SlideShare a Scribd company logo
อุปกรณ์งานระบบอาคาร 1
BUILDING SYSTEM EQUIPMENT 1
“สภาวะสบาย” คืออะไร สภาวะสบาย (Comfort Zone) อธิบายได้ง่ายๆ ว่า เป็นช่วงอุณหภูมิและความชื้นของอากาศ
ที่ทาให้คนส่วนใหญ่รู้สึกสบาย ซึ่งมีปัจจัยหลักดังนี้
1. อุณหภูมิ
2. ความชื้นสัมพัทธ์
3. ความเร็วลมที่มาปะทะตัวเรา
4. การแผ่ความร้อนจากสิ่งแวดล้อม
ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพื่ออะไร
* สภาวะสบายในแต่ละฤดูและแต่ละภูมิภาคก็แตกต่างกันไปในรายละเอียด
โดยสภาวะสบายในประเทศไทยจะอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ 24 – 27 องศา
เซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ประมาณ 50 - 70 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วลมที่
0.2 - 1.0 m/s1 *
สภาวะสบายในแต่ละฤดูและแต่ละภูมิภาคก็แตกต่างกันไปใน
รายละเอียด โดยสภาวะสบายในประเทศไทยจะอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ
24 – 27 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ประมาณ 50 - 70
เปอร์เซ็นต์ และความเร็วลมที่ 0.2 - 1.0 m/s1 *
สภาวะสบายในแต่ละฤดูและแต่ละภูมิภาคก็แตกต่างกันไปในรายละเอียด โดย
สภาวะสบายในประเทศไทยจะอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ 24 – 27 องศาเซลเซียส
ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ประมาณ 50 - 70 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วลมที่ 0.2 - 1.0
m/s1 *
เครื่องปรับอากาศ
(Air Conditioning System)
คือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่ปรับสภาพของอากาศให้เหมาะกับสภาวะที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น การปรับอากาศเพื่อการอยู่
อาศัยในอาคารด้วย โดยอาจจะปรับให้อุณหภูมิ สูงขึ้นหรือต่าลงก็ได้ และมีการควบคุมปริมาณความชื้น สัมพัทธ์ใน
อากาศ ความเร็ว ลม การระบายอากาศเสียทิ้ง รวมทั้ง การหมุนเวียนของอากาศบริสุทธิ์ และการกรอง อากาศที่
สกปรกให้สะอาด
ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning System)
เครื่องปรับอากาศ (Air conditioner)
เครื่องปรับอากาศ หรือ เรียกเป็น ภาษาพูดว่า แอร์ เป็น
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้สาหรับปรับอุณหภูมิของอากาศในอาคาร เพื่อให้ผู้
อยู่อาศัยไม่ร้อนหรือไม่เย็นจนเกินไป หรือใช้รักษาภาวะอากาศให้คงที่
เพื่อจุดประสงค์อื่น
แหล่งความร้อนที่ส่งผลต่อการปรับอากาศ
แหล่งความร้อนที่ส่งผลต่อการปรับอากาศ
หลักการทางานของเครื่องปรับอากาศ
การทาความเย็นของเครื่องปรับอากาศใช้หลักการ ระเหยของสาร
ทาความเย็น และเมื่อสารทาความเย็นระเหยและทาความเย็นแล้ว จึง
นาไปควบแน่นเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
หลักการทางานของเครื่องปรับอากาศ
สารทาความเย็น คือ
ความหมายโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
หมายถึง สารที่ทาให้เกิดความเย็นโดยการดูดความร้อน เมื่อขยายตัวหรือเปลี่ยนสภาพจากของเหลวเป็นไอ สารนี้ในสภาพ
ไอถ้าได้ระบายความร้อนออกจะคืนสภาพเป็นของเหลว
ระบบปรับอากาศ
ระบบปรับอากาศ
หลักการทางานของเครื่องปรับอากาศ
มีการทางานดังนี้
1 - 2 การอัดไอ (Compression) อัดสารทาความเย็นสถานะก๊าซความดันต่า ให้เป็นก๊าซ
ร้อนความดันสูง
2 - 3 การควบแน่น (Condensing) สารทาความเย็นสถานะก๊าซควบแน่นเป็นของเหลว
และคายความร้อนออก
3 - 4 การขยายตัว (Expansion) จากสารทาความเย็นความดันสูงไปเป็นความดันต่า พร้อม
ทั้งลดอุณหภูมิลงและเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของเหลวผสมก๊าซ
3 - 4 การระเหย (Evaporation) ความร้อนจากสารตัวกลาง (อากาศหรือน้า) จะถูกดูดเพื่อ
ใช้ในการระเหยของสารทาความเย็นเหลวให้เป็นก๊าซ
หลักการทางานของเครื่องปรับอากาศ
วงจรทาความเย็น
1
2
3
4
Compressor
Condenser
Thermal Expansion Valve
Evaporator
ทิศทางการไหลของ
สารทาความเย็น
1.คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ทาหน้าที่เพิ่มความดันและอุณหภูมิของสารทาความเย็น
คอมเพรสเซอร์จะอัดไอสารทาความเย็นซึ่งมีความดันและอุณหภูมิต่าให้มีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้น เพื่อส่งต่อไปยัง
คอนเดนเซอร์ และคอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทาให้สารทาความเย็นเกิดการไหลเวียนในระบบ
ส่วนประกอบของเครื่องปรับอากาศ
2.คอยล์ร้อน (Condenser) ทาหน้าที่ระบายความร้อนออกจากสารทาความเย็นที่มาจากคอมเพรสเซอร์
โดยสารทาความเย็นจะเปลี่ยนสถานะจากไอที่ความดันสูง อุณหภูมิสูง เป็นของเหลวที่ความดันสูง อุณหภูมิสูง และระบายความ
ร้อนอาจใช้วิธีระบายความร้อนด้วยอากาศหรือน้าก็ได้
ส่วนประกอบของเครื่องปรับอากาศ
3.คอยล์เย็น (Evaporator)
ทาหน้าที่ดึงความร ้อนจากอากาศ (หรือน้าในกรณีของเครื่องทาน้าเย็น) ที่
เคลื่อนผ่านคอยล์เย็น โดยสารทาความเย็นจะเปลี่ยนสถานะจากของผสม
ระหว่างของเหลวและไอไปเป็นไอ (การระเหย)
ส่วนประกอบของเครื่องปรับอากาศ
4.อุปกรณ์ลดความดัน
ทำหน้ำที่ลดควำมดันของสำรทำ
ควำมเย็นที่มำจำกคอนเดนเซอร์ สำรทำ
ควำมเย็นจะเปลี่ยนสถำนะจำก
ของเหลวควำมดันสูง อุณหภูมิสูง ผสม
ระหว่ำงของเหลวและไอที่ควำมดันต่ำ
อุณหภูมิต่ำ ก่อนไหลเข้ำสู่อีวำโปเรเตอร์
ต่อไป โดยทั่วไปจะใช้เป็นแค็ปพิลลำรี่
ทิ้วบ์ (Capillary tube) หรือ เอ็กส
แปนชั่นวำล์ว (Expansion Valve)
ส่วนประกอบของเครื่องปรับอากาศ
1.เครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่าง (Window Type)
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
3.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว (Packaged Unit)
4. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น (Water Chiller)
ประเภทของเครื่องปรับอากาศ

More Related Content

More from Pa'rig Prig

2
22
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
Pa'rig Prig
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
Pa'rig Prig
 
Kitchen room
Kitchen roomKitchen room
Kitchen room
Pa'rig Prig
 
Living room (2)
Living  room (2)Living  room (2)
Living room (2)
Pa'rig Prig
 
Living room (2)
Living  room (2)Living  room (2)
Living room (2)
Pa'rig Prig
 
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายในการเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
Pa'rig Prig
 
Human dimension
Human dimensionHuman dimension
Human dimension
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

2
22
2
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
 
Kitchen room
Kitchen roomKitchen room
Kitchen room
 
Living room (2)
Living  room (2)Living  room (2)
Living room (2)
 
Living room (2)
Living  room (2)Living  room (2)
Living room (2)
 
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายในการเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน
 
Human dimension
Human dimensionHuman dimension
Human dimension
 
01
0101
01
 
02
0202
02
 

1