SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
(Financial Forecasting and Planning)
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
• การพยากรณ์ทางการเงิน
1. วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย (The Percentage of Sales Method)
2. วิธีถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Method)
• งบประมาณเงินสด
1. การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า
2. การประมาณการกระแสเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า
3. การจัดทางบประมาณเงินสด
การพยากรณ์ทางเงิน
• การพยากรณ์เป็นจุดเริ่มต้นของงานด้านการวางแผน เป็นการใช้
เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ รวมถึงสถิติและข้อมูลในอดีต เพื่อ
คาดคะเนรายการทางการเงินที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต และนา
ข้อมูลที่ได้รับไปใช้ในการวางแผนเพื่อการดาเนินงานในอนาคต
• วิธีการพยากรณ์ทางการเงิน
– วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย (The Percentage of Sales Method)
– วิธีถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Method)
วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย
(The Percentage of Sales Method)
• เป็นวิธีที่ใช้กันโดยทั่วไปสาหรับการพยากรณ์ทางการเงิน โดยมี
สมมติฐานสาคัญ 2 ประการ ได้แก่
– รายการทางการเงินส่วนใหญ่ โดยเฉพาะรายการที่ปรากฏในงบดุลมี
ความสัมพันธ์โดย ตรงกับยอดขายในปีนั้น
– ระดับของสินทรัพย์ต่างๆ ที่มีอยู่ในงบดุลของปีปัจจุบันถือว่าเป็นระดับที่
เหมาะสมแล้วกับยอดขายของปีปัจจุบัน
ขั้นตอนของการคานวณ
1. รายการทางด้านสินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
– สินทรัพย์หมุนเวียนที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานทุกรายการ
– สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนจะนามาเทียบเป็นอัตราร้อยละเมื่อพิจารณาแล้วว่า
จาเป็นจะต้องมีการลงทุนเพิ่มในปีถัดไป แต่ถ้าสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนใน
ปัจจุบันมีมากพอสาหรับยอดขายที่เพิ่มขึ้นในปีถัดไป แสดงว่าไม่ต้องลงทุน
เพิ่ม รายการนั้นก็ไม่จาเป็นต้องหาอัตราร้อยละของยอดขาย
2. รายการเงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
– เงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติจะเกิดขึ้นตามการดาเนินงานปกติ แหล่งของ
เงินทุนประเภทนี้ เรียกว่า Spontaneous Liabilities จะอยู่ในรูปของ
เจ้าหนี้การค้า และค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เท่านั้น
ขั้นตอนของการคานวณ
3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย -
4. ยอดขายส่วนเพิ่ม
5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x
6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) - เงินปันผล
7. แหล่งเงินทุนภายนอก ซึ่งจัดหาได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้หนี้สิน
ระยะยาว ตั๋วเงินจ่าย การจาหน่ายหุ้นกู้ หุ้นสามัญ เป็นต้น จะเป็นไปตาม
นโยบายการบริหารทางการเงินของกิจการนั้นๆ
ใช้ปีพยากรณ์
ตัวอย่างที่ 3-1 (หน้า 73)
ข้อมูลของ บริษัท เพชรสีชมพู จากัด มีรายละเอียด ดังนี้
1. ปี 25X6 มียอดขายสินค้า 10,000,000 บาท และคาดว่า ปี 25X7
ยอดขายจะเพิ่มขึ้นเป็น 12,000,000 บาท
2. อัตรากาไรสุทธิหลังภาษีเท่ากับ 4% และนโยบายการจ่ายเงินปันผล
อัตรา 40%
3. ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
100,000
200,000
500,000
1,700,000
2,500,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
100,000
50,000
150,000
2,000,000
200,000
2,500,000
ให้คานวณ
1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7
2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม จานวนเท่าใด และ
จัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการจัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การ
ออกตั๋วเงินจ่าย
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือ
หุ้น
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
100,000
200,000
500,000
1,700,000
2,500,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
100,000
50,000
150,000
2,000,000
200,000
2,500,000
ร้อยละ ร้อยละ
ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท
1%
2%
5%
ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่
17%
25%
1%
0.5%
1.5%
ขั้นตอนของการคานวณ
1. รายการทางด้านสินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
2. รายการเงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย -
4. ยอดขายส่วนเพิ่ม
5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x
1%+ 2%+ 5% + 17% = 25%
1%+ 0.5% = 1.5%
25% - 1.5% = 23.5%
12,000,000-10,000,000 = 2,000,000 บาท
2,000,000 x 23.5% = 470,000 บาท
ขั้นตอนของการคานวณ
6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล
7. แหล่งเงินทุนภายนอก
= (12,000,000 x 4%) – 40%
= (12,000,000 x 4%) x 60%
= 288,000 บาท
= 470,000 - 288,000
= 182,000 บาท
ออกตั๋วเงินจ่าย
ใช้ปีพยากรณ์
สรุปขั้นตอนการพยากรณ์ทางการเงิน
1. สินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
– เครื่องจักรเต็มกาลังการผลิต คิด
– เครื่องจักรไม่เต็ม ไม่คิด
2. เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ
3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย -
4. ยอดขายส่วนเพิ่ม
5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x
6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล
7. แหล่งเงินทุนภายนอก -
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
100,000
200,000
500,000
1,700,000
2,500,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
100,000
50,000
150,000
2,000,000
200,000
2,500,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6
ให้คานวณ
1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7
2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม จานวนเท่าใด และ
จัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการจัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การ
ออกตั๋วเงินจ่าย
ตัวอย่างที่ 3-1
สินทรัพย์
ปี 25x6
สินทรัพย์
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
100,000
200,000
500,000
1,700,000
2,500,000
120,000
240,000
600,000
2,040,000
3,000,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ร้อยละ
ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท
1%
2%
5%
ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่
17%
ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท
สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 500,000 บาท
ตัวอย่างที่ 3-1
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x6
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x7
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
100,000
50,000
150,000
2,000,000
200,000
2,500,000
120,000
60,000
150,000
2,000,000
488,000
2,818,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ร้อยละ
ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท
1%
0.5%
ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท
+ 288,000
เพิ่มขึ้น 318,000
เงินทุนเพิ่ม 30,000 บาท
ตัวอย่างที่ 3-1
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
กาไรสุทธิ = ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ
เงินปันผล = กาไรสุทธิ x อัตราการจ่ายเงินปันผล
กาไรสะสม
แหล่งเงินทุนภายใน
มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล
= 12,000,000 x 4%
= 480,000 บาท
ใช้ปีพยากรณ์
= 480,000 x 40%
= 192,000 บาท
= 288,000 บาท
= 480,000– 192,000
ตัวอย่างที่ 3-1
เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม
สินทรัพย์เพิ่ม 500,000 บาท
เงินทุนเพิ่มอัตโนมัติ 30,000 บาท
เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม 470,000 บาท
แหล่งเงินทุนภายใน
กาไรสะสม 288,000 บาท
แหล่งเงินทุนภายนอก
ออกตั๋วเงินจ่าย 470,000 – 288,000 =182,000 บาท
แหล่งเงินทุนภายนอก
ตัวอย่างที่ 3-1
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x7
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x7
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
120,000
60,000
150,000
2,000,000
488,000
2,818,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ตั๋วเงินจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
120,000
60,000
182,000
150,000
2,000,000
488,000
3,000,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x6
ตัวอย่างที่ 3-1
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
120,000
240,000
600,000
2,040,000
3,000,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ตั๋วเงินจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
120,000
60,000
182,000
150,000
2,000,000
488,000
3,000,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X7
ตัวอย่างที่ 3-1
จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 3-1 ถ้าปัจจุบันเครื่องจักรใช้งานเพียง 50%ของ
กาลังการผลิต
ให้คานวณ
1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7
2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม
จานวนเท่าใดและจัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการ
จัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การออกตั๋วเงินจ่าย
ตัวอย่างที่ 3-2 (หน้า 76)
สินทรัพย์
ปี 25x6
สินทรัพย์
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
100,000
200,000
500,000
1,700,000
2,500,000
120,000
240,000
600,000
1,700,000
2,660,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ร้อยละ
ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท
1%
2%
5%
ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตไม่เต็มกาลังผลิต
ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท
สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 160,000 บาท
ตัวอย่างที่ 3-2
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x6
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x7
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
100,000
50,000
150,000
2,000,000
200,000
2,500,000
120,000
60,000
150,000
2,000,000
488,000
2,818,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ร้อยละ
ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท
1%
0.5%
ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท
+ 288,000
เพิ่มขึ้น 318,000
เงินทุนเพิ่ม 30,000 บาท
ตัวอย่างที่ 3-2
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
กาไรสุทธิ = ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ
เงินปันผล = กาไรสุทธิ x อัตราการจ่ายเงินปันผล
กาไรสะสม
แหล่งเงินทุนภายใน
มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล
= 12,000,000 x 4%
= 480,000 บาท
ใช้ปีพยากรณ์
= 480,000 x 40%
= 192,000 บาท
=288,000
= 480,000– 192,000
ตัวอย่างที่ 3-2
เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม
สินทรัพย์เพิ่ม 160,000 บาท
เงินทุนเพิ่มอัตโนมัติ 30,000 บาท
เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม 130,000 บาท
แหล่งเงินทุนภายใน
กาไรสะสม 288,000 บาท
บริษัทมีกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นมากพอที่จะนาไปใช้ในส่วนที่ต้องการเพิ่ม และยังคง
มี กาไรสะสมเหลือเพิ่ม 288,000 – 130,000 = 158,000 บาท ในรูปของ
เงินสด หรือ นาเงินส่วนเพิ่มไปลงทุนระยะสั้นก็ได้
แหล่งเงินทุนภายนอก
ตัวอย่างที่ 3-2
สินทรัพย์
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
สินทรัพย์
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
120,000
240,000
600,000
1,700,000
2,660,000
เงินสด
เงินลงทุนระยะสั้น
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
120,000
158,000
240,000
600,000
1,700,000
2,818,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ตัวอย่างที่ 3-2
สินทรัพย์
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ปี 25x7 (ปีพยากรณ์)
เงินสด
เงินลงทุนระยะสั้น
ลูกหนี้การค้า
สินค้าคงเหลือ
เครื่องจักร(สุทธิ)
รวม
120,000
158,000
240,000
600,000
1,700,000
2,818,000
เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นกู้
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
120,000
60,000
150,000
2,000,000
488,000
2,818,000
บริษัท เพชรสีชมพู จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ตัวอย่างที่ 3-2
โจทย์จากแบบฝึกหัด ข้อ 1 หน้า 15
1. ข้อมูลของบริษัท ร่วมแรงร่วมใจ จากัด มีรายละเอียด ดังนี้
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000
ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000
สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000
เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000
ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000
กาไรสะสม 50,000
รวม 1,700,000 รวม 1,700,000
ปี 25x1 บริษัทมียอดขาย 10,000,000 บาท คาดว่ายอดขายปี 25x2 จะเพิ่มขึ้น
10 % บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผล 70 % ของกาไรที่หาได้ อัตรา
กาไรสุทธิต่อยอดขายของบริษัท ปี 25x1 เท่ากับ 7% คาดว่าจะลดลงเหลือ
5% ในปี 25x2 ปัจจุบันเครื่องจักรมีการใช้งานเพียง 50 % อยากทราบว่า
1. ปี 25x2 บริษัทต้องการเงินทุนเพิ่มจานวนเท่าไร
2. ปี 25x2 บริษัทต้องจัดหาเงินจากแหล่งภายนอกหรือไม่ เป็นจานวนเท่าไร
3. หากปัจจุบันเครื่องจักรมีการใช้งานเต็มกาลังการผลิต บริษัทต้องการเงินทุน
เพิ่มจานวนเท่าไร และต้องจัดหาเงินจากแหล่งภายนอกหรือไม่ หากต้อง
จัดหาเงินทุนจากแหล่งภายนอกบริษัทมีนโยบายออกตั๋วเงินจ่ายต้องจัดหา
เพิ่มเท่าไร นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายลงทุนในสินค้าเพิ่ม
4. จัดทางบแสดงฐานะการเงินล่วงหน้าปี 25x2
กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50%
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000
ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000
สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000
เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000
เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000
กาไรสะสม 50,000
รวม 1,700,000 รวม 1,700,000
ยอดขายปี 25x2 เท่ากับ 10,000,000 บาท
กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50%
• ใช้วิธีร้อยละเทียบกับยอดขาย
❶ รายการสินทรัพย์เทียบกับยอดขาย
❷ รายการเงินทุนอัตโนมัติ (เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่าย)
เทียบกับยอดขาย
❸ร้อยละของเงินทุนที่ต้องการ ❶ - ❷
❹ ยอดขายส่วนเพิ่ม
❺ เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม ❸ x ❹
2%+ 2%+ 3% = 7%
2%+ 0.5% = 2.5%
7%-2.5% = 4.5%
10,000,000 x 10% =1,000,000
1,000,000 x 4.5% =45,000
กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50%
❻ แหล่งเงินทุนภายใน
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
= (ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล
❼ แหล่งเงินทุนภายนอก ไม่ต้องจัดหาเพราะมีเงินทุนมากพอเหลือ
ลงทุนในสินค้าคงเหลือ = 165,000-45,000 = 120,000 บาท
= (11,000,000 x 5%) – 70%
= (11,000,000 x 5%) x 30%
= 165,000
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด 220,000 เจ้าหนี้การค้า 220,000
ลูกหนี้การค้า 220,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000
สินค้าคงเหลือ 450,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 55,000
เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 หนี้สินระยะยาว 600,000
หุ้นสามัญ 700,000
ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000
กาไรสะสม 215,000
รวม 1,890,000 รวม 1,890,000
บริษัทมีนโยบาย
ลงทุนในสินค้าเพิ่ม
กรณี เครื่องจักรมีการใช้งานเต็มกาลังการผลิต
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000
ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000
สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000
เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000
เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000
กาไรสะสม 50,000
รวม 1,700,000 รวม 1,700,000
ยอดขายปี 25x2 เท่ากับ 10,000,000 บาท
กรณีเครื่องจักรใช้งานเต็มกาลังการผลิต
• ใช้วิธีร้อยละเทียบกับยอดขาย
❶ รายการสินทรัพย์เทียบกับยอดขาย
❷ รายการเงินทุนอัตโนมัติ (เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่าย)
เทียบกับยอดขาย
❸ร้อยละของเงินทุนที่ต้องการ ❶ - ❷
❹ ยอดขายส่วนเพิ่ม
❺ เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม ❸ x ❹
2%+ 2%+ 3%+10% = 17%
2%+ 0.5% = 2.5%
17%-2.5% = 14.5%
10,000,000 x 10% =1,000,000
1,000,000 x 14.5% =145,000
กรณีเครื่องจักรใช้งานเต็มกาลังการผลิต
❻ แหล่งเงินทุนภายใน
กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล
= (ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล
❼ แหล่งเงินทุนภายนอก ไม่ต้องจัดหาเพราะมีเงินทุนมากพอเหลือ
ลงทุนในสินค้าคงเหลือ = 165,000-145,000 = 20,000 บาท
= (11,000,000 x 5%) – 70%
= (11,000,000 x 5%) x 30%
= 165,000
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2
สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เงินสด 220,000 เจ้าหนี้การค้า 220,000
ลูกหนี้การค้า 220,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000
สินค้าคงเหลือ 350,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 55,000
เครื่องจักรสุทธิ 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000
หุ้นสามัญ 700,000
ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000
กาไรสะสม 215,000
รวม 1,890,000 รวม 1,890,000
บริษัทมีนโยบาย
ลงทุนในสินค้าเพิ่ม
งบประมาณเงินสด
• แผนระยะสั้น ช่วงเวลา 1 ปี หรือน้อยกว่านั้น
• เครื่องมือควบคุมเงินสด เป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง
ผลการดาเนินงานตามแผนงาน กับผลการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริง
• การจัดทางบประมาณเงินสดเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า
2. การประมาณการกระแสเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า
3. การจัดทางบประมาณเงินสด
ขั้นตอนการจัดทาแผนงานล่วงหน้า
ประมาณการเงินสด
รับจากการขายสินค้า
ประมาณการเงินสดจ่าย
จากการซื้อสินค้า
งบประมาณเงินสด
งบกาไรขาดทุนล่วงหน้า
งบฐานะการเงินล่วงหน้า
ศึกษาเพิ่มเติมเอง
การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า
และลูกหนี้การค้า
• การดาเนินงานของธุรกิจโดยทั่วไป การขายสินค้าจะมีทั้งการขายสินค้า
ที่เป็นเงินสด และการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อโดยให้เครดิตทางการค้า
การขายที่เป็นเงินสดจะได้รับเงินในทันที แต่การให้เครดิตการค้า
ลูกหนี้จะนาเงินมาชาระภายหลังซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขการชาระหนี้
ดังนั้น กระแสเงินสดรับจากการขายสินค้าในแต่ละเดือน จึงไม่เท่ากับ
ยอดขายในเดือนนั้น จาเป็นต้องประมาณการกระแส เงินสดรับในแต่
ละเดือน โดยพิจารณาจาก เงื่อนไขการชาระหนี้ และประมาณการ
ยอดขาย
ตัวอย่างที่ 3- 4 ในหนังสือ หน้า 83 (Sheet เพิ่มเติม)
ข้อมูลปี 25X7 ของ บริษัท ตะวันแดง จากัด มีรายละเอียดต่อไปนี้
(หน่วย : พันบาท)
ยอดขายจริง ประมาณการยอดขาย
มีนาคม 600 มิถุนายน 1,200
เมษายน 900 กรกฎาคม 1,800
พฤษภาคม 1,500 สิงหาคม 1,500
กาหนดให้ ยอดขายทั้งหมดเป็นขายเชื่อ ไม่มีหนี้สูญและลูกค้าชาระ
เงินตรงตามเงื่อนไข การขายสินค้ามีการกระจายตลอดเดือน และ
1 เดือน มี 30 วัน
ตัวอย่างที่ 3- 4(ต่อ)
ให้ทา คานวณการประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า
ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม และยอดลูกหนี้การค้า ณ
สิ้นเดือน สิงหาคม โดยมีเงื่อนไขของการขาย 6 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 n/10 กรณีที่ 2 n/15 กรณีที่ 3 n/20
กรณีที่ 4 n/ 30 กรณีที่ 5 n/45
กรณีที่ 6 2/10, n/30 โดยมีลูกค้าขอรับส่วนลด 60%
กรณีที่ 1 n/10
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500
n/10 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 10 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 10
1 เดือน มี 30 วัน 10 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 20/30
รับ 2/3 เดือนนั้น 1,000
500
3
2
5001 ,
3
1
5001 ,
800
400
1,200
600
1,000
500รับ 1/3 เดือนก่อน
ประมาณการเงินสดรับ 1,300 1,600 1,600
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 500,000 บาท
(หน่วย : พันบาท)
+ + +
กรณีที่ 2 n/15
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500
n/15 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 15 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 15
1 เดือน มี 30 วัน 15 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 15/30
รับ 1/2 เดือนนั้น 750
750
2
1
5001 ,
2
1
5001 ,
600
600
900
900
750
750รับ 1/2 เดือนก่อน
ประมาณการเงินสดรับ 1,350 1,500 1,650
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 750,000 บาท
(หน่วย : พันบาท)
+ + +
กรณีที่ 3 n/20
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500
n/20 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 20 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 20
1 เดือน มี 30 วัน 20 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 10/30
รับ 1/3 เดือนนั้น 500
1,000
3
1
5001 ,
3
2
5001 ,
400
800
600
1,200
500
1,000รับ 2/3 เดือนก่อน
ประมาณการเงินสดรับ 1,400 1,400 1,700
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 1,000,000 บาท
(หน่วย : พันบาท)
+ + +
กรณีที่ 4 n/30
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500
n/30 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 30 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 30
ดังนั้นจะลูกค้าจะชาระเดือนถัดไปทั้งจานวน ยอดเงินสดรับจะมาจากยอดขายเดือนก่อน
1,500ประมาณการเงินสดรับ 1,500 1,200 1,800
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 1,500,000 บาท
(หน่วย : พันบาท)
กรณีที่ 5 n/45
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 900 1,500 1,200 1,800 1,500
n/45 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 45 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 45
1 เดือน มี 30 วัน 45 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับในเดือนถัดไป 15/30
รับ 1/2 เดือนก่อน 450
450
2
1
900
2
1
900
750
750
600
600
900
900รับ 1/2 ของ 2 เดือนก่อน
ประมาณการเงินสดรับ 1,200 1,350 1,500
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 2,400,000 บาท
(หน่วย : พันบาท)
+ + +
1,500
กรณีที่ 6 2/10, n/30
โดยมีลูกค้าขอรับส่วนลด 60%
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500
(หน่วย : พันบาท)
1,500 x 60%
900 720 1,080 900
รับ 2/3 เดือนนั้น
รับ 1/3 เดือนก่อน 300
600
240
480
360
720
300
600+
780รวมเงินสดรับ 960 960
หัก 2%ส่วนลด รับสุทธิ 98% 764.4 940.8 940.8
780*98%
780-2%
1,500 x 40% 600 480 720 600
รับจากเดือนก่อน 600 480 720 600
ประมาณการเงินสดรับ


1,364.4 1,420.8 1,660.8
กลุ่มลูกค้าไม่รับส่วนลด 40%
เงื่อนไข n/30
กลุ่มลูกค้ารับส่วนลด 60%
เงื่อนไข 2/10
แบบฝึกหัดข้อ 4 หน้า 20
ข้อ 4 บริษัทเรือนไทยจากัด มีข้อมูลปี 25x7 ดังนี้
(หน่วย : หน่วย)
ยอดขายจริง ประมาณการยอดขาย
กุมภาพันธ์ 50,000 เมษายน 120,000
มีนาคม 90,000 พฤษภาคม 300,000
มิถุนายน 180,000
กรกฎาคม 210,000
ยอดขายเป็นยอดขายเชื่อทั้งหมด ราคาขายหน่วยละ 10 บาท
เงื่อนไขการขาย 3/10, n/45 ประมาณว่าลูกค้า 60% มารับส่วนลด
ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
ยอดขาย 50,000 90,000 120,000 300,000 180,000
50,000 x 60%
30,000 54,000 72,000 180,000 180,000
รับ 2/3 เดือนนั้น
รับ 1/3 เดือนก่อน 10,000
20,000
18,000
36,000
24,000
48,000
60,000
120,000
+
46,000รวมเงินสดรับ 66,000 144,000
หัก 3%ส่วนลด รับสุทธิ 97% 44,220 64,020 139,680
46,000*97%
46,000-3%
50,000 x 40%
20,000 36,000 48,000 120,000 72,000
10,000 18,000 24,000
ประมาณการเงินสดรับ

92,020 181,680 212,040
กลุ่มลูกค้าไม่รับส่วนลด 40%
เงื่อนไข n/45
กลุ่มลูกค้ารับส่วนลด 60%
เงื่อนไข 3/10
36,000
72,000
132,000
รับ 1/2 เดือนก่อน
รับ 1/2 ของ 2 เดือนก่อน
128,040
10,000 18,000 24,000 60,000
60,000
72,000
168,000
รวมเงินสดรับ 28,000 42,000 84,000
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 25x7 เท่ากับ 168,000 บาท
ตัวอย่างที่ 3-5 ให้คานวณประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า ระหว่าง
เดือน มิถุนายน –สิงหาคม และลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 สิงหาคม 25X7 จาก
ข้อมูลยอดขาย ดังนี้
ยอดขายจริง
เมษายน 1,000
พฤษภาคม 800
(หน่วย : พันบาท)
ประมาณการยอดขาย
มิถุนายน 500
กรกฎาคม 1,200
สิงหาคม 800
การขายสินค้าเป็นเงินสด 40% ส่วนที่เหลือครึ่งหนึ่งชาระค่าสินค้า 1
เดือนถัดไป และอีกครึ่งหนึ่งชาระค่าสินค้า 2 เดือนถัดไป ไม่มีหนี้สูญ
ตัวอย่างที่ 3-5 (ต่อ)
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ยอดขาย 1,000 800 500 1,200 800
ขายเงินเชื่อ (60%)
1/2 รับชาระ 1 เดือนถัดไป
1/2 รับชาระ 2 เดือนถัดไป
ขายเงินสด (40%)
ประมาณการเงินสดรับ
600 480 300 720 480
300
300
240
240
150
150
400 320 200 480 320
+
740 870 830
360
360
480
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 840,000 บาท
ข้อ 1 ใน sheet หน้า 15
บริษัท ตรีเพชร จากัด มีรายละเอียดข้อมูล ปี 25X6 ดังนี้
(1) ยอดขายจริง เดือน พฤษภาคม 450,000 บาท และเดือนมิถุนายน
420,000 บาท ประมาณการยอดขายเดือน กรกฎาคม 450,000
บาท สิงหาคม 550,000 บาท กันยายน 400,000 บาท และ
ตุลาคม 630,000 บาท
(2) เงื่อนไขการขาย 20% รับชาระเป็นเงินสด และรับชาระอีก 50% ของ
การขายเชื่อในเดือนถัดไป
งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 และ
ยอดลูกหนี้เดือนกันยายน 25X6
ข้อ 1 ใน sheet หน้า 15 (ต่อ)
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ยอดขาย 450,000 420,000 450,000 550,000 400,000
ขายเงินเชื่อ (80%)
รับชาระ 50% ในเดือนถัดไป
รับชาระ 50% ใน 2 เดือนถัดไป
ขายเงินสด (20%)
ประมาณการเงินสดรับ
360,000 336,000 360,000 440,000 320,000
180,000
180,000
168,000
168,000
180,000
180,000
90,000 84,000 90,000 110,000 80,000
+
438,000 458,000 480,000
220,000
220
320
ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน กันยายนเท่ากับ 540,000 บาท
ประมาณการเงินสดจ่าย
• ยอดซื้อ
• นโยบายการซื้อ
• เงื่อนไขการจ่าย
= ยอดขาย x อัตราต้นทุนขาย
= ยอดขาย x (1-อัตรากาไรขั้นต้น)
ข้อ 6 ในหนังสือหน้า 103
ข้อมูลของบริษัท ก่อเกียรติ จากัด ปี 25X5 - 25X6
ยอดขายจริง25X5 ประมาณการยอดขาย25X6
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
50,000
60,000
45,000
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
90,000
30,000
60,000
45,000
อัตรากาไรขั้นต้น 30% การซื้อเป็นซื้อเชื่อทั้งหมด นโยบายการจัดซื้อจะซื้อล่วงหน้า 1
เดือน ไม่มีสินค้าเพื่อความปลอดภัย
จงทาประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า ระหว่างเดือน มกราคม – มีนาคม
โดยมีเงื่อนไขการซื้อ ดังนี้
5) 2/10, n/30 โดยบริษัทจะรับส่วนลดทุกครั้ง
ข้อ 6 ในหนังสือหน้า 103
ข้อมูลของบริษัท ก่อเกียรติ จากัด ปี 25X5 - 25X6
ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
ยอดขาย 45,000 90,000 30,000 60,000 45,000
ก. จงทาประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้าระหว่างเดือน มกราคม – มีนาคม
ยอดซื้อ (70%) 31,500 63,000 21,000 42,000 31,500
ซื้อล่วงหน้า 1 เดือน 63,000 21,000 42,000 31,500
2/10, n/30 โดยบริษัทจะรับส่วนลดทุกครั้ง
จ่าย 2/3 เดือนนั้น 42,000
21,000จ่าย 1/3 เดือนก่อน
14,000
7,000
28,000
14,000
21,000
10,500
รวมจ่าย 35,000 35,000 35,000
ประมาณการเงินสดจ่าย
-2%
24,300 24,300 24,300
ข.เจ้าหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน มีนาคม เท่ากับ ....................................บาท10,500
สรุปเงื่อนไขการขาย
• n/10 =
• n/15 =
• n/20 =
• n/30 =
• n/45 =
• n/60 =
เดือนก่อน
3
1
นเดือนนัััั
3
2

เดือนก่อน
2
1
นเดือนนัััั
2
1

เดือนก่อน
3
2
นเดือนนัััั
3
1

รับชาระจากเดือนก่อน
เดือนก่อน2ของ
2
1
เดือนก่อน
2
1

รับชาระจาก 2 เดือนก่อน
งบประมาณเงินสด
แบบฝึกหัดท้ายในหนังสือบทที่ 3 ข้อ 7
หน้า 104
7. บริษัท ตรีดาว จากัด มีรายละเอียดข้อมูล ปี 25X6 ดังนี้
1. ยอดขายจริง เดือน พฤษภาคม 200,000 บาท และเดือนมิถุนายน
200,000 บาท ประมาณการยอดขายเดือน กรกฎาคม 300,000
บาท สิงหาคม 500,000 บาท กันยายน 300,000 บาท และ
ตุลาคม 300,000 บาท
2. เงื่อนไขการขาย 20% รับชาระในเดือนที่ขาย และอีก 80% จะรับ
ชาระในเดือนถัดไป
3. การซื้อเป็นการซื้อล่วงหน้า 1 เดือนเสมอ อัตรากาไรขั้นต้น 25% และ
จะชาระหนี้ในเดือนที่ซื้อเสมอ
4. นโยบายสารองเงินสดขั้นต่าเดือนละ 10,000 บาท และการกู้ยืมจะ
กู้ยืมในต้นเดือนที่เงินสดขาดและชาระคืนในปลายเดือนที่มีเงินสด
เหลือทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี
5. ค่าใช้จ่ายเดือน กรกฎาคม 40,000 บาท (รวมค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
15,000 บาท) เดือน สิงหาคม 30,000 บาท และ กันยายน
30,000 บาท
6. ค่าเช่าอาคาร เดือนละ 5,000 บาท ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประมาณ 5%
ของยอดขายเดือนนั้น
7. ค่าเสื่อมราคา เดือนละ 5,000 บาท
8. อัตราภาษี 30%
เงินสด
ลูกหนี้
สินค้า
สินทรัพย์ถาวร(สุทธิ)
รวม
40,000
160,00
225,000
100,000
525,000
ตั๋วเงินจ่าย
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
หุ้นสามัญ
กาไรสะสม
รวม
40,000
240,000
200,000
45,000
525,000
งบแสดงฐานะการเงิน ณ 30 มิถุนายน 25X6 มีดังนี้
จงจัดทา
1. งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 และ
เงินสดปลายงวดของเดือนกันยายน 25X6
2. งบกาไรขาดทุนล่วงหน้า งวด 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 25X6
3. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 25X6
ประมาณการเงินสดรับจากการขายสินค้า
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ยอดขาย 200,000 300,000 500,000 300,000
รับ 20% เดือนที่ขาย 40,000 60,000 100,000 60,000
80% เดือนถัดไป 160,000 240,000 400,000
รวม 220,000 340,000 460,000
+
ลูกหนี้การค้า สิ้นเดือนกันยายนเท่ากับ 240,000 บาท
+ +
ประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
ยอดขาย 300,000 500,000 300,000 300,000
ต้นทุนขาย 75% 225,000 375,000 225,000 225,000
375,000 225,000 225,000เงินสดจ่าย
บริษัท ตรีดาว จากัด
งบประมาณเงินสด
ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6
รายการการดาเนินงาน
ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
220,000 340,000 460,000
375,000 225,000 225,000
เงินสดรับ
-จากการขายสินค้า
เงินสดจ่าย
- จากการซื้อสินค้า
- ค่าใช้จ่าย
- ค่าเช่าอาคาร
- ค่าใช้จ่ายอื่น
รวมเงินสดจ่าย
เงินสดเกิน(ขาด)
40,000 30,000 30,000
5,000 5,000 5,000
15,000 25,000 15,000
435,000 285,000 275,000
(215,000) 55,000 185,000
บริษัท ตรีดาว จากัด
งบประมาณเงินสด
ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6
รายการทางด้านการเงิน
เงินสดเกิน(ขาด)
บวก เงินสดต้นงวด
เงินสดที่มี
เงินสดขั้นต่า
เงินกู้(ชาระเงินกู้)
เงินสดปลายงวด
เงินกู้สะสม
ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
(215,000) 55,000 185,000
40,000
(175,000)
10,000
185,000
10,000
185,000
10,000
65,000
10,000 10,000 10,000
-
65,000
-
65,000
250,000
(190,550)
59,450
25,000
40,000
65,000
(5,550)
59,450
185,000
ข้อ 10 ใน เล่มแบบฝึกหัด หน้า 23
• บริษัท ทองหยอด จากัด มีข้อมูลดังนี้
– กิจการมีเงินสด ณ วันที่ 1 เมษายน 150,000 บาท
– มีนโยบายรักษาเงินสดขั้นต่า 50,000 บาท
– เดือนใดมีเงินสดไม่เพียงพอจะกู้ในต้นเดือนที่ขาด และจ่ายในปลายเดือนที่มี
เงินสดเหลือทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี
จงจัดทางบประมาณเงินสดระหว่างเดือนเมษายนถึงมิถุนายน 25x6
(หน่วย : บาท)
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. รวม
รายงานการดาเนินงาน
เงินสดรับจากการขาย
สินค้า
768,800 1,891,200 2,493,600
เงินสดรับค่าเช่า 50,000 50,000 50,000
เงินสดจ่ายจากการซื้อ
สินค้า
1,234,800 1,411,200 1,146,600
ค่าแรงคนงาน 100,000 100,000 100,000
ค่าใช้จ่ายการดาเนินงาน 35,000 35,000 35,000
เงินสดเกิน(ขาด)จากการ
ดาเนินงาน
(551,000) 395,000 1,262,000
บริษัท ทองหยอด จากัด
งบประมาณเงินสด
สาหรับ งวด 3 เดือน สิ้นสุด เมษายน 25X6
รายการทางด้านการเงิน
เงินสดเกิน(ขาด)
บวก เงินสดต้นงวด
เงินสดที่มี
เงินสดขั้นต่า
เงินกู้(ชาระเงินกู้)
เงินสดปลายงวด
เงินกู้สะสม
เม.ย
(551,000)
พ.ค.
395,000
มิ.ย.
1,262,000
รวม
200,000
(351,000)
50,000 50,000 50,000 50,000
401,000
50,000
401,000
50,000
445,000
-
445,000
401,000
445,000
1,707,000
(413,030)
1,293,970
-
1,106,000
200,000
1,306,000
(12,030)
1,293,970
ดอกเบี้ย =401,000x12%x3/12 = 12,030
ชาระเงินกู้ =401,000+12,030 = 413,030
บริษัท พระคุณแม่ จากัด
งบประมาณเงินสด
สาหรับ งวด 3 เดือน สิ้นสุด ก.ย.
รายการทางด้านการเงิน
เงินสดเกิน(ขาด)
บวก เงินสดต้นงวด
เงินสดที่มี
เงินสดขั้นต่า
เงินกู้(ชาระเงินกู้)
เงินสดปลายงวด
เงินกู้สะสม
ก.ค.
(30,000)
ส.ค.
(120,000)
ก.ย.
250,000
70,000
40,000
50,000 50,000 50,000
10,000
50,000
10,000
50,000
(70,000)
120,000
50,000
130,000
50,000
300,000
(132,700)
167,300
-
ข้อ 8 ใน เล่มแบบฝึกหัด
หน้า 22
10,000x12%x = 300
12
3
120,000x12%x = 2,400
12
2
130,000+2700= 132,700
ข้อ 9 ใน เล่มแบบฝึกหัด หน้า 23
รายการทางด้านการเงิน
เงินสดเกิน(ขาด)
บวก เงินสดต้นงวด
เงินสดที่มี
เงินสดขั้นต่า
เงินกู้(ชาระเงินกู้)
เงินสดปลายงวด
เงินกู้สะสม
ต.ค.
(150,000)
พ.ย.
0
ธ.ค.
1,400,000
300,000
150,000
250,000 250,000 250,000
100,000
250,000
100,000
250,000
250,000
0
250,000
100,000
250,000
1,650,000
(103,750)
1,546,250
-
100,000x15%x3/12 = 3,750
ชาระเงินกู้ = 100,000+3,750 = 103,750
ดอกเบี้ย =

More Related Content

What's hot

1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
Teetut Tresirichod
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
Somporn Amornwech
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
tumetr1
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 

What's hot (20)

1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 

Similar to การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน

Money
MoneyMoney
Money
UsableLabs
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
reraisararat
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
กำหนดการเชิงเส้น 2
กำหนดการเชิงเส้น 2กำหนดการเชิงเส้น 2
กำหนดการเชิงเส้น 2
neeranuch wongkom
 

Similar to การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน (11)

Money
MoneyMoney
Money
 
Sm00010
Sm00010Sm00010
Sm00010
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
กำหนดการเชิงเส้น 2
กำหนดการเชิงเส้น 2กำหนดการเชิงเส้น 2
กำหนดการเชิงเส้น 2
 

More from tumetr1

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
tumetr1
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
tumetr1
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
tumetr1
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
tumetr1
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
tumetr1
 
routing
routingrouting
routing
tumetr1
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
tumetr1
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
tumetr1
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
tumetr1
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
tumetr1
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
tumetr1
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
tumetr1
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
tumetr1
 

More from tumetr1 (20)

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
 
routing
routingrouting
routing
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน

  • 2. การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน • การพยากรณ์ทางการเงิน 1. วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย (The Percentage of Sales Method) 2. วิธีถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Method) • งบประมาณเงินสด 1. การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า 2. การประมาณการกระแสเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า 3. การจัดทางบประมาณเงินสด
  • 3. การพยากรณ์ทางเงิน • การพยากรณ์เป็นจุดเริ่มต้นของงานด้านการวางแผน เป็นการใช้ เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ รวมถึงสถิติและข้อมูลในอดีต เพื่อ คาดคะเนรายการทางการเงินที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต และนา ข้อมูลที่ได้รับไปใช้ในการวางแผนเพื่อการดาเนินงานในอนาคต • วิธีการพยากรณ์ทางการเงิน – วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย (The Percentage of Sales Method) – วิธีถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Method)
  • 4. วิธีอัตราร้อยละของยอดขาย (The Percentage of Sales Method) • เป็นวิธีที่ใช้กันโดยทั่วไปสาหรับการพยากรณ์ทางการเงิน โดยมี สมมติฐานสาคัญ 2 ประการ ได้แก่ – รายการทางการเงินส่วนใหญ่ โดยเฉพาะรายการที่ปรากฏในงบดุลมี ความสัมพันธ์โดย ตรงกับยอดขายในปีนั้น – ระดับของสินทรัพย์ต่างๆ ที่มีอยู่ในงบดุลของปีปัจจุบันถือว่าเป็นระดับที่ เหมาะสมแล้วกับยอดขายของปีปัจจุบัน
  • 5. ขั้นตอนของการคานวณ 1. รายการทางด้านสินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ – สินทรัพย์หมุนเวียนที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานทุกรายการ – สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนจะนามาเทียบเป็นอัตราร้อยละเมื่อพิจารณาแล้วว่า จาเป็นจะต้องมีการลงทุนเพิ่มในปีถัดไป แต่ถ้าสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนใน ปัจจุบันมีมากพอสาหรับยอดขายที่เพิ่มขึ้นในปีถัดไป แสดงว่าไม่ต้องลงทุน เพิ่ม รายการนั้นก็ไม่จาเป็นต้องหาอัตราร้อยละของยอดขาย 2. รายการเงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ – เงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติจะเกิดขึ้นตามการดาเนินงานปกติ แหล่งของ เงินทุนประเภทนี้ เรียกว่า Spontaneous Liabilities จะอยู่ในรูปของ เจ้าหนี้การค้า และค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เท่านั้น
  • 6. ขั้นตอนของการคานวณ 3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย - 4. ยอดขายส่วนเพิ่ม 5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x 6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) - เงินปันผล 7. แหล่งเงินทุนภายนอก ซึ่งจัดหาได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้หนี้สิน ระยะยาว ตั๋วเงินจ่าย การจาหน่ายหุ้นกู้ หุ้นสามัญ เป็นต้น จะเป็นไปตาม นโยบายการบริหารทางการเงินของกิจการนั้นๆ ใช้ปีพยากรณ์
  • 7. ตัวอย่างที่ 3-1 (หน้า 73) ข้อมูลของ บริษัท เพชรสีชมพู จากัด มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ปี 25X6 มียอดขายสินค้า 10,000,000 บาท และคาดว่า ปี 25X7 ยอดขายจะเพิ่มขึ้นเป็น 12,000,000 บาท 2. อัตรากาไรสุทธิหลังภาษีเท่ากับ 4% และนโยบายการจ่ายเงินปันผล อัตรา 40% 3. ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่
  • 8. บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 100,000 200,000 500,000 1,700,000 2,500,000 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 100,000 50,000 150,000 2,000,000 200,000 2,500,000 ให้คานวณ 1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7 2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม จานวนเท่าใด และ จัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการจัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การ ออกตั๋วเงินจ่าย
  • 9. บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือ หุ้น เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 100,000 200,000 500,000 1,700,000 2,500,000 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 100,000 50,000 150,000 2,000,000 200,000 2,500,000 ร้อยละ ร้อยละ ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท 1% 2% 5% ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่ 17% 25% 1% 0.5% 1.5%
  • 10. ขั้นตอนของการคานวณ 1. รายการทางด้านสินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ 2. รายการเงินทุนเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ 3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย - 4. ยอดขายส่วนเพิ่ม 5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x 1%+ 2%+ 5% + 17% = 25% 1%+ 0.5% = 1.5% 25% - 1.5% = 23.5% 12,000,000-10,000,000 = 2,000,000 บาท 2,000,000 x 23.5% = 470,000 บาท
  • 11. ขั้นตอนของการคานวณ 6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล 7. แหล่งเงินทุนภายนอก = (12,000,000 x 4%) – 40% = (12,000,000 x 4%) x 60% = 288,000 บาท = 470,000 - 288,000 = 182,000 บาท ออกตั๋วเงินจ่าย ใช้ปีพยากรณ์
  • 12. สรุปขั้นตอนการพยากรณ์ทางการเงิน 1. สินทรัพย์เทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ – เครื่องจักรเต็มกาลังการผลิต คิด – เครื่องจักรไม่เต็ม ไม่คิด 2. เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเทียบกับยอดขายเป็นอัตราร้อยละ 3. อัตราร้อยละของเงินทุนที่ต้องการเพิ่มต่อยอดขาย - 4. ยอดขายส่วนเพิ่ม 5. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม x 6. แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล กาไรสะสม = (ยอดขาย*อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล 7. แหล่งเงินทุนภายนอก -
  • 13. สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 100,000 200,000 500,000 1,700,000 2,500,000 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 100,000 50,000 150,000 2,000,000 200,000 2,500,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X6 ให้คานวณ 1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7 2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม จานวนเท่าใด และ จัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการจัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การ ออกตั๋วเงินจ่าย ตัวอย่างที่ 3-1
  • 14. สินทรัพย์ ปี 25x6 สินทรัพย์ ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 100,000 200,000 500,000 1,700,000 2,500,000 120,000 240,000 600,000 2,040,000 3,000,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ร้อยละ ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท 1% 2% 5% ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตเต็มที่ 17% ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 500,000 บาท ตัวอย่างที่ 3-1
  • 15. หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x6 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x7 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 100,000 50,000 150,000 2,000,000 200,000 2,500,000 120,000 60,000 150,000 2,000,000 488,000 2,818,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ร้อยละ ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท 1% 0.5% ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท + 288,000 เพิ่มขึ้น 318,000 เงินทุนเพิ่ม 30,000 บาท ตัวอย่างที่ 3-1
  • 16. กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล กาไรสุทธิ = ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ เงินปันผล = กาไรสุทธิ x อัตราการจ่ายเงินปันผล กาไรสะสม แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล = 12,000,000 x 4% = 480,000 บาท ใช้ปีพยากรณ์ = 480,000 x 40% = 192,000 บาท = 288,000 บาท = 480,000– 192,000 ตัวอย่างที่ 3-1
  • 17. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม สินทรัพย์เพิ่ม 500,000 บาท เงินทุนเพิ่มอัตโนมัติ 30,000 บาท เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม 470,000 บาท แหล่งเงินทุนภายใน กาไรสะสม 288,000 บาท แหล่งเงินทุนภายนอก ออกตั๋วเงินจ่าย 470,000 – 288,000 =182,000 บาท แหล่งเงินทุนภายนอก ตัวอย่างที่ 3-1
  • 18. หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x7 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x7 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 120,000 60,000 150,000 2,000,000 488,000 2,818,000 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ตั๋วเงินจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 120,000 60,000 182,000 150,000 2,000,000 488,000 3,000,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x6 ตัวอย่างที่ 3-1
  • 20. จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 3-1 ถ้าปัจจุบันเครื่องจักรใช้งานเพียง 50%ของ กาลังการผลิต ให้คานวณ 1. พยากรณ์รายการทางการเงินของปี 25X7 2. บริษัทเพชรสีชมพูต้องการเงินทุนเพิ่มหรือไม่ ถ้าต้องการเพิ่ม จานวนเท่าใดและจัดหาจากแหล่งใดบ้าง ถ้านโยบายของบริษัทการ จัดหาเงินทุนจากภายนอกใช้การออกตั๋วเงินจ่าย ตัวอย่างที่ 3-2 (หน้า 76)
  • 21. สินทรัพย์ ปี 25x6 สินทรัพย์ ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 100,000 200,000 500,000 1,700,000 2,500,000 120,000 240,000 600,000 1,700,000 2,660,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ร้อยละ ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท 1% 2% 5% ปัจจุบันเครื่องจักรที่ใช้อยู่กาลังการผลิตไม่เต็มกาลังผลิต ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 160,000 บาท ตัวอย่างที่ 3-2
  • 22. หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x6 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x7 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 100,000 50,000 150,000 2,000,000 200,000 2,500,000 120,000 60,000 150,000 2,000,000 488,000 2,818,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ร้อยละ ยอดขายปี 25x6 เท่ากับ 10,000,000 บาท 1% 0.5% ยอดขายปี 25x7 เท่ากับ 12,000,000 บาท + 288,000 เพิ่มขึ้น 318,000 เงินทุนเพิ่ม 30,000 บาท ตัวอย่างที่ 3-2
  • 23. กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล กาไรสุทธิ = ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ เงินปันผล = กาไรสุทธิ x อัตราการจ่ายเงินปันผล กาไรสะสม แหล่งเงินทุนภายใน มาจากกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นหลังการจ่ายเงินปันผล = 12,000,000 x 4% = 480,000 บาท ใช้ปีพยากรณ์ = 480,000 x 40% = 192,000 บาท =288,000 = 480,000– 192,000 ตัวอย่างที่ 3-2
  • 24. เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม สินทรัพย์เพิ่ม 160,000 บาท เงินทุนเพิ่มอัตโนมัติ 30,000 บาท เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม 130,000 บาท แหล่งเงินทุนภายใน กาไรสะสม 288,000 บาท บริษัทมีกาไรสะสมที่เพิ่มขึ้นมากพอที่จะนาไปใช้ในส่วนที่ต้องการเพิ่ม และยังคง มี กาไรสะสมเหลือเพิ่ม 288,000 – 130,000 = 158,000 บาท ในรูปของ เงินสด หรือ นาเงินส่วนเพิ่มไปลงทุนระยะสั้นก็ได้ แหล่งเงินทุนภายนอก ตัวอย่างที่ 3-2
  • 25. สินทรัพย์ ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) สินทรัพย์ ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 120,000 240,000 600,000 1,700,000 2,660,000 เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 120,000 158,000 240,000 600,000 1,700,000 2,818,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ตัวอย่างที่ 3-2
  • 26. สินทรัพย์ ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ปี 25x7 (ปีพยากรณ์) เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เครื่องจักร(สุทธิ) รวม 120,000 158,000 240,000 600,000 1,700,000 2,818,000 เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หุ้นกู้ หุ้นสามัญ กาไรสะสม รวม 120,000 60,000 150,000 2,000,000 488,000 2,818,000 บริษัท เพชรสีชมพู จากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ตัวอย่างที่ 3-2
  • 27. โจทย์จากแบบฝึกหัด ข้อ 1 หน้า 15 1. ข้อมูลของบริษัท ร่วมแรงร่วมใจ จากัด มีรายละเอียด ดังนี้ สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000 ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000 สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000 เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000 กาไรสะสม 50,000 รวม 1,700,000 รวม 1,700,000
  • 28. ปี 25x1 บริษัทมียอดขาย 10,000,000 บาท คาดว่ายอดขายปี 25x2 จะเพิ่มขึ้น 10 % บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผล 70 % ของกาไรที่หาได้ อัตรา กาไรสุทธิต่อยอดขายของบริษัท ปี 25x1 เท่ากับ 7% คาดว่าจะลดลงเหลือ 5% ในปี 25x2 ปัจจุบันเครื่องจักรมีการใช้งานเพียง 50 % อยากทราบว่า 1. ปี 25x2 บริษัทต้องการเงินทุนเพิ่มจานวนเท่าไร 2. ปี 25x2 บริษัทต้องจัดหาเงินจากแหล่งภายนอกหรือไม่ เป็นจานวนเท่าไร 3. หากปัจจุบันเครื่องจักรมีการใช้งานเต็มกาลังการผลิต บริษัทต้องการเงินทุน เพิ่มจานวนเท่าไร และต้องจัดหาเงินจากแหล่งภายนอกหรือไม่ หากต้อง จัดหาเงินทุนจากแหล่งภายนอกบริษัทมีนโยบายออกตั๋วเงินจ่ายต้องจัดหา เพิ่มเท่าไร นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายลงทุนในสินค้าเพิ่ม 4. จัดทางบแสดงฐานะการเงินล่วงหน้าปี 25x2
  • 29. กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50% สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000 ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000 สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000 เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000 เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000 กาไรสะสม 50,000 รวม 1,700,000 รวม 1,700,000 ยอดขายปี 25x2 เท่ากับ 10,000,000 บาท
  • 30. กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50% • ใช้วิธีร้อยละเทียบกับยอดขาย ❶ รายการสินทรัพย์เทียบกับยอดขาย ❷ รายการเงินทุนอัตโนมัติ (เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่าย) เทียบกับยอดขาย ❸ร้อยละของเงินทุนที่ต้องการ ❶ - ❷ ❹ ยอดขายส่วนเพิ่ม ❺ เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม ❸ x ❹ 2%+ 2%+ 3% = 7% 2%+ 0.5% = 2.5% 7%-2.5% = 4.5% 10,000,000 x 10% =1,000,000 1,000,000 x 4.5% =45,000
  • 31. กรณีเครื่องจักรใช้งานเพียง 50% ❻ แหล่งเงินทุนภายใน กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล = (ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล ❼ แหล่งเงินทุนภายนอก ไม่ต้องจัดหาเพราะมีเงินทุนมากพอเหลือ ลงทุนในสินค้าคงเหลือ = 165,000-45,000 = 120,000 บาท = (11,000,000 x 5%) – 70% = (11,000,000 x 5%) x 30% = 165,000
  • 32. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 220,000 เจ้าหนี้การค้า 220,000 ลูกหนี้การค้า 220,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000 สินค้าคงเหลือ 450,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 55,000 เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 หนี้สินระยะยาว 600,000 หุ้นสามัญ 700,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000 กาไรสะสม 215,000 รวม 1,890,000 รวม 1,890,000 บริษัทมีนโยบาย ลงทุนในสินค้าเพิ่ม
  • 33. กรณี เครื่องจักรมีการใช้งานเต็มกาลังการผลิต สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 200,000 เจ้าหนี้การค้า 200,000 ลูกหนี้การค้า 200,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000 สินค้าคงเหลือ 300,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 50,000 เครื่องจักร 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม 100,000 หุ้นสามัญ 700,000 เครื่องจักรสุทธิ 1,000,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000 กาไรสะสม 50,000 รวม 1,700,000 รวม 1,700,000 ยอดขายปี 25x2 เท่ากับ 10,000,000 บาท
  • 34. กรณีเครื่องจักรใช้งานเต็มกาลังการผลิต • ใช้วิธีร้อยละเทียบกับยอดขาย ❶ รายการสินทรัพย์เทียบกับยอดขาย ❷ รายการเงินทุนอัตโนมัติ (เจ้าหนี้การค้าและค่าใช้จ่ายค้างจ่าย) เทียบกับยอดขาย ❸ร้อยละของเงินทุนที่ต้องการ ❶ - ❷ ❹ ยอดขายส่วนเพิ่ม ❺ เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม ❸ x ❹ 2%+ 2%+ 3%+10% = 17% 2%+ 0.5% = 2.5% 17%-2.5% = 14.5% 10,000,000 x 10% =1,000,000 1,000,000 x 14.5% =145,000
  • 35. กรณีเครื่องจักรใช้งานเต็มกาลังการผลิต ❻ แหล่งเงินทุนภายใน กาไรสะสม = กาไรสุทธิ – เงินปันผล = (ยอดขาย x อัตรากาไรสุทธิ) – เงินปันผล ❼ แหล่งเงินทุนภายนอก ไม่ต้องจัดหาเพราะมีเงินทุนมากพอเหลือ ลงทุนในสินค้าคงเหลือ = 165,000-145,000 = 20,000 บาท = (11,000,000 x 5%) – 70% = (11,000,000 x 5%) x 30% = 165,000
  • 36. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินสด 220,000 เจ้าหนี้การค้า 220,000 ลูกหนี้การค้า 220,000 ตั๋วเงินจ่าย 50,000 สินค้าคงเหลือ 350,000 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 55,000 เครื่องจักรสุทธิ 1,100,000 หนี้สินระยะยาว 600,000 หุ้นสามัญ 700,000 ส่วนเงินมูลค่าหุ้น 50,000 กาไรสะสม 215,000 รวม 1,890,000 รวม 1,890,000 บริษัทมีนโยบาย ลงทุนในสินค้าเพิ่ม
  • 37. งบประมาณเงินสด • แผนระยะสั้น ช่วงเวลา 1 ปี หรือน้อยกว่านั้น • เครื่องมือควบคุมเงินสด เป็นการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ผลการดาเนินงานตามแผนงาน กับผลการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริง • การจัดทางบประมาณเงินสดเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า 2. การประมาณการกระแสเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า 3. การจัดทางบประมาณเงินสด
  • 39. การประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า และลูกหนี้การค้า • การดาเนินงานของธุรกิจโดยทั่วไป การขายสินค้าจะมีทั้งการขายสินค้า ที่เป็นเงินสด และการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อโดยให้เครดิตทางการค้า การขายที่เป็นเงินสดจะได้รับเงินในทันที แต่การให้เครดิตการค้า ลูกหนี้จะนาเงินมาชาระภายหลังซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขการชาระหนี้ ดังนั้น กระแสเงินสดรับจากการขายสินค้าในแต่ละเดือน จึงไม่เท่ากับ ยอดขายในเดือนนั้น จาเป็นต้องประมาณการกระแส เงินสดรับในแต่ ละเดือน โดยพิจารณาจาก เงื่อนไขการชาระหนี้ และประมาณการ ยอดขาย
  • 40. ตัวอย่างที่ 3- 4 ในหนังสือ หน้า 83 (Sheet เพิ่มเติม) ข้อมูลปี 25X7 ของ บริษัท ตะวันแดง จากัด มีรายละเอียดต่อไปนี้ (หน่วย : พันบาท) ยอดขายจริง ประมาณการยอดขาย มีนาคม 600 มิถุนายน 1,200 เมษายน 900 กรกฎาคม 1,800 พฤษภาคม 1,500 สิงหาคม 1,500 กาหนดให้ ยอดขายทั้งหมดเป็นขายเชื่อ ไม่มีหนี้สูญและลูกค้าชาระ เงินตรงตามเงื่อนไข การขายสินค้ามีการกระจายตลอดเดือน และ 1 เดือน มี 30 วัน
  • 41. ตัวอย่างที่ 3- 4(ต่อ) ให้ทา คานวณการประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม และยอดลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคม โดยมีเงื่อนไขของการขาย 6 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 n/10 กรณีที่ 2 n/15 กรณีที่ 3 n/20 กรณีที่ 4 n/ 30 กรณีที่ 5 n/45 กรณีที่ 6 2/10, n/30 โดยมีลูกค้าขอรับส่วนลด 60%
  • 42. กรณีที่ 1 n/10 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500 n/10 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 10 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 10 1 เดือน มี 30 วัน 10 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 20/30 รับ 2/3 เดือนนั้น 1,000 500 3 2 5001 , 3 1 5001 , 800 400 1,200 600 1,000 500รับ 1/3 เดือนก่อน ประมาณการเงินสดรับ 1,300 1,600 1,600 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 500,000 บาท (หน่วย : พันบาท) + + +
  • 43. กรณีที่ 2 n/15 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500 n/15 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 15 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 15 1 เดือน มี 30 วัน 15 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 15/30 รับ 1/2 เดือนนั้น 750 750 2 1 5001 , 2 1 5001 , 600 600 900 900 750 750รับ 1/2 เดือนก่อน ประมาณการเงินสดรับ 1,350 1,500 1,650 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 750,000 บาท (หน่วย : พันบาท) + + +
  • 44. กรณีที่ 3 n/20 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500 n/20 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 20 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 20 1 เดือน มี 30 วัน 20 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับ 10/30 รับ 1/3 เดือนนั้น 500 1,000 3 1 5001 , 3 2 5001 , 400 800 600 1,200 500 1,000รับ 2/3 เดือนก่อน ประมาณการเงินสดรับ 1,400 1,400 1,700 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 1,000,000 บาท (หน่วย : พันบาท) + + +
  • 45. กรณีที่ 4 n/30 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500 n/30 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 30 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 30 ดังนั้นจะลูกค้าจะชาระเดือนถัดไปทั้งจานวน ยอดเงินสดรับจะมาจากยอดขายเดือนก่อน 1,500ประมาณการเงินสดรับ 1,500 1,200 1,800 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 1,500,000 บาท (หน่วย : พันบาท)
  • 46. กรณีที่ 5 n/45 เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 900 1,500 1,200 1,800 1,500 n/45 หมายถึง ลูกค้าชาระค่าสินค้าภายใน 45 วัน ลูกค้าชาระวันที่ 45 1 เดือน มี 30 วัน 45 วันไม่ได้รับจากการขาย ดังนั้นจะได้รับในเดือนถัดไป 15/30 รับ 1/2 เดือนก่อน 450 450 2 1 900 2 1 900 750 750 600 600 900 900รับ 1/2 ของ 2 เดือนก่อน ประมาณการเงินสดรับ 1,200 1,350 1,500 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 2,400,000 บาท (หน่วย : พันบาท) + + + 1,500
  • 47. กรณีที่ 6 2/10, n/30 โดยมีลูกค้าขอรับส่วนลด 60% พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย (บาท) 1,500 1,200 1,800 1,500 (หน่วย : พันบาท) 1,500 x 60% 900 720 1,080 900 รับ 2/3 เดือนนั้น รับ 1/3 เดือนก่อน 300 600 240 480 360 720 300 600+ 780รวมเงินสดรับ 960 960 หัก 2%ส่วนลด รับสุทธิ 98% 764.4 940.8 940.8 780*98% 780-2% 1,500 x 40% 600 480 720 600 รับจากเดือนก่อน 600 480 720 600 ประมาณการเงินสดรับ   1,364.4 1,420.8 1,660.8 กลุ่มลูกค้าไม่รับส่วนลด 40% เงื่อนไข n/30 กลุ่มลูกค้ารับส่วนลด 60% เงื่อนไข 2/10
  • 48. แบบฝึกหัดข้อ 4 หน้า 20 ข้อ 4 บริษัทเรือนไทยจากัด มีข้อมูลปี 25x7 ดังนี้ (หน่วย : หน่วย) ยอดขายจริง ประมาณการยอดขาย กุมภาพันธ์ 50,000 เมษายน 120,000 มีนาคม 90,000 พฤษภาคม 300,000 มิถุนายน 180,000 กรกฎาคม 210,000 ยอดขายเป็นยอดขายเชื่อทั้งหมด ราคาขายหน่วยละ 10 บาท เงื่อนไขการขาย 3/10, n/45 ประมาณว่าลูกค้า 60% มารับส่วนลด
  • 49. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ยอดขาย 50,000 90,000 120,000 300,000 180,000 50,000 x 60% 30,000 54,000 72,000 180,000 180,000 รับ 2/3 เดือนนั้น รับ 1/3 เดือนก่อน 10,000 20,000 18,000 36,000 24,000 48,000 60,000 120,000 + 46,000รวมเงินสดรับ 66,000 144,000 หัก 3%ส่วนลด รับสุทธิ 97% 44,220 64,020 139,680 46,000*97% 46,000-3% 50,000 x 40% 20,000 36,000 48,000 120,000 72,000 10,000 18,000 24,000 ประมาณการเงินสดรับ  92,020 181,680 212,040 กลุ่มลูกค้าไม่รับส่วนลด 40% เงื่อนไข n/45 กลุ่มลูกค้ารับส่วนลด 60% เงื่อนไข 3/10 36,000 72,000 132,000 รับ 1/2 เดือนก่อน รับ 1/2 ของ 2 เดือนก่อน 128,040 10,000 18,000 24,000 60,000 60,000 72,000 168,000 รวมเงินสดรับ 28,000 42,000 84,000 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 25x7 เท่ากับ 168,000 บาท
  • 50. ตัวอย่างที่ 3-5 ให้คานวณประมาณการกระแสเงินสดรับจากการขายสินค้า ระหว่าง เดือน มิถุนายน –สิงหาคม และลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 สิงหาคม 25X7 จาก ข้อมูลยอดขาย ดังนี้ ยอดขายจริง เมษายน 1,000 พฤษภาคม 800 (หน่วย : พันบาท) ประมาณการยอดขาย มิถุนายน 500 กรกฎาคม 1,200 สิงหาคม 800 การขายสินค้าเป็นเงินสด 40% ส่วนที่เหลือครึ่งหนึ่งชาระค่าสินค้า 1 เดือนถัดไป และอีกครึ่งหนึ่งชาระค่าสินค้า 2 เดือนถัดไป ไม่มีหนี้สูญ
  • 51. ตัวอย่างที่ 3-5 (ต่อ) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ยอดขาย 1,000 800 500 1,200 800 ขายเงินเชื่อ (60%) 1/2 รับชาระ 1 เดือนถัดไป 1/2 รับชาระ 2 เดือนถัดไป ขายเงินสด (40%) ประมาณการเงินสดรับ 600 480 300 720 480 300 300 240 240 150 150 400 320 200 480 320 + 740 870 830 360 360 480 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน สิงหาคมเท่ากับ 840,000 บาท
  • 52. ข้อ 1 ใน sheet หน้า 15 บริษัท ตรีเพชร จากัด มีรายละเอียดข้อมูล ปี 25X6 ดังนี้ (1) ยอดขายจริง เดือน พฤษภาคม 450,000 บาท และเดือนมิถุนายน 420,000 บาท ประมาณการยอดขายเดือน กรกฎาคม 450,000 บาท สิงหาคม 550,000 บาท กันยายน 400,000 บาท และ ตุลาคม 630,000 บาท (2) เงื่อนไขการขาย 20% รับชาระเป็นเงินสด และรับชาระอีก 50% ของ การขายเชื่อในเดือนถัดไป งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 และ ยอดลูกหนี้เดือนกันยายน 25X6
  • 53. ข้อ 1 ใน sheet หน้า 15 (ต่อ) พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ยอดขาย 450,000 420,000 450,000 550,000 400,000 ขายเงินเชื่อ (80%) รับชาระ 50% ในเดือนถัดไป รับชาระ 50% ใน 2 เดือนถัดไป ขายเงินสด (20%) ประมาณการเงินสดรับ 360,000 336,000 360,000 440,000 320,000 180,000 180,000 168,000 168,000 180,000 180,000 90,000 84,000 90,000 110,000 80,000 + 438,000 458,000 480,000 220,000 220 320 ลูกหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน กันยายนเท่ากับ 540,000 บาท
  • 54. ประมาณการเงินสดจ่าย • ยอดซื้อ • นโยบายการซื้อ • เงื่อนไขการจ่าย = ยอดขาย x อัตราต้นทุนขาย = ยอดขาย x (1-อัตรากาไรขั้นต้น)
  • 55. ข้อ 6 ในหนังสือหน้า 103 ข้อมูลของบริษัท ก่อเกียรติ จากัด ปี 25X5 - 25X6 ยอดขายจริง25X5 ประมาณการยอดขาย25X6 ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 50,000 60,000 45,000 มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน 90,000 30,000 60,000 45,000 อัตรากาไรขั้นต้น 30% การซื้อเป็นซื้อเชื่อทั้งหมด นโยบายการจัดซื้อจะซื้อล่วงหน้า 1 เดือน ไม่มีสินค้าเพื่อความปลอดภัย จงทาประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า ระหว่างเดือน มกราคม – มีนาคม โดยมีเงื่อนไขการซื้อ ดังนี้ 5) 2/10, n/30 โดยบริษัทจะรับส่วนลดทุกครั้ง
  • 56. ข้อ 6 ในหนังสือหน้า 103 ข้อมูลของบริษัท ก่อเกียรติ จากัด ปี 25X5 - 25X6 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ยอดขาย 45,000 90,000 30,000 60,000 45,000 ก. จงทาประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้าระหว่างเดือน มกราคม – มีนาคม ยอดซื้อ (70%) 31,500 63,000 21,000 42,000 31,500 ซื้อล่วงหน้า 1 เดือน 63,000 21,000 42,000 31,500 2/10, n/30 โดยบริษัทจะรับส่วนลดทุกครั้ง จ่าย 2/3 เดือนนั้น 42,000 21,000จ่าย 1/3 เดือนก่อน 14,000 7,000 28,000 14,000 21,000 10,500 รวมจ่าย 35,000 35,000 35,000 ประมาณการเงินสดจ่าย -2% 24,300 24,300 24,300 ข.เจ้าหนี้การค้า ณ สิ้นเดือน มีนาคม เท่ากับ ....................................บาท10,500
  • 57. สรุปเงื่อนไขการขาย • n/10 = • n/15 = • n/20 = • n/30 = • n/45 = • n/60 = เดือนก่อน 3 1 นเดือนนัััั 3 2  เดือนก่อน 2 1 นเดือนนัััั 2 1  เดือนก่อน 3 2 นเดือนนัััั 3 1  รับชาระจากเดือนก่อน เดือนก่อน2ของ 2 1 เดือนก่อน 2 1  รับชาระจาก 2 เดือนก่อน
  • 59. 7. บริษัท ตรีดาว จากัด มีรายละเอียดข้อมูล ปี 25X6 ดังนี้ 1. ยอดขายจริง เดือน พฤษภาคม 200,000 บาท และเดือนมิถุนายน 200,000 บาท ประมาณการยอดขายเดือน กรกฎาคม 300,000 บาท สิงหาคม 500,000 บาท กันยายน 300,000 บาท และ ตุลาคม 300,000 บาท 2. เงื่อนไขการขาย 20% รับชาระในเดือนที่ขาย และอีก 80% จะรับ ชาระในเดือนถัดไป 3. การซื้อเป็นการซื้อล่วงหน้า 1 เดือนเสมอ อัตรากาไรขั้นต้น 25% และ จะชาระหนี้ในเดือนที่ซื้อเสมอ
  • 60. 4. นโยบายสารองเงินสดขั้นต่าเดือนละ 10,000 บาท และการกู้ยืมจะ กู้ยืมในต้นเดือนที่เงินสดขาดและชาระคืนในปลายเดือนที่มีเงินสด เหลือทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี 5. ค่าใช้จ่ายเดือน กรกฎาคม 40,000 บาท (รวมค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 15,000 บาท) เดือน สิงหาคม 30,000 บาท และ กันยายน 30,000 บาท 6. ค่าเช่าอาคาร เดือนละ 5,000 บาท ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประมาณ 5% ของยอดขายเดือนนั้น 7. ค่าเสื่อมราคา เดือนละ 5,000 บาท 8. อัตราภาษี 30%
  • 62. จงจัดทา 1. งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 และ เงินสดปลายงวดของเดือนกันยายน 25X6 2. งบกาไรขาดทุนล่วงหน้า งวด 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 25X6 3. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 25X6
  • 63. ประมาณการเงินสดรับจากการขายสินค้า มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ยอดขาย 200,000 300,000 500,000 300,000 รับ 20% เดือนที่ขาย 40,000 60,000 100,000 60,000 80% เดือนถัดไป 160,000 240,000 400,000 รวม 220,000 340,000 460,000 + ลูกหนี้การค้า สิ้นเดือนกันยายนเท่ากับ 240,000 บาท + +
  • 64. ประมาณการเงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้า ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ยอดขาย 300,000 500,000 300,000 300,000 ต้นทุนขาย 75% 225,000 375,000 225,000 225,000 375,000 225,000 225,000เงินสดจ่าย
  • 65. บริษัท ตรีดาว จากัด งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 รายการการดาเนินงาน ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม 220,000 340,000 460,000 375,000 225,000 225,000 เงินสดรับ -จากการขายสินค้า เงินสดจ่าย - จากการซื้อสินค้า - ค่าใช้จ่าย - ค่าเช่าอาคาร - ค่าใช้จ่ายอื่น รวมเงินสดจ่าย เงินสดเกิน(ขาด) 40,000 30,000 30,000 5,000 5,000 5,000 15,000 25,000 15,000 435,000 285,000 275,000 (215,000) 55,000 185,000
  • 66. บริษัท ตรีดาว จากัด งบประมาณเงินสด ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 25X6 รายการทางด้านการเงิน เงินสดเกิน(ขาด) บวก เงินสดต้นงวด เงินสดที่มี เงินสดขั้นต่า เงินกู้(ชาระเงินกู้) เงินสดปลายงวด เงินกู้สะสม ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม (215,000) 55,000 185,000 40,000 (175,000) 10,000 185,000 10,000 185,000 10,000 65,000 10,000 10,000 10,000 - 65,000 - 65,000 250,000 (190,550) 59,450 25,000 40,000 65,000 (5,550) 59,450 185,000
  • 67. ข้อ 10 ใน เล่มแบบฝึกหัด หน้า 23 • บริษัท ทองหยอด จากัด มีข้อมูลดังนี้ – กิจการมีเงินสด ณ วันที่ 1 เมษายน 150,000 บาท – มีนโยบายรักษาเงินสดขั้นต่า 50,000 บาท – เดือนใดมีเงินสดไม่เพียงพอจะกู้ในต้นเดือนที่ขาด และจ่ายในปลายเดือนที่มี เงินสดเหลือทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี
  • 68. จงจัดทางบประมาณเงินสดระหว่างเดือนเมษายนถึงมิถุนายน 25x6 (หน่วย : บาท) เม.ย. พ.ค. มิ.ย. รวม รายงานการดาเนินงาน เงินสดรับจากการขาย สินค้า 768,800 1,891,200 2,493,600 เงินสดรับค่าเช่า 50,000 50,000 50,000 เงินสดจ่ายจากการซื้อ สินค้า 1,234,800 1,411,200 1,146,600 ค่าแรงคนงาน 100,000 100,000 100,000 ค่าใช้จ่ายการดาเนินงาน 35,000 35,000 35,000 เงินสดเกิน(ขาด)จากการ ดาเนินงาน (551,000) 395,000 1,262,000
  • 69. บริษัท ทองหยอด จากัด งบประมาณเงินสด สาหรับ งวด 3 เดือน สิ้นสุด เมษายน 25X6 รายการทางด้านการเงิน เงินสดเกิน(ขาด) บวก เงินสดต้นงวด เงินสดที่มี เงินสดขั้นต่า เงินกู้(ชาระเงินกู้) เงินสดปลายงวด เงินกู้สะสม เม.ย (551,000) พ.ค. 395,000 มิ.ย. 1,262,000 รวม 200,000 (351,000) 50,000 50,000 50,000 50,000 401,000 50,000 401,000 50,000 445,000 - 445,000 401,000 445,000 1,707,000 (413,030) 1,293,970 - 1,106,000 200,000 1,306,000 (12,030) 1,293,970 ดอกเบี้ย =401,000x12%x3/12 = 12,030 ชาระเงินกู้ =401,000+12,030 = 413,030
  • 70. บริษัท พระคุณแม่ จากัด งบประมาณเงินสด สาหรับ งวด 3 เดือน สิ้นสุด ก.ย. รายการทางด้านการเงิน เงินสดเกิน(ขาด) บวก เงินสดต้นงวด เงินสดที่มี เงินสดขั้นต่า เงินกู้(ชาระเงินกู้) เงินสดปลายงวด เงินกู้สะสม ก.ค. (30,000) ส.ค. (120,000) ก.ย. 250,000 70,000 40,000 50,000 50,000 50,000 10,000 50,000 10,000 50,000 (70,000) 120,000 50,000 130,000 50,000 300,000 (132,700) 167,300 - ข้อ 8 ใน เล่มแบบฝึกหัด หน้า 22 10,000x12%x = 300 12 3 120,000x12%x = 2,400 12 2 130,000+2700= 132,700
  • 71. ข้อ 9 ใน เล่มแบบฝึกหัด หน้า 23 รายการทางด้านการเงิน เงินสดเกิน(ขาด) บวก เงินสดต้นงวด เงินสดที่มี เงินสดขั้นต่า เงินกู้(ชาระเงินกู้) เงินสดปลายงวด เงินกู้สะสม ต.ค. (150,000) พ.ย. 0 ธ.ค. 1,400,000 300,000 150,000 250,000 250,000 250,000 100,000 250,000 100,000 250,000 250,000 0 250,000 100,000 250,000 1,650,000 (103,750) 1,546,250 - 100,000x15%x3/12 = 3,750 ชาระเงินกู้ = 100,000+3,750 = 103,750 ดอกเบี้ย =