • 1. ส่วนประกอบของเงินทุน เงินทุนทั้งสิ้นของบริษัทซึ่งแสดงอยู่ในงบดุลภายใต้ส่วน ของผู้ถือหุ้น(Shareholders’ Equity) ประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญคือ ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินทุน ละกาไรสะสม ทุนเรือนหุ้น (Capital Stock) หมายถึง หุ้นทุน ของบริษัทซึ่งจะต้องแสดงด้วยราคาตามมูลค่าเสมอ โดยทั่วไปการ แสดงทุนเรือนหุ้นในงบดุลแยกเป็น 2 ส่วนคือ
  • 2. 1. ทุนจดทะเบียน หมายถึง มูลค่าหุ้นทุนทั้งสิ้นที่จดทะเบียนไว้ตาม กฎหมาย โดยระบุชนิดของหุ้น จานวนหุ้น และมูลค่าหุ้น 2. ทุนที่ออกจาหน่ายและเรียกชาระแล้ว หมายถึง หุ้นทุนทั้งสิ้นที่นา ออกจาหน่ายและเรียกชาระเต็มมูลค่าแล้ว โดยระบุชนิดของหุ้น จานวนหุ้น และ มูลค่ารวม ในกรณีที่มีหุ้นบุริมสิทธิควรแสดงสิทธิพิเศษของหุ้นนั้นไว้ด้วย เช่น หุ้น บุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้ เป็นต้น ส่วนเกินทุน (Capital Excess) หมายถึง ส่วนเกิดจากมูลค่าหุ้น หรือส่วนเกินจากทุนที่นามาลง ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เกิดจากกาไร ในการดาเนินงาน ดังนั้นบริษัทจะนาเงินทุนในส่วนนี้ไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ส่วนเกินทุนประกอบด้วย 1. ส่วนเกินมูลค่าหุ้น หมายถึง ส่วนเกินทุนที่เกิดจากการออกหุ้นทุนใน ราคาที่สูงกว่ามูลค่าในทางตรงข้ามถ้าบริษัทออกหุ้นทุนในราคาต่ากว่ามูลค่า จะ เกิดผลต่างด้านเดบิตถือเป็นส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ซึ่งจะต้องแสดงเป็นรายการหัก จากส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล
  • 3. 2. ส่วนเกินทุนอื่น หมายถึง ส่วนเกินทุนอื่นๆ นอกเหนือจากส่วนเกินมูลค่า หุ้น ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในกรณีต่างๆ เช่น - ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม - ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ - ส่วนเกินทุนจากการไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ - ส่วนเกินทุนจากการริบหุ้น - ส่วนเกินทุนจากการบริจาค เป็นต้น กำไรสะสม (Retained Earnings) หมายถึง กาไรสุทธิที่สะสม ไว้ตั้งแต่บริษัทเริ่มเปิดกิจการ หัก้ดวยเงินปันผลของปีก่อนๆ ในกรณีที่บริษัท ประสบผลขาดทุนจานวนมากบัญชีกาไรสะสมจะมียอดคงเหลือด้านเดบิต เรียกว่า ขาดทุนสะสม (Deficit) โดยกาไรสะสมแบ่ง 2 ประเภท คือ
  • 4. 1. กาไรสะสมจัดสรร หมายถึง กาไรสะสมส่วนที่กันสาหรับวัตถุประสงค์ เฉพาะตามที่กาหนด เช่น จัดสรรไว้เป็นสารองตามกฎหมาย หรือเพื่อ ขยายกิจการเป็นต้น 2. กาไรสะสมที่ยังไม่จัดสรร หมายถึงกาไรสะสมส่วนที่เหลือจากการจัดสรร ซึ่งบริษัทสามารถนาไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ กำรเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท เงินทุนของบริษัทจากัดอาจมีการเปลี่ยนแปลงจากรายการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การเพิ่มทุนและการให้สิทธิซื้อหุ้น 2. หุ้นทุนได้รับคืนมา 3. การลดทุน 4. การแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ
  • 5. 5. การแตกหุ้นและการรวมหุ้น 6. การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ในบางกรณีรายการต่างๆ ข้างต้น อาจก่อให้เกิดผลกาไรหรือขาดทุนจากการ เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น เช่น จากการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ เป็นต้น ซึ่ง ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปจะไม่รับรู้ผลกาไรที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินงาน ดังกล่าวเป็นรายได้หรือกาไรสะสม แต่จะรับรู้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นโดยเครดิตไว้ใน บัญชีส่วนเกินทุน โดยถือหลักว่ากาไรสะสะมจะต้องไม่เพิ่มขึ้นเนื่องจากกาไรที่เกิด จากผู้ถือหุ้น แต่อาจลดลงได้ในกรณีที่เป็นผลขาดทุนโดยถือเป็นการโอนกาไรสะสม ตั้งขึ้นเป็นทุน กำรเพิ่มทุนและกำรให้สิทธิซื้อหุ้น การเพิ่มทุน บริษัทอาจจัดหาเงินทุนด้วยวิธีการออกหุ้นทุนเพิ่ม โดยการจดทะเบียน เพิ่มทุนจะต้องได้รับอนุมัติจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนเสียงทั้งหมด และจะต้องนามตินั้นไปจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน จดทะเบียนภายใน 14 วัน ซึ่งการเพิ่มทุนของบริษัทเอกชนและบริษัทมหาชนอาจ แตกต่างกันดังนี้
  • 6. - ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ การเพิ่มทุนของบริษัทเอกชน ต้องกระทาโดย มติพิเศษ ซึ่งหมายถึงการลงมติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นสองครั้ง ติดต่อกัน โดยการประชุมครั้งที่ 2 เพื่อลงมติยืนยันมติเดิมต้องห่างจากการประชุม ครั้งแรกไม่น้อยกว่า 14 วันและไม่เกิน 6 สัปดาห์ จานวนหุ้นที่ออกใหม่ต้องเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมด ตามส่วน จานวนหุ้นที่แต่ละคนถืออยู่ โดยทาเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทุกคนทราบจานวน หุ้น ราคา และระยะเวลาที่จะใช้สิทธิซื้อหุ้นได้ถ้าไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้นภายในเวลาที่ กาหนด บริษัทสามารถนาหุ้นนั้นออกเสนอขายให้กับบุคคลอื่นได้ - ตำมพระรำชบัญญัติบริษัทมหำชนจำกัด การเพิ่มทุนของบริษัท มหาชนจะกระทาได้ต่อเมื่อหุ้นทั้งหมดได้ออกจาหน่ายและได้รับชาระเงินค่าหุ้น ครบถ้วนแล้ว หรือในกรณีที่หุ้นยังจาหน่ายไม่ครบ หุ้นที่เลหือต้องเป็นหุ้นที่จัดสรรไว้ เพื่อรองรับหุ้นกู้แปลงสภาพหรือใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น การเพิ่มทุนของบริษัทมหาชนไม่ต้องใช้มติพิเศษ และจานวนหุ้นที่ออกใหม่ จะเสนอขายทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ โดยจะเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมด หรือจะเสนอขายต่อประชาชนหรือบุคคลอื่นไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก้ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น
  • 7. การให้สิทธิซื้อหุ้น (Stock Rights or Stock lssue) เมื่อจด ทะเบียนเพิ่มทุน บริษัทอาจให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลบางกลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้นเดิม ผู้บริหาร พนักงาน และผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทรวมทั้งผู้ซื้อหุ้นชนิดอื่นของบริษัท เพื่อเป็นการจูงใจหรือตอบแทนบุคคลดังกล่าว โดยการให้สิทธิซื้อหุ้นทุนที่จะออก ใหม่ได้ก่อนบุคคลอื่นในราคาที่กาหนด ซึ่งโดยทั่วไปมักจะต่ากว่ามูลค่ายุติธรรมของ หุ้นทาให้สิทธินั้นมีค่าและอาจมีการซื้อขายสิทธิได้ในบางประเทศ แต่สาหรับ ประเทศไทยไม่สามารถซื้อขายได้เนื่องจากสิทธิดังกล่าวโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ค่ำของสิทธิ = มูลค่ำยุติธรรมของหุ้น ณ วันสิทธิ – รำคำใช้สิทธิซื้อหุ้น
  • 8. บริษัทต้องทาหนังสือแจ้งให้ผู้ได้รับสิทธิทราบจานวนสิทธิ รวมทั้งราคา ระยะเวลา และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้สิทธิดังกล่าว พร้อมทั้งจัดทาทะเบียนเพื่อบันทึกทรงจาเกี่ยวกับ การให้สิทธิ การนาสิทธิมาใช้ซื้อหุ้น และจานวนหุ้นที่ต้องสารองไว้สาหรับสิทธิที่ยังมิได้ นามาใช้ โดยทุกครั้งที่มีผู้ใช้สิทธิซื้อหุ้นจะต้องบันทึกข้อมูลในทะเบียนเพื่อลดยอดจานวน หุ้นที่ต้องสารองไว้ให้เป็นปัจจุบันเสมอ การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการให้สิทธิซื้อหุ้นทุนที่จะออกใหม่อาจแบ่งเป็น 3 กรณี คือ 1. การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม 2. การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน 3. การให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น กำรให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม ผู้ถือหุ้นจะได้รับสิทธิ (Right) ตาม จานวนหุ้นที่ตนถืออยู่ 1 หุ้น ต่อ 1 สิทธิ เช่น บริษัทมีหุ้นทุน 20,000หุ้น ถ้าจดทะเบียน เพิ่มทุน 10,000 หุ้น โดยเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งหมดจะต้องออกสิทธิ 20,000 หน่วย (สิทธิ 2 หน่วยใช้ซื้อหุ้นใหม่ได้ 1 หุ้น) การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม สรุปได้ดังนี้ - วันให้สิทธิซื้อหุ้น ไม่ว่าสิทธิที่ให้จะมีค่าหรือไม่ ไม่ต้องบันทึกบัญชีเพียงแต่ บันทึกทรงจาเกี่ยวกับสิทธิที่ให้ไว้ในสมุดบัญชี โดยระบุชนิดของหุ้นและเงื่อนไขต่างๆที่ กาหนดในการใช้สิทธิซื้อหุ้น
  • 9. - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น ให้บันทึการจาหน่ายหุ้นทุนตามปกติ ยกเว้นกรณีที่ ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้นต่ากว่ามูลค่าหุ้น ผลต่างให้ เดบิตกาไรสะสม โดยถือเป็นการโอน กาไรสะสมยกขึ้นเป็นทุนอันเนื่องจากการที่บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นเดิมซื้อหุ้นใหม่ ได้ในราคาต่ากว่ามูลค่าของหุ้นนั้น - วันที่สิทธิหมดอายุ ถ้ายังมีสิทธิซื้อหุ้นเหลืออยู่โดยไม่มีผู้นามาใช้ ให้ บันทึกทรงจาเกี่ยวกับการยกเลิกสิทธิดังกล่าว และบริษัทสามารถนาหุ้นที่เหลือ ออกจาหน่ายให้บุคคลอื่นได้ ตัวอย่ำงที่ 1 บริษัทมีทุนหุ้นสามัญที่ออกแล้ว 5,000หุ้น ต่อมาบริษัทจด ทะเบียนเพิ่มทุนหุ้นสามัญ 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท โดยให้สิทธิแก่ผู้ ซื้อหุ้นเดิมซื้อหุ้นใหม่ได้ในอัตรา 5 หุ้น เดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ในราคาหุ้นละ 105 บาท กาหนดให้ใช้สิทธิภายใน 2 เดือน หุ้นสามัญมีมูลค่ายุติธรรม ณ วันให้สิทธิ หุ้นละ 135 บาทเมื่อครบกาหนด 2 เดือน ปรากฏว่ามีผู้นาสิทธิมาใช้ซื้อหุ้นใหม่ทั้งสิ้น 900 หุ้น โดยใช้สิทธิทั้งสิ้น (900x5)=4,500 หน่วย บริษัทจึงยกเลิกสิทธิที่ เหลือ (5,000-4,500)=500 หน่วย
  • 10. กำรบันทึกบัญชี - วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกทรงจา บริษัทออกสิทธิซื้อหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้น เดิม 5,000 หน่วย โดยสิทธิ 5 หน่วยสามารถซื้อหุ้นใหม่ได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105บาท สิทธิมีอายุ 2 เดือน - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900หุ้น ราคาหุ้นละ 105 บาท เดบิต เงินสด (900x100) 94,500 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (900x100) 90,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ(900x5) 4,500 - วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกทรงจา สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่เหลือจานวน 500 สิทธิ ซึ่งยังไม่มีผู้นามาใช้ หมดอายุในวันนี้ กำรให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงำน สิทธิซื้อหุ้นที่ให้กับพนักงานมักจะเป็นสิทธิ ที่มีค่าซึ่งบริษัทจะต้องบันทึกค่าของสิทธิ โดยเครดิตไว้ในบัญชีสิทธิในการซื้อหุ้นทุน ดังนี้
  • 11. วันให้สิทธิซื้อหุ้น จะเดบิตบัญชีใดขึ้นอยู่กับว่าเป็นการตอบแทนผลงานในช่วงเวลา ใด ก. กรณีตอบแทนผลงานงวดก่อน เดบิต กาไรสะสม xx เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx ข. กรณีตอบแทนผลงานงวดปัจจุบัน เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน xx เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx ค. กรณีตอบแทนผลงานในอนาคต เดบิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี xx เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ xx ณ วันสิ้นงวด จะต้องตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายแต่ละงวดตามระยะเวลาที่กาหนด เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน xx เครดิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี xx
  • 12. ตัวอย่ำงที่ 2 บริษัท วี จากัด จดทะเบียนเพิ่มทุนหุ้นสามัญ โดยจัดสรรสิทธิในการซื้อหุ้นใหม่ให้กับผู้ริหาร และพนักงานจานวน 5,000 หน่วย กาหนดการใช้สิทธิซื้อหุ้นใหม่ในอัตราสิทธิ 5 หน่วย ต่อ1 หุ้น ใน ราคาหุ้นละ 105 บาท หุ้นสามัญมีมูลค่ายุติธรรม ณ วันให้สิทธิ หุ้นละ 135 บาท ค่าของสิทธิ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้น ณ วันให้สิทธิ-ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น = 135-105 = 30 บาทต่อหุ้น (หรือ 30/ 5=6 บาทต่อสิทธิ) สิทธิทั้งสิ้นจานวน 5,000 หน่วย สามารถซื้อหุ้นได้จานวน (5,000/5)=1,000หุ้น กรณีที่ 1 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานงวดก่อน - วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น เดบิต กาไรสะสม 30,000 เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30) 30,000 กรณีที่ 2 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานงวดปัจจุบัน - วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน 30,000 เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30) 30,000
  • 13. กรณีที่ 3 การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน เพื่อตอบแทนผลงานในอนาคต จากตัวอย่างของบริษัท วี จากัด สมมุติบริษัทให้สิทธิในวันต้นปี 25x1 โดยกาหนดเงื่อนไขว่า พนักงานจะใช้สิทธิซื้อหุ้นได้ต่อเมื่อปฏิบัติงานในบริษัทต่อไปจนครบ 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ให้สิทธิ ซื้อหุ้น - วันให้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน จานวน 1,000 หุ้น เดบิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี 30,000 เครดิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x30) 30,000 - วันสิ้นงวดปี 25x1และ 25x2 บันทึกรายการปรับปรุงค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชีเฉลี่ย ตัดเป็นค่าใช้จ่ายปีละ (30,000/2)=15,000 บาท โดย เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน 15,000 เครดิต ค่าตอบแทนพนักงานรอตัดบัญชี 15,000
  • 14. รายการวันใช้สิทธิซื้อหุ้น และวันที่สิทธิหมดอายุ จะบันทึกเหมือนกันทั้ง 3 กรณี ดังนี้ - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น ให้บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ พร้อมทั้งเดบิตสิทธิใน การซื้อหุ้นทุน เพื่อลดยอดลงตามจานวนสิทธิที่นามาใช้ซื้อหุ้นแล้ว ดังนี้ เดบิต เงินสด (ตามราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น) xx สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ (ค่าของสิทธิ) xx เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (ตามมูลค่า) xx ถ้ามีผลต่างจากรายการข้างต้น ให้บันทึกไว้ในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่า หุ้นสามัญ
  • 15. ถ้าสินทรัพย์นั้นไม่เคยตีราคาลดลง และไม่เคยรับรู้เป็นค่าใช้จ่ามาก่อน ให้รับรู้ราคาที่ตี ใหม่เป็นรายการในส่วนของผู้ถือหุ้น โคยเครดิตบัญชี ส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์ ถ้าสินทรัพย์นั้นเคยตีราคาลดลง และกิจการรับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน แล้วให้รับรู้ราคาทีตีเพิ่มขึ้นใหม่เป็นรายได้โดยเครดิตบัญชี กาไรจากการตีราคาสินทรัพย์ ใน จานวนไม่เกินกว่าที่เคยตีราคาลดลงซึ่งได้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน (ถ้าตีราคาเพิ่มขึ้นเกิน กว่าที่เคยตีราคาลดลงส่วนที่เกินให้เครดิตบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์) 2. การตีราคาสินทรัพย์ลดลง ให้บันทึกลดยอดบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่ตีราคาลดลง โดย เดบิต ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx เครดิต สินทรัพย์ xx ถ้าสินทรัพย์นั้นไม่เคยตีราคาเพิ่มขึ้น ให้นาส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่ไปบันทึกรับรู้ เป็นค่าใช้จ่าย โดยเดบิตบัญชี ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์
  • 16. -วันให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้ บันทึกการจาหน่ายหุ้นอื่นตามปกติ โดย ถือว่าเงินที่ได้รับทั้งสิ้นเป็นราคาขายของหุ้นอื่นนั้นทั้งจานวน สาหรับข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิ เพียงแต่บันทึกทรงจาไว้เพื่อการจัดสรรจานวนหุ้นที่ต้องสารองไว้สาหรับสิทธิดังกล่าว - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น โดยปกติถ้าราคาใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญสูงกว่ามูลค่ายุติธรรม จะไม่มี ผู้ใช้สิทธิเนื่องจากสามารถซื้อหุ้นในตลาดในราคาที่ต่ากว่า แต่ถ้าต่อมามูลค่ายุติธรรมของ หุ้นเพิ่มขึ้นจนสูงกว่าราคาที่ใช้สิทธิมาใช้ซื้อหุ้น ให้บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ ตามปกติ - วันที่สิทธิหมดอายุ ไม่ต้องบันทึกบัญชี ถ้ามีสิทธิซื้อหุ้นที่ไม่มีผู้นามาใช้เหลืออยู่ บริษัทเพียงแต่บันทึกทรงจาเพื่อยกเลิกจานวนหุ้นที่สารองไว้สาหรับสิทธิดังกล่าว
  • 17. ตัวย่างที่ 4 บริษัท ดี จากัด ออกจาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้น ในราคา หุ้นละ 130 บาท พร้อมทั้งให้สิทธิซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ซื้อบุริมสิทธิ 4,000 หน่วย โดยสิทธิ 4 หน่วยจะซื้อหุ้นสามัญที่จะออกใหม่ได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาทสิทธิมีอายุ 2 เดือนมูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันที่ให้สิทธิหุ้นละ 101 บาท ต่อมาเมื่อมูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญเพิ่มขึ้นเป็นหุ้นละ 120 บาทปรากฏว่ามีผู้นา สิทธิมาใช้ซื้อหุ้นสามัญทั้งสิ้น 900 หุ้น สิทธิที่เหลือหมดอายุโดยไม่มีผู้นามาใช้ ค่าของสิทธิ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้น ณ วันให้สิทธิ – ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น = 101 – 105 = (4) บาท ดังนั้น สิทธิไม่มีค่า
  • 18. การบันทึกบัญชี - วันใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญพร้อมการจาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ บันทึกการ จาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้นราคาหุ้นละ 130 บาท พร้อมทั้งใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแก่ผู้ซื้อหุ้นบุริมสิทธิ 4,000 หน่วยโดยสิทธิ 4 หน่วยจะซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาทสิทธิมีอายุ 2 เดือน เดบิต เงินสด(1,000 x 103) 13,000 เครดิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ(1,000 x 100) 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ(1,000 x 30) 30,000 - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900 หุ้น ราคาหุ้นละ 105 บาท เดบิต เงินสด(900 x 105) 94,500 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(900 x 100) 90,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ(900 x 5) 4,500
  • 19. วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกทรงจา สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่เหลือจานวน 500 หน่วย ซึ่งยังไม่มีผู้นามาใช้หมดอายุใน วันนี้ 2. กรณีสิทธิมีค่า ให้บันทึกค่าของสิทธิไว้ในบัญชีโดยเครดิตบัญชีสิทธิในการซื้อ หุ้นสามัญ และถือเป็นรายการหักจากการจาหน่ายหุ้นอื่น ดังนี้ - วันให้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้บันทึกรายการ ดังนี้ เดบิต เงินสด(ราคาขายหุ้นอื่นพร้อมสิทธิ) xx เครดิต หุ้นอื่น(ตามมูลค่า) xx สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(ค่าของสิทธิ) xx ถ้ามีผลต่างจกรายการข้างต้น ให้บันทึกไว้ในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น อื่น - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น และ วันที่สิทธิหมดอายุ มีวิธีการบันทึกบัญชีและการคานวณ ส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นสามัญ เช่นเดียวกับกรณีการให้สิทธิซื้อหุ้นแก่ พนักงาน
  • 20. ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่างที่ 4 ถ้าหุ้นสามัญของบริษัท ดี จากัด มีมูลค่ายุติธรรม ณ วันให้สิทธิหุ้นละ 125 บาท สามารถคานวณค่าของสิทธิ และส่วนเกินมูลค่าหุ้น บุริมสิทธิได้ดังนี้ ค่าของสิทธิ= มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันให้สิทธิ - ราคาใช้สิทธิซื้อหุ้น = 125 – 105 = 20 บาทต่อหุ้น ราคาขายหุ้นบุริมสิทธิ = ราคาขายหุ้นบุริมสิทธิพร้อมสิทธิ – ค่าของสิทธิ = 130 – 20 = 110 บาทต่อหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ = 110 – 20 = 10 บาทต่อหุ้น
  • 21. การบันทึกบัญชี - วันใช้สิทธิซื้อหุ้นพร้อมการจาหน่ายหุ้นอื่น ให้บันทึกการรับเงินสดหุ้นละ 130 บาท โดยแยกเป็นค่าของสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญหุ้นละ 20 บาท และราคาขาย หุ้นบุริมสิทธิหุ้นละ 110 บาท ดังนี้ เดบิต เงินสด(1,000 x 130) 130,000 เครดิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ(1,000x100) 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ(1,000x10) 10,000 สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(1,000x20) 20,000
  • 22. - วันใช้สิทธิซื้อหุ้น บันทึกรายการจาหน่ายหุ้นสามัญ 900 หุ้น ราคาหุ้นละ 105 บาท พร้อมทั้งบันทึกยกเลิกสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ 900 หุ้น ค่าของสิทธิ 20 บาทต่อหุ้น เดบิต เงินสด(900x105) 94,500 สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(900x20) 18,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(900x100) 90,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ*(900x25) 22,500 *ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ = มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันให้สิทธิ – มูลค่าหุ้น สามัญ = 125 – 100 = 25 บาทต่อหุ้น - วันที่สิทธิหมดอายุ บันทึกยกเลิกสิทธิซื้อหุ้นที่เหลือ 100 หุ้น ค่าของสิทธิ 20 บาท ต่อหุ้น เดบิต สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ(100x20) 2,000 เครดิต ส่วนเกินทุนจากการไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้น 2,000
  • 23. ใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น เป็นตราสารแสดงสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในอนาคต ซึ่งถือเป็นหลักทรัพย์ประเภทหนึ่งตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 สามารถนาไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้ บริษัทมหาชนอาจออกใบสาคัญการแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น แทนการใช้สิทธิ ซื้อหุ้น โดยอาจออกขายให้กับนักลงทุนทั่วไป หรือจัดสรรให้กับผู้ถือหุ้นเดิมและ บุคคลต่าง ๆ โดยอาจกาหนดราคาขายหน่วยละ 0 บาทหรือเท่าใดก็ได้ ตัวอย่างที่ 6 บริษัทออกจาหน่ายหุ้นกู้มูลค่า 100,000 บาท ในราคา 112,000 บาท โดยผู้ซื้อหุ้นกู้ได้รับใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น 2,300 หน่วย ซึ่งจะนามาซื้อหุ้น สามัญได้460 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาท มูลค่ายุติธรรมในวันนี้ของหุ้นกู้103,500 บาทและใบสาคัญแสดงสิทธิ หน่วยละ 5 บาท
  • 24. การปันส่วนราคาขายของหลักทรัพย์ มูลค่ายุติธรรม อัตราส่วน ราคาขาย หุ้นกู้ 103,500 90% 112,000 x 90% = 100,800 ใบสาคัญแสดงสิทธิ 2,300 x 5 = 11,500 10% 112,000 x 10% = 11,200 รวม 115,000 100% 112,000 การบันทึกบัญชี - วันที่จาหน่ายหุ้นกู้ควบคู่กับใบสาคัญแสดงสิทธิ เดบิต เงินสด 120,000 เครดิต หุ้นกู้ 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้(108,000 -100,000) 800 ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 11,200
  • 25. - วันที่ใช้ใบสาคัญแสดงสิทธิ เช่น มีผู้นาใบสาคัญแสดงสิทธิทั้งหมดมาใช้ซื้อหุ้น สามัญ เดบิต เงินสด 48,300 ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ 11,200 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ(460 x 100) 46,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ[(460x5)+11,200] 13,500 หุ้นทุนได้รับคืน หมายถึง หุ้นทุนของบริษัทที่ออกใบหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นไปแล้ว ต่อมาได้รับคืนและยังถืออยู่ในมือโดยมิได้ยกเลิกหุ้นทุนนั้น หุ้นทุนที่ซื้อคืนมา อาจบันทึกบัญชีได้ 2 วิธี ดังนี้
  • 26. วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน เหมาะสาหรับกรณีที่บริษัทต้องการใช้ หุ้นซื้อคืนเป็นเครื่องมือในการบริหารปริมาณ และราคาหุ้นที่ซื้อขายในตลาดให้อยู่ใน ระดับที่เหมาะสม 1.เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา เดบิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx เครดิต เงินสด xx 2.เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา เดบิต เงินสด xx เครดิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx
  • 27. กรณีจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในราคาสูงหรือต่ากว่าราคาทุน ให้บันทึก ผลต่างดังนี้ •ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา •ผลต่างด้านเดบิต การนาหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาออกมาจาหน่ายใหม่ในราคาต่ากว่า มูลค่า ผู้ซื้อไม่ต้องรับผิดชอบในส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ซึ่งต่างจากการนาหุ้น ออกจาหน่ายครั้งแรกที่ผู้ซื้อต้องรับผิดชอบในหนี้สินของบริษัทเต็มตามมูลค่า หุ้น ผลต่างด้านเดบิตในกรณีนี้จึงไม่บันทึกในบัญชีส่วนต่ากว่ามูลค่า แต่ให้นาไป หักลดยอดบัญชีต่างๆ ตามลาดับดังนี้ ขั้นที่ 1 : หัก ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา ของหุ้นทุนชนิดเดียวกัน (ถ้ามี) ขั้นที่ 2 : หัก กาไรสะสม
  • 28. ตัวอย่างที่ 7 บริษัทมีทุนหุ้นสามัญมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ซึ่งออกจาหน่ายและออกใบหุ้น แล้ว 10,000 หุ้น โดยมีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญทั้งสิ้น 30,000 บาท และมีกาไรสะสม 80,000 บาท บริษัทซื้อหุ้นสามัญกลับคืนมา 2 ครั้ง จานวน 800 หุ้น และ 200 หุ้น ในราคาหุ้น ละ 95 บาท และ 104 บาท ตามลาดับ ต่อมาบริษัทได้นาหุ้นสามัญที่ซื้อคืนมาออกจาหน่าย ใหม่ 2 ครั้ง จานวน 200 หุ้น และ 500 หุ้น ในราคาหุ้นละ 105 บาท และ 92 บาท ตามลาดับ การบันทึกบัญชี : -การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 800 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (800 x 95) 76,000 เครดิต เงินสด 76,000
  • 29. •การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 104 บาท เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 104) 20,800 เครดิต เงินสด 20,800 •การจาหน่ายหุ้นทุนสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 106 บาท เดบิต เงินสด (200 x 106) 21,200 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (76,000+20800/800+200) x 200 19,360 ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 1,840 •การจาหน่ายหุ้นทุนสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 500 หุ้น ราคาหุ้นละ 92 บาท เดบิต เงินสด (500 x 92) 46,000 ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 1,840 กาไรสะสม 560 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (76,000+20800/800+200) x 500 48,400
  • 30. วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น(Par Value Method) วิธีนี้เหมาะ สาหรับกรณีที่บริษัทซื้อหุ้นทุนคืนมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดทุน อย่างไรก็ดีในกรณี ที่บริษัทมิได้ยกเลิกหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาแต่ได้นาออกจาหน่ายใหม่ในภายหลัง ให้ถือ เสมือนเป็นการจาหน่ายหุ้นทุนใหม่ 1. เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา ให้เดบิตบัญชีหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่า พร้อมทั้งปิด บัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นที่ซื้อคืนตามราคาที่จาหน่ายหุ้นนั้นไปในครั้ง ก่อน (หากไม่สามารถระบุได้อาจคานวณส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นโดยใช้ วิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก หรือ วิธีเข้าก่อนออกก่อน) เดบิต หุ้นทุนได้รับคืนมา (ราคาตามมูลค่าหุ้น) xx ส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุน (จาการขายครั้งก่อน) xx เครดิต เงินสด xx ส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นทุน (จาการขายครั้งก่อน) xx
  • 31. กรณีมีผลต่างระหว่างรายการข้างต้น (ราคาซื้อคืนแตกต่างจากราคาที่จาหน่ายครั้ง ก่อน) • ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา • ผลต่างด้านเดบิต ให้นาไปลดยอดบัญชี กาไรสะสม ตัวอย่างที่ 8 : จากตัวอย่างที่ 7 สมมุติบริษัทใช้วิธีบันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตาม มูลค่าหุ้น • การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 800 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท เดบิตทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (800 x 100) 80,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ (800 x 3) 2,400 เครดิต เงินสด (800 x 95) 76,000 ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา 6,400
  • 32. • การซื้อหุ้นสามัญคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 104 บาท เดบิตทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ (200 x 3) 600 กาไรสะสม 200 เครดิต เงินสด (200 x 104) 20,800 2. เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาให้ลดยอดบัญชีหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาตามมูลค่า หุ้นทุน โดย เดบิต เงินสด xx เครดิต หุ้นทุนได้รับคืนมา xx
  • 33. กรณีจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในราคาสูงหรือต่ากว่ามูลค่า ให้บันทึกผลต่างดังนี้ •ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึก ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เหมือนการจาหน่ายหุ้นทุนตามปกติ •ผลต่างด้านเดบิต ให้นาไปลดยอดบัญชีต่างๆ เช่นเดียวกับวิธีราคาทุน ดังนี้ ขั้นที่ 1 : หัก ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมา ของหุ้นทุนชนิดเดียวกัน (ถ้ามี) ขั้นที่ 2 : หัก กาไรสะสม จากตัวอย่างที่ 8 บริษัทจะบันทึกการจาหน่ายหุ้นทุนได้รับคืนมา ดังนี้ •การจาหน่ายหุ้นสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 1 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 106 บาท เดบิต เงินสด (200 x 106) 21,200 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 1,200
  • 34. •การจาหน่ายหุ้นสามัญซื้อคืนมาครั้งที่ 2 จานวน 500 หุ้น ราคาหุ้นละ 92 บาท เดบิต เงินสด (500 x 92) 46,000 ส่วนเกินทุนจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 4,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (500 x 100) 50,000 การแสดงรายการหุ้นทุนได้รับคืนมาในงบดุล รายการเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา จะ มีผลต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลเท่านั้น ไม่มีผลต่อรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกาไร ขาดทุน วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามราคาทุนให้แสดงจานวนและราคาทุนของ หุ้นทุนที่ซื้อคืนมาเป็นรายการหักจากส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุล โดยแสดงต่อจากกาไร สะสม วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามมูลค่าหุ้นให้แสดงจานวนและมูลค่าหุ้น ทุนที่ซื้อคืนมาเป็นรายการหักจากบัญชีหุ้นทุนนั้นในงบดุล และสรุปเป็นทุนที่ออกและ เรียกชาระแล้วสุทธิ
  • 35. สาหรับส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนได้รับคืนมาทั้ง 2 วิธี ให้แสดงเป็นส่วนหนึ่งของ ส่วนเกินทุนในส่วนของผู้ถือหุ้นตามปกติ โดยทั้ง 2 วิธีจะปรากฏยอดรวมในส่วนของ ผู้ถือหุ้นเท่ากันเสมอ การจัดทางบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ต้องแสดงรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงจานวนและมูลค่าหุ้นทุนที่ซื้อคืน ได้แก่ การซื้อหุ้นทุนคืนมา การ ยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืน หรือการนาหุ้นทุนนั้นออกจาหน่ายใหม่ รวมถึงการเปลี่ยนแปลง ส่วนเกินทุนจากหุ้นทุนซื้อคืนนั้น บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และนโยบายการบัญชี จานวน และมูลค่าของหุ้นซื้อคืนที่นาไปหักจากส่วนของผู้ถือหุ้น แสดงเป็นรายการแยก ต่างหากในงบดุลหรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน
  • 36. ตัวอย่างที่ 9 : จากตัวอย่างที่ 7 และ 8 อาจแสดงรายการเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาในงบดุล ดังนี้ วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามราคาทุน วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนตามมูลค่าหุ้น ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 30,000 กาไรสะสม (80,000 - 560) 79,440 หัก ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (300 หุ้น ราคาหุ้นละ 96.80 บาท) (29,040) รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,080,400 ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้ว 1,000,000 หัก ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (300 หุ้น ราคาหุ้นละ 100 บาท) (30,000) ทุนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชาระแล้วสุทธิ 970,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 28,200 ส่วนเกินจากหุ้นสามัญได้รับคืนมา 2,400 กาไรสะสม (80,000 - 200) 79,800 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,080,400
  • 37. การจัดสรรกาไรสะสมสาหรับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา เป็นการกันเงินกาไรไว้ใน บริษัทเพื่อมิให้นาไปจ่ายเป็นเงินปันผลจนกว่าจะมีการจาหน่ายหุ้นทุนนั้น กลับออกไป ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันให้กับเจ้าหนี้ โดยบริษัทต้องจัดสรร กาไรสะสมไว้ในจานวน เท่ากับราคาทุนที่ซื้อคืนมา ไม่ว่าจะใช้วิธีบันทึกหุ้น ทุนที่ซื้อคืนมาตามราคาทุนหรือตามมูลค่าหุ้น โดยอาจจัดสรรกาไรสะสมได้ 2 วิธี
  • 38. วิธีที่ 1 : ไม่บันทึกบัญชีกาไรสะสมจัดสรร เพียงแต่เปิดเผยข้อมูลไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน โดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาและจานวนกาไร สะสมที่บริษัทต้องจัดสรรไว้สาหรับหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาทั้งสิ้น วิธีที่ 2 : บันทึกบัญชีกาไรสะสมจัดสรร ดังนี้ - เมื่อซื้อหุ้นทุนคืนมา ให้ลดยอดบัญชีกาไรสะสม โอนไปเข้าบัญชีกาไรสะสม จัดสรรตามราคาทุนที่จ่ายซื้อหุ้นทุนคืนมาทั้งสิ้น เช่น หุ้นสามัญมูลค่าหุ้นละ 100 บาท บริษัทซื้อคืนมาในราคาหุ้นละ 110 บาท จานวน 1,000 หุ้น จะบันทึกรายการจัดสรรกาไร สะสม โดย เดบิต กาไรสะสม (1,000 x 110) 110,000 เครดิต กาไรสะสมจัดสรร – สาหรับหุ้นสามัญได้รับคืนมา 110,000
  • 39. - เมื่อจาหน่ายหุ้นทุนที่ซื้อคืนมา ให้กลับรายการจัดสรรกาไรสะสม ตามส่วนของ จานวนหุ้นที่ขายกลับออกไป เช่น บริษัทนาหุ้นทุนที่ซื้อคืนมาออกจาหน่ายในราคา หุ้นละ 120 บาท จานวน 500 หุ้น จะบันทึกรายการโอนกลับกาไรสะสมจัดสรรตาม ราคาทุนที่ซื้อคืน โดย เดบิต กาไรสะสมจัดสรร – สาหรับหุ้นสามัญได้รับคืนมา 55,000 เครดิต กาไรสะสม (500 x 110) 55,000 หุ้นทุนที่ได้รับชาระจากลูกหนี้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นบางรายมีฐานะเป็นลูกหนี้ ของบริษัทด้วย บริษัทอาจได้รับชาระหนี้เป็นหุ้นทุนของบริษัทที่ลูกหนี้รายนั้นถืออยู่ การบันทึกหุ้นทุนที่ได้รับคืนมาจากลูกหนี้จะแตกต่างจากการบันทึกหุ้นทุนที่ซื้อมา เพียงรายการเดียวเท่านั้นคือ ณ วันที่ได้รับหุ้นทุนคืนมา รายการ เครดิตเงินสด ให้ เปลี่ยนเป็น เครดิตลูกหนี้ ตามจานวนหนี้ที่รับชาระสาหรับรายการอื่นๆ ให้บันทึก เหมือนกัน รวมทั้งมีการจัดสรรกาไรสะสมสาหรับหุ้นทุนได้รับคืนมาด้วย
  • 40. หุ้นทุนที่ได้รับบริจาคการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคสรุปได้ดังนี้ วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุนตามวิธีนี้ในวันที่บริษัทได้รับ บริจาคหุ้นทุนเพียงแต่บันทึกทรงจาไว้และจะบันทึกบัญชีเมื่อนาหุ้นทุนที่ได้รับบริจาค ออกจาหน่าย โดยจานวนเงินที่จาหน่ายได้ทั้งหมด ให้เครดิตไว้ในบัญชีส่วนเกินทุนจาก การบริจาค วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้นวิธีนี้จะบันทึกบัญชี เช่นเดียวกับกรณีที่ซื้อหุ้นทุนคืนมา เพียงแต่ในวันที่ได้รับหุ้นทุนคืนมาให้เปลี่ยนรายการ เครดิตเงินสด เป็น เครดิตส่วนเกินทุนจากการบริจาค และต่อมาถ้านาหุ้นทุนที่ได้รับ บริจาคออกจาหน่ายได้ในราคาที่สูงหรือต่ากว่ามูลค่า ให้บันทึกผลต่างดังกล่าวไว้ใน บัญชีส่วนเกินทุนจากการบริจาค หลังจากบริษัทนาหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายทั้งหมดแล้ว บัญชี ส่วนเกินทุนจากการบริจาคจะมียอดคงเหลือเท่ากันทั้ง 2 วิธี โดยวิธีที่ 1 เป็นที่นิยม มากกว่าเพราะง่ายในการปฏิบัติ อีกทั้งบัญชีส่วนเกินทุนจากการบริจาคซึ่งบันทึกต่อเมื่อ มีการจาหน่ายหุ้นแล้ว จะแสดงยอดตรงตามความเป็นจริงมากกว่า
  • 41. หมายเหตุ บริษัทไม่ต้องจัดสรรกาไรสะสมไว้สาหรับหุ้นทุนที่ได้รับบริจาค เนื่องจาก เป็นการได้รับหุ้นทุนคืนมาโดยไม่มีการแลกเปลี่ยนหรือค่าตอบแทนใดๆ ตัวอย่างที่ 10 : บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจานวน 5,000 หุ้น ซึ่ง ออกจาหน่ายแล้วในราคาตามมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ต่อมาได้รับบริจาคกลับคืนมา 300 หุ้น โดยได้นาออกจาหน่ายในครั้งแรกจานวน 100 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท และ จาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 102 บาท การบันทึกรายการรับบริจาคหุ้นทุน และจาหน่ายหุ้นทุนที่ได้รับบริจาคจะ ปรากฏดังนี้
  • 42. วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น บันทึกทรงจา : ได้รับบริจาคหุ้นทุนสามัญจากผู้ถือหุ้น จานวน 300 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 100 บาท บันทึกทรงจา : เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (300 x 100) 30,000 เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 30,000 ได้รับบริจาคหุ้นสามัญ 300 หุ้น มูลค่าหุ้นละ100 บาท เดบิต เงินสด (100 x 95) 9,500 เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 9,500 นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งแรกจานวน 100 หุ้น ราคาหุ้นละ 95 บาท เดบิต เงินสด (100 x 95) 9,500 ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 500 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (100 x 100) 10,000 นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งแรกจานวน 100 หุ้น ราคา หุ้นละ 95 บาท เดบิต เงินสด (200 x 102) 20,400 เครดิต ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 20,400 นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคาหุ้นละ 102 บาท เดบิต เงินสด (200 x 102) 20,400 เครดิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา (200 x 100) 20,000 ส่วนเกินทุนจากการบริจาค 400 นาหุ้นสามัญที่ได้รับบริจาคออกจาหน่ายครั้งที่ 2 จานวน 200 หุ้น ราคา หุ้นละ 102 บาท
  • 43. การลดทุน การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทอาจลดมูลค่าต่อหุ้น หรืออาจจะลดจานวน หุ้นลง โดยต้องเป็นไปตามมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนเสียงทั้งหมดที่มาประชุม (บริษัทเอกชนต้องใช้มติพิเศษ) และต้องนามติ นั้นไปจดทะเบียนภายใน 14 วัน นับแต่วันลงประชุมลงมติ รวมทั้งต้องโฆษณามติการ ลดทุนในหนังสือพิมพ์และมีหนังสือแจ้งมตินั้นไปยังเจ้าหนี้ของบริษัท กาหนดให้ส่ง คาคัดค้านภายใน 30 วัน สาหรับบริษัทเอกชน และ 2 เดือนสาหรับบริษัทมหาชน ถ้ามีการคัดค้าน บริษัทจะลดทุนมิได้จนกว่าจะได้ชาระหนี้หรือให้ หลักประกันเพื่อหนี้นั้นแล้ว ในกรณีที่เจ้าหนี้คนใดมิได้ส่งคาคัดค้านมาภายในที่ กาหนด เพราะไม่ทราบมติการลดทุนโดยมิใช่ความผิดของเจ้าหนี้นั้น ผู้ถือหุ้นของ บริษัทเอกชนต้องรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้นั้นตามจานวนที่ได้รับคืนทุนภายในเวลา 2 ปี นับแต่วันจดทะเบียนลดทุน และภายใน1 ปีสาหรับผู้ถือหุ้นของบริษัทมหาชน
  • 44. บริษัทเอกชนจะลดทุนให้เหลือต่ากว่า 25% ของทุนจดทะเบียนไม่ได้ และจะโอนทุนสารองมาตัดผลขาดทุนสะสมไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์แต่สาหรับบริษัทสามารถทาได้ตามพระราชบัญญัติมหาชนจากัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ซึ่งกาหนดให้บริษัทที่มีผลขาดทุนสะสมอาจโดนทุน สารองต่างๆมาตัดขาดทุนสะสมได้และถ้ายังมีผลขาดทุนสะสมเหลืออยู่บริษัท อาจลดทุนให้เหลือต่ากว่า 25% ของทุนจดทะเบียนได้โดยการลดทุนของบริษัท อาจเกิดขึ้นในกรณีดังนี้ การลงทุนของบริษัทอาจเกิดขึ้นในกรณี ดังนี้ 1. การยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมา 2. การไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ 3. การตัดผลขาดทุนสะสม
  • 45. การยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมา บริษัทต้องดาเนินการทางกฎหมายตามขั้นตอนการลดทุนให้เรียบร้อย ก่อน หลังจากนั้นจึงบันทึกการยกเลิกหุ้นทุนได้รับคืนมาเพื่อลดทุนจดทะเบียน โดย 1. วันที่ได้รับหุ้นคืนมา ให้บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามวิธีการที่ศึกษา มาแล้ว 2. วันจดทะเบียนลดทุน ให้บันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับหุ้นทุนได้รับคืนมา โดย วิธีที่ 1 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน ให้ปิดบัญชีหุ้นทุน และหุ้น ทุนได้รับคืนมารวมทั้งส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นทุนนั้น (ใช้วิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน้าหนัก) ถ้ามีผลต่างให้บันทึกดังนี้ - ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนดด้รบคคนนมา – ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม
  • 46. วิธีที่ 2 : บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น ให้ปิดบัญชีหุ้นทุน และหุ้นทุน ได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น โดยไม่ต้องยกเลิกส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพราะได้บันทึกแล้ว ณ วันที่ซื้อคืน ตัวอย่างที่ 11 : บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ออกจาหน่ายแล้วในราคาหุ้นละ 103 บาท ต่อมาบริษัทซื้อหุ้นสามัญ กลับคืนมาจานวน 1,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 98 บาท และยกเลิกหุ้นทุนที่ซื้อคืน มาทั้งหมดเพื่อลดทุนจดทะเบียนลง
  • 47. การบันทึกรายการซื้อหุ้นทุนคืนมาและการยกเลิกหุ้นทุนเพื่อลดทุนจดทะเบียน วิธีที่ 1 :บักทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2:บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 98,000 เครดิต เงินสด (1,000×98) 98,000 ซื้อหุ้นสามัญคืนมา 1,000 บาท หุ้นๆละ 98 บ. เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 3,000 เครดิต เงินสด 98,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น- 5,000 สามัญได้รับคืนมา ซื้อหุ้นสามัญคืนมา 1,000 บาท หุ้นๆละ 98 บ.
  • 48. วิธีที่ 1:บักทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามราคาทุน วิธีที่ 2:บันทึกหุ้นทุนได้รับคืนมาตามมูลค่าหุ้น เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 3,000 เครดิต เงินสด 98,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น- 5,000 สามัญได้รับคืนมา ยกเลิกหุ้นสามัญซื้อคืนมา 1,000 บาทเพื่อลด ทุนจดทะเบียน เดบิต ทุนหุ้นสามัญได้รับคืนมา 100,000 เครดิต เงินสด (1,000×100) 100,000 ยกเลิกหุ้นสามัญซื้อคืนมา 1,000 บาทเพื่อลด ทุนจดทะเบียน
  • 49. การไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ การลดทุนจดทะเบียนโดยการเรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ อาจได้ในกรณีที่บริษัทออกหุ้น บุริมสิทธิโดยกาหนดเงื่อนไขการเรียกไถ่คืนไว้ล่วงหน้า โดยจะต้องระบุไว้ในหุ้นและ หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทให้ชัดเจน โดยทั่วไปราคาเรียกไถ่คืนมักจะกาหนดไว้สูง กว่าราคาที่ออกจาหน่ายครั้งแรก ในวันที่เรียกไถ่คืนถ้าหุ้นบุริมสิทธิมีเงินปันผลค้างอยู่ บริษัทจะต้องจ่ายเงินปันผลค้างทั้งสิ้นจนถึงวันไถ่คืนด้วย โดยหลักการบันทึกบัญชีสรุป ได้ดังนี้ 1. บันทึกการโอนปิดบัญชีทุนหุ้นบุริมสิทธิที่เรียกไถ่คืน รวมทั้งบัญชีที่เกี่ยวข้อง 2. บันทึกจ่ายเงินสด ตามราคาเรียกไถ่คืน รวมทั้งเงินปันผลคงค้าง(ถ้ามี) 3. ถ้ามีผลต่างระหว่างราคาที่ออกจาหน่ายครั้งแรก กับราคาเรียกไถ่คืน ให้บันทึก ดังนี้
  • 50. -ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม -ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากการดถ่คนนหุ้นทุนคุริมสิทธิ ตัวอย่างที่ 12 : บริษัทมีทุนหุ้นบุริสิทธิชนิดเรียกไถ่คืนได้ จานวน 1,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 100 บาท ซึ่งออกจาหน่ายแล้วทั้งหมด ในราคาหุ้นละ 120 บาท ต่อมาบริษัท เรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิทั้งหมดในราคาหุ้นละ 130 บาท
  • 51. การบันทึกบัญชี เมื่อเรียกไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ 1,000 หุ้นในราคาหุ้นละ 130 บาท เดบิต ทุนหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×100) 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×20) 20,000 กาไรสะสม 10,000 เครดิต เงินสด (1,000×130) 130,000 การตัดผลขาดทุนสะสม การลดทุนในกรณีนี้ผู้ถือหุ้นจะไม่ได้รับการคืนทุนแต่อย่างใด โดย บริษัทเอกชนจะโอนทุนสารองตัดผลขาดทุนสะสมไม่ได้ สาหรับบริษัทมหาชนที่มี ผลขาดทุนสะสมจานวนมากอาจพิจารณาโอนเงินสารองต่าง ๆมาตัดขาดทุนสะสม ได้โดยบันทึกตามลาดับดังนี้
  • 52. ขั้นที่ 1 : โอนทุนสารองอื่นตัดผลขาดทุนสะสม ขั้นที่ 2 : โอนทุนสารองตามกฎหมายตัดผลขาดทุนสะสม ขั้นที่ 3 : โอนส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนตัดผลขาดทุนสะสม ขั้นที่ 4 : โอนทุนเรือนหุ้นตัดผลขาดทุนสะสม (การโอนทุนเรือนหุ้นตัดผลขาดทุนสะสม บริษัทเอกชนจะลดทุนจด ทะเบียนให้เหลือต่ากว่า 25% ไม่ได้ แต่บริษัทมหาชนอาจลดทุนจดทะเบียนให้ เหลือต่ากว่า 25% ได้)
  • 53. ตัวอย่างที่ 13 : บริษัทมีผลขาดทุนสะสมและรายการเกี่ยวกับส่วนของผู้ถือหุ้น ปรากฏดังนี้ ทุนหุ้นสามัญ จดทะเบียนและจาหน่ายแล้ว 10,000 หุ้นๆละ 10 บาท 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5,000 กาไรสะสม (ยอดเดบิต) (88,000) กาไรสะสมจัดสรร – สารองตามกฎหมาย 3,000 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 20,000 ถ้าบริษัทต้องการตัดผลขาดทุนสะสมให้หมด จะต้องลดทุนจดทะเบียน ให้เหลือ 20,000 บาท เพื่อให้ยอดเดบิตในบัญชีกาไรสะสมหมดไป โดยดาเนินการ และบันทึกรายการตามลาดับดังนี้
  • 54. การบันทึกบัญชี ขั้นที่ 1 : โอนทุนสารองตามกฎหมายตบดผลขาดทุนสะสม(คริษบทดม่มีสารองอน่น) เดบิต กาไรสะสมจัดสรร – สารองตามกฎหมาย 3,000 เครดิต กาไรสะสม 3,000 ขั้นที่ 2 : โอนส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุนตบดผลขาดทุนสะสม เดบิต ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5,000 เครดิต กาไรสะสม 5,000 ขั้นที่ 3 : โอนทุนเรนอนหุ้นตบดผลขาดทุนสะสมส่วนที่เหลนอ (88,000 – 8,000 = 80,000 คาท)
  • 55. โดยอาจลดจานวนหุ้นลง 8,000 หุ้น หรืออาจลดมูลค่าหุ้นโดยยกเลิกหุ้น เดิมทั้งหมด และออกหุ้นใหม่ในจานวนเท่าเดิม แต่มูลค่าต่อหุ้นลดลงเหลือหุ้นละ (20,000 ÷ 10,000) = 2 บาท กรณีลดจานวนหุ้นลง โดยมูลค่าต่อหุ้นคงเดิม กรณีลดมูลค่าต่อหุ้นลงโดยจานวนหุ้นคงเดิม เดบิต ทุนหุ้นสามัญ (8,000×10) 80,000 เครดิต ส่วนเกินทุนจาก- 80,000 การลดทุน บันทึกการลดทุนโดยจานวนหุ้นลง 8,000 หุ้น เหลือทุนจดทะเบียน เดบิต ทุนหุ้นสามัญ 100,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ 20,000 ส่วนเกินทุนจาก- 80,000 การลดมูลค่าหุ้น บันทึกการลดทุนโดยลดมูลค่าหุ้นลง เหลือหุ้น ละ 2 บาท
  • 56. กรณีลดจานวนหุ้นลง โดยมูลค่าต่อหุ้นคงเดิม กรณีลดมูลค่าต่อหุ้นลงโดยจานวนหุ้นคงเดิม เดบิต ส่วนเกินทุนจากการลดทุน 80,000 เครดิต กาไรสะสม 80,000 โอนส่วนเกินทุนจากการลดทุนตัดผลขาดทุน สะสม เดบิต ส่วนเกินทุนจากการลดทุน 80,000 เครดิต กาไรสะสม 80,000 โอนส่วนเกินทุนจากการลดทุนตัดผลขาดทุน สะสม (ต่อ) หมายเหตุ : กรณีที่บริษัทมหาชนจากัดมีส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้น ต้องนาส่วนเกิน มูลค่าหุ้นทุน (ขั้นที่ 2) และส่วนเกินทุนจากการลดทุน (ขั้นที่ 3) มาหักล้างขาดทุน สะสมได้
  • 57. การแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ หมายถึง การนาหุ้นบุริมสิทธิมาเปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญ ซึ่งโดยทั่วไปจะ กระทามิได้ เว้นแต่ในกรณีที่ข้อบังคับของบริษัทกาหนดไว้โดยผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ ต้องยื่นคาขอแปลงหุ้นต่อบริษัทพร้อมกับส่งมอบใบหุ้นบุริมสิทธิคืน เพื่อ แลกเปลี่ยนกับใบหุ้นสามัญที่บริษัทจะออกให้ใหม่ ตามเงื่อนไขและอัตราการ แปลงสภาพที่ระบุไว้
  • 58. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. บันทึกการโอนปิดบัญชีทุนหุ้นบุริมสิทธิที่นามาแปลงสภาพ รวมทั้งบัญชี ส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ ตามส่วนของหุ้นที่นามา แปลงสภาพ 2. บันทึกการออกหุ้นสามัญ ด้วยราคาตามมูลค่าของหุ้นสามัญ 3. ถ้ามีผลต่างระหว่างมูลค่าหุ้นสามัญที่ออกให้ใหม่ กับราคาตามบัญชีของ หุ้นบุริมสิทธิ - ผลต่างด้านเครดิต ให้บันทึกไว้ในบัญชี ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นคุริสิทธิ – ผลต่างด้านเดคิต ให้บันทึกลดยอดบัญชี กาดรสะสม
  • 59. ตัวอย่างที่ 14 : บริษัท เค จากัด มีรายการเกี่ยวกับส่วนของผู้ถือหุ้น ดังนี้ หุ้นสามัญ 30,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท(จดทะเบียน 50,000 หุ้น) 300,000 หุ้นบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้ 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 100,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ (1,000×20) 20,000 กาไรสะสม 90,000 510,000 สมมติมีผู้นาหุ้นบุริมสิทธิจานวน 500 หุ้น มาแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ การบันทึกบัญชี ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการแปลงสภาพหุ้นบุริสิทธิแต่ละกรณี เช่น
  • 60. กรณีที่ 1 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้10 หุ้น เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×10×10) 50,000 ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพ - 10,000 หุ้นบุริสิทธิ
  • 61. กรณีที่ 2 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้12 หุ้น เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×12×10) 60,000 กรณีที่ 3 : ถ้ากาหนดให้หุ้นบุริสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญได้15 หุ้น เดบิต ทุนหุ้นบุริสิทธิ (500×100) 50,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 10,000 กาไรสะสม 15,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ (500×15×10) 75,000
  • 62. การแตกหุ้นและการรวมหุ้น การแตกหุ้น (Stock Split – up) ในกรณีที่หุ้นของบริษัทมีราคาตลาดค่อนข้างสูง ซึ่งอาจทาให้การซื้อขาย หุ้นในตลาดขาดสภาพคล่อง บริษัทอาจพิจารณาแตกหุ้นเพื่อลดราคาให้ต่าลง โดย เรียกหุ้นจากผู้ถือหุ้นกลับคืนมาเพื่อยกเลิก และออกใบหุ้นให้ใหม่ในจานวนหุ้นที่ เพิ่มขึ้นแต่มีมูลค่ารวมเท่าเดิมเช่น บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท บริษัทประกาศแตกหุ้นในอัตรา 1 : 20 จะต้องออกหุ้นใหม่ จานวน (10,000×20) = 200,000 หุ้น ดังนี้
  • 63. จานวนหุ้น มูลค่าหุ้น มูลค่ารวม ใบหุ้นเดิมที่ยกเลิก 10,000 100 1,000,000 ใบหุ้นที่ออกให้ใหม่ภายหลังการแตกหุ้น 200,000 5 1,000,000 การรวมหุ้น(Stock Split – down) การรวมหุ้น วิธีการรวมหุ้นจะเหมือนกับการแตกหุ้นคือบริษัทจะเรียกหุ้นจากผู้ถือ หุ้นกลับคืนมาเพื่อยกเลิก และออกใบหุ้นให้ใหม่ในจานวนหุ้นที่ลดลงแต่มีมูลค่า รวมเท่าเดิม เช่น บริษัทมีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ 100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท บริษัทประกาศรวมหุ้นในราคา 10 : 1 จะต้องออกหุ้นใหม่จานวน (100,000 ÷ 10) = 10,000 หุ้น ดังนี้
  • 64. จานวนหุ้น มูลค่าหุ้น มูลค่ารวม ใบหุ้นเดิมที่ยกเลิก 100,000 10 1,000,000 ใบหุ้นที่ออกให้ใหม่ภายหลังการแตกหุ้น 10,000 100 1,000,000 บริษัทอาจบันทึกการแตกหุ้นและการรวมหุ้นไว้ในบัญชี หรือเพียงแต่ บันทึกทรงไว้ โดยทั้ง 2 กรณีต้องบันทึกรายการเปลี่ยนแปลงไว้ในทะเบียนผู้ถือ หุ้น เพื่อแสดงรายละเอียดการแลกเปลี่ยนหุ้นเดิมกับหุ้นใหม่ โดยการแตกหุ้นและ การรวมหุ้นข้างต้นถ้าบันทึกบัญชีจะปรากฏรายการเหมือนกันดังนี้ เดบิต ทุนหุ้นสามัญ (ที่ยกเลิก) 1,000,000 เครดิต ทุนหุ้นสามัญ 1,000,000 (ที่ออกใหม่ภายหลังการแตก/รวมหุ้น)