SlideShare a Scribd company logo
ประเภทของเครื่องปรับอากาศ
1.เครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่าง (Window Type)
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
3.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนแบบ VRV
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว (Packaged Unit)
5. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น (Water Chiller)
ประเภทของเครื่องปรับอากาศ
1.เครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่าง (Window Type)
เครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่างเป็ นการรวมตัวของคอยล์ร้อน
และคอยล์เย็นเข้าด้วยกัน ติดตั้งในช่องวงกบหน้าต่างหรือผนังที่
เตรียมไว้
1.เครื่องปรับอากาศแบบหน้าต่าง
(Window Type)
ข ้อดี - ต ้นทุนแรกเริ่มต่ำ
- ติดตั้งง่ำยและเร็ว
- ไม่เสียพื้นที่ใช ้งำนภำยในห ้อง
ข ้อเสีย - เสียงดัง
- ควำมสำมำรถในกำรส่งอำกำศ
เย็น เป็นไปในช่วงแคบกว่ำ
เครื่องปรับอำกำศชนิดอื่น
- ค่ำควำมผันผวนในอุณหภูมิ
ภำยในห ้องมีมำก
- ไม่มีควำมสวยงำม
• เครื่องปรับอำกำศแบบแยกส่วน(Split Type)กำรทำงำนแบ่งเป็น2ส่วน
• คอยล์เย็น หรือ Fancoil Unit : FCU
– ทำหน้ำที่ส่งลมเย็นสู่พื้นที่ที่ต ้องกำร
– ติดตั้งอยู่ภำยในห ้อง
• คอยล์ร ้อน หรือ Condensing Unit : CDU
– ติดตั้งอยู่ภำยนอกห ้อง ควรอยู่ในที่ระบำยอำกำศได ้สะดวก
• FCU กับ CDU ไม่ควรห่ำงกันเกิน 15 เมตร
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
คอยล์ร้อน
(Condensing Unit)
คอยล์เย็น
(Fan Coil Unit)
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
คอยล์ร้อน
(Condensing Unit)
คอยล์เย็น
(Fan Coil Unit)
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
ข้อดี - ติดตั้งใช้งานง่าย
- สะดวกต่อการติดตั้งและซ่อมบารุงรักษา
- เสียงดังน้อยกว่าแบบหน้าต่าง
- ความสามารถในการส่งอากาศเย็น เป็นไปในช่วงกว้างกว่าแบบ หน้าต่าง
ข้อเสีย - ระยะท่อระหว่างคอยล์เย็นและคอยล์ร้อนสามารถทาได้ไม่กี่เมตรเท่านั้น
- ค่าความผันผวนในอุณหภูมิภายในห้องมีมาก สาหรับระบบปรับอากาศที่
มีความเร็วแบบคงที่
- คอยล์ร้อนไม่สวยงาม
2.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (Split Type)
3.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนแบบ VRV
VRV ย่อมำจำก Variable Refrigerant Volume
• ระบบปรับอำกำศที่ใช ้น้ำยำปรับอำกำศเป็นสื่อควำมเย็น
• มีควำมสำมำรถปรับปริมำณน้ำยำทำควำมเย็นที่ส่งออกจำกตัวคอมเพรสเซอร์เข ้ำ
สู่ Fan Coil เปลี่ยนแปลงตำมควำมต ้องกำร
• ระบบนี้ใช ้พลังงำนน้อยกว่ำระบบ CRV ที่ปริมำณน้ำยำทำควำมเย็นที่ส่งออกจำก
คอมเพรสเซอร์จะมีปริมำณคงที่ตลอดเวลำ
• กำรที่ระบบ VRV สำมำรถปรับเปลี่ยนปริมำณน้ำยำทำควำมเย็นส่งผลให ้สำมำรถ
ควบคุมอุณหภูมิในพื้นที่ปรับอำกำศได ้ดีกว่ำระบบเดิม
VRV ย่อมาจาก Variable Refrigerantเป็น
• อุปกรณ์เสริมที่ทาให้ สามารถเดินท่อน้ายาแบบหรือแยกท่อ
• ทาให้ระบบนี้สามารถติดตั้ง FCU. หลายชุด กับ CDU.
เพียงตัวเดียวได้
3.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนแบบ VRV
VRV ย่อมำจำก Variable Refrigerant
• อุปกรณ์เสริมที่ทำให ้สำมำรถเดินท่อน้ำยำแบบหรือแยกท่อ
• ทำให ้ระบบนี้สำมำรถติดตั้ง FCU. หลำยชุด กับ CDU.
เพียงตัวเดียวได ้
3.เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนแบบ VRV
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว
(Packaged Unit)
เป็นเครื่องปรับอากาศที่มีโครงสร้างเหมือนเครื่องปรับอากาศ
แบบหน้าต่าง โดยประกอบด้วยแผงคอยล์เย็น คอยล์ร้อน และเครื่องอัด
สารทาความเย็น รวมอยู่ในชุดแพ็คเกจเดียวกัน ซึ่งมี 2 แบบ คือ
1. ระบายความร้อนด้วยอากาศ
(Packaged Air Cooled Air Conditioner)
2. ระบายความร้อนด้วยน้า
(Packaged Water Cooled Air Conditioner)
4.1 ชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ (Packaged Air Cooled Air Conditioner)
- โดยทั่วไป 3-30 ตันขนาด
- การส่งลมเย็นจะใช้ระบบท่อเย็น
- นิยมใช้กับอาคารประเภทคอนโดมิเนียมสานักงาน
- การใช้งานเป็นเอกเทศ ผู้ซื้อพื้นที่จึงเป็นผู้รับภาระในการลงทุนและซ่อมบารุง
- ใช้กาลังไฟประมาณ 1.4-1.7 กิโลวัตต์/ตัน
- เครื่องปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศใช้ไฟสูงกว่าชนิดระบายความ
ร้อนด้วยน้า ประมาณ 20-30%
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว
(Packaged Unit)
4.1 ชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ (Packaged Air Cooled Air Conditioner)
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว
(Packaged Unit)
4.2 ชนิดระบายความร้อนด้วยน้า (Packaged Water Cooled Air Conditioner)
- ลักษณะโดยทั่วไปเหมือน Packaged Air Cooled Air Conditioner
- นิยมใช้กับอาคารประเภทสานักงาน คอนโดมิเนียมสานักงาน
- ต้องมีพื้นที่สาหรับตั้งหอระบายความร้อน (Cooling Tower) ซึ่งต้องมีการระบาย
อากาศที่ดี
- ต้องมีการดูแลการเปิดปิดหอระบาบายความร้อน
- ใช้กาลังไฟประมาณ 1.2 กิโลวัตต์/ตัน
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว
(Packaged Unit)
4.2 ชนิดระบายความร้อนด้วยน้า (Packaged Water Cooled Air Conditioner)
4.เครื่องปรับอากาศแบบสาเร็จครบชุดในตัว
(Packaged Unit)
เป็นระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ที่มีการใช้เครื่องทาน้าเย็น และใช้น้าเย็นเป็น
ตัวกลางในการส่งผ่านความเย็นไปที่ FCU หรือ AHU อีกทอดหนึ่ง เหมาะสาหรับพื้นที่ที่
ต้องการปรับอากาศที่มีขนาดใหญ่ หรือมีห้องหลายห้อง หรือมีชั้นหลายชั้นที่ต้องการปรับ
อากาศ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
5.1. เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ
(Air Cooled Water Chiller)
5.2. เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยน้า
(Water Cooled Water Chiller)
เครื่องทาน้าเย็น (Chiller)
5. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น
(Water Chiller)
5.1 เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Water Chiller)
- ใช้กับพื้นที่ที่ต้องการความเย็นไม่มากนัก (มักไม่เกิน 500 ตัน)
- ใช้ในอาคารต้องการลดภาระการดูแลรักษา หรือใช้ในพื้นที่ที่ขาดแคลนน้า
- กินไฟมากกว่าเครื่องที่ระบายอากาศด้วยน้า
- ใช้กาลังไฟประมาณ 1.4-1.6 กิโลวัตต์/ตัน
5. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น
(Water Chiller)
5.1 เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Water Chiller)
5. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น
(Water Chiller)
5.2 เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยน้า (Water Cooled Water Chiller)
- ใช้ในกรณีโครงการใหญ่ที่มีความต้องการความเย็นมาก (มักไม่เกิน 500 ตัน)
- มีการลงทุนสูงในการติดตั้งหอระบายความร้อน (Cooling Tower)
- น้าที่ใช้ต้องเพียงพอ และมีคุณภาพเหมาะสม
- กินไฟน้อยกว่าเครื่องที่ระบายอากาศด้วยอากาศ
- ใช้กาลังไฟประมาณ 0.62-0.75 กิโลวัตต์/ตัน
5. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น
(Water Chiller)
ระบบปรับอากาศ
4. ระบบปรับอากาศที่ใช้เครื่องทานาเย็น (Water Chiller)
4.2 เครื่องทาน้าเย็นระบายความร้อนด้วยน้า (Water Cooled Water Chiller)
ตารางสรุปลักษณะการใช้งานของเครื่องปรับอากาศแบบต่างๆ
ลักษณะเครื่องปรับอากาศ ขนาดทา
ความเย็น
(ตัน)
ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย
(กิโลวัตต์ต่อตัน)
ลักษณะการใช้งาน
แบบหน้าต่าง (Window Type) 0.5-3 1.3-1.5 บ้านพักอาศัย
สานักงาน
แบบแยกส่วน (Split Type) 0.75-3.0 1.3-1.5 บ้านพักอาศัย
สานักงาน
แบบแพ็คเกจระบายความร้อนด้วย
อากาศ (Packaged Air-Cooled Air
conditioner)
3-30 1.3-1.5 คอนโดมิเนียมสานักงาน
แบบแพ็คเกจระบายความร้อนด้วยน้า
(Packaged Water-Cooled Air
conditioner)
1-50 1.2 สานักงาน
คอนโดมิเนียมสานักงาน
เครื่องทาน้าเย็นระบายชนิดความร้อน
ด้วยอากาศ (Air-Cooled Water
Chiller)
3-10
10-500
1.4-1.6 , 1.4-1.6
(ปริมาณการกินไฟทั้งระบบ)
บ้านพักอาศัย ,ศูนย์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ,
ศูนย์คอมพิวเตอร์ ,โรงแรมขนาดกลาง,ห้องส่ง
สถานีโทรทัศน์ ,โรงพยาบาลขนาดกลาง
เครื่องทาน้าเย็นชนิดระบายความร้อน
ด้วยน้า (Water-Cooled Water Chiller)
500-
10,000
0.8-1
(ปริมาณการกินไฟทั้งระบบ)
ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ,สานักงานขนาดใหญ่ ,
โรงแรม ,โรงพยาบาล ,ศูนย์คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
BTU
1 BTU คือ ปริมาณความร้อนที่เพิ่มอุณหภูมิของน้า 1 ปอนด์
(0.45 กิโลกรัม) ขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ (0.56 องศาเซลเซียส) ในเวลา 1 ชั่วโมง
British Thermal Unit
เครื่องปรับอากาศมีขนาดเป็น บีทียูต่อชั่วโมง (Btu/hr.)
12,000 บีทียู/ชั่วโมง เท่ากับ 1 ตันทาความเย็น ซึ่งจะหมายถึงว่า
ปริมาณความร้อนที่สามารถละลายน้าแข็งหนัก 1 ตันให้ละลายเป็นน้า ได้หมดใน
เวลา 1 ชั่วโมง
EER ( Energy Efficiency Ratio )
หรืออัตราส่วนประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ คือค่าที่ใช้วัด
ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานของ
ตารางเบอร์เครื่องปรับอากาศแบ่งออกตามระดับ EER
การเลือกตาแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน(Split Type)
ตาแหน่งคอนเด็นซิ่งยูนิต ( CDU )
ระบบปรับอากาศ
การเลือกตาแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน(Split Type)
ตาแหน่งคอนเด็นซิ่งยูนิต ( CDU )
1. บริเวณที่ติดตั้ง เครื่องต้องแข็งแรงสามารถรับน้าหนักและแรงสั่นสะเทือนจากการทางานได้
2.ในกรณีที่ CDU วางบนพื้น ดินต้องทาฐานรองรับเครื่องด้วยคอนกรีต
3. ติดตั้ง ในบริเวณที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกและห่างจากมุมอับ
4. บริเวณที่ติดตั้ง ต้องมีการระบายน้า ได้ดีหรือที่ที่น้า ท่วมไม่ถึง
5. การวาง CDU ควรมีลูกยางรองเพื่อลดแรงสั่นสะเทือนจากการทางานของตัวเครื่อง
6 ควรวาง CDU ให้ห่างจากพื้น ที่ใช้สอยทั่วไปเพื่อหลีกเลี่ยงจากปัญหาเรื่องเสียงรบกวน
ระบบปรับอากาศ
การเลือกตาแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน(Split Type)
ตาแหน่งคอนเด็นซิ่งยูนิต ( CDU )
7. อย่าตั้ง เครื่องชิดกับ CDU อื่นหรือผนังเพราะทาให้ระบายความร้อนยาก
8. หลีกเลี่ยงการติดตั้ง ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี เช่น มีความเป็นกรดสูง,แสงแดดแรงหรือมีน้า
หยด
9. ควรวาง CDU ในบริเวณที่สามารถเข้าไปตรวจซ่อมภายหลังได้อย่างสะดวก
ระบบปรับอากาศ
การเลือกตาแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน(Split Type)
ตาแหน่งแฟนคอยล์ยูนิต ( FCU)
ระบบปรับอากาศ
การเลือกตาแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน(Split Type)
ตาแหน่งแฟนคอยล์ยูนิต ( FCU : FAN COIL UNIT )
1. ตั้ง ในบริเวณที่สามารถกระจายลมได้ทั่วทั้ง ห้องอย่าติดตั้งเครื่องในมุมอับ
2. อย่าให้สิ่งของกีดขวางทางไหลของอากาศเพราะจะทาให้อากาศหมุนเวียนไม่สะดวก
3. บริเวณที่ติดตั้ง เครื่องต้องแข็งแรงสามารถรับน้า หนักและแรงสั่นสะเทือนจากการทางานได้
4. หลีกเลี่ยงการวาง FCU ใกล้กับประตู, หน้าต่างหรือพัดลมดูดอากาศ
5. ควรวาง FCU ในบริเวณที่สามารถตรวจซ่อมภายหลังได้อย่างสะดวก
6. อย่าตั้ง ชิดผนังที่โดนแดดจัดเพราะจะทาให้ได้รับความร้อนจากภายนอกได้ง่าย
7. พยายามติดตั้ง FCU ให้อยู่ใกล้กับ CDU จะทาให้ประสิทธิภาพสูงสุด
เครื่องปรับอากาศแบบตั้งพื้น
- ในเชิงสุขภาพและอุณหภูมิอาจจะดีที่สุด เพราะไม่มีกระแสลมพัดมาถูกตัวเรา
ให้ป่วยได้
- ความเย็นจากเครื่องตั้งพื้นก็จะทาให้เกิดความเย็นที่พื้นก่อนใช้เวลาไม่นาน
และค่อยๆ ขยายความเย็นไปสู่ที่สูง
- เครื่องตั้งพื้นนี้ ก็จะมีจุดอ่อนเกี่ยวกับการเสียพื้นที่ห้อง และการต้องวางให้ถูก
ที่ถูกทาง ห้ามเอา อะไรไปบังทางอากาศไหลกลับ (Return Air)
- บางท่านจะรู้สึกว่ามันไม่น่าดู
เครื่องปรับอากาศแบบแขวนฝ้ าเพดาน
- ลมจะพัดจากที่สูง นาความเย็นไปสู่ที่ต่าได้รวดเร็ว
- กระแสลมพัดจากเบื้องสูงจะทาให้อากาศภายในห้องเกิดอาการ "ปั่นป่วน”
- ไม่เปลืองพื้นที่ห้อง ทั้งตัวเครื่องปรับอากาศเอง และระบบลมหมุนกลับ
(Return Air)
- อากาศเย็นล้อมรอบตัวผู้ใช้ ต้องใช้เวลานานเท่ากับการทาให้ห้องเย็นทั้งห้อง
เครื่องปรับอากาศแบบติดกับผนัง
- ลมจะพัดจากที่สูง นาความเย็นไปสู่ที่ต่าได้รวดเร็ว
- กระแสลมพัดจากเบื้องสูงจะทาให้อากาศภายในห้องเกิดอาการ "ปั่นป่วน”
- ไม่เปลืองพื้นที่ห้อง ทั้งตัวเครื่องปรับอากาศเอง และระบบลมหมุนกลับ
(Return Air)
- อากาศเย็นล้อมรอบตัวผู้ใช้ ต้องใช้เวลานานเท่ากับการทาให้ห้องเย็นทั้งห้อง
- ระบบภายใน (เครื่องกล) ยุ่งยากซับซ้อนกว่าระบบตั้งพื้นและระบบแขวนฝ้า
เพดาน
ระบบปรับอากาศ
เกร็ดความรู้
ตัวคูณ(ตัวแปร) สาหรับหาขนาดเครื่องปรับอากาศโดยประมาณ
(เครื่องปรับอากาศ Split type / Window type)
700 x พท.(ตร.ม.) สาหรับห้องนอน
750 x พท.(ตร.ม.) สาหรับส่วนพักผ่อน หรือห้องนอน ที่มีแดดส่อง
800 x พท.(ตร.ม.) สาหรับห้องทางานหรือห้องนั่งเล่น ที่มีแดดส่องไม่มาก
850 x พท.(ตร.ม.) สาหรับห้องทางานที่มีแดดส่องค่อนข้างมากหรือห้องรับแขก
900 x พท.(ตร.ม.) ห้องนั่งเล่น ห้องรับแขก ที่มีแดดส่องมาก
1,000 x พท.(ตร.ม.) สาหรับบริเวณห้องที่ร้อนมากหรือมีผนังกระจกหลายด้าน
สารทาความเย็น
สารทาความเย็น
• “สำรทำควำมเย็น” หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “น้ำยำแอร์”
• คือสำรเคมีที่มีคุณสมบัติไม่มีพิษ ไม่มีกลิ่น
• จุดเดือดต่ำกว่ำสำรทั่วไป เมื่อผ่ำนกระบวนกำรอัดสำรทำควำม
เย็นให ้เป็นไอ
• ไหลเวียนภำยในระบบเครื่องปรับอำกำศและสร ้ำงควำมเย็น
สบำยให ้แก่เรำ
• ปัจจุบันสำรทำควำมเย็นที่ใช ้ในเครื่องปรับอำกำศสำหรับที่อยู่
อำศัย มีอยู่ 3 ประเภทหลักๆ ได ้แก่ R22, R410A และ R32
• ซึ่งสำรทำควำมเย็น R32 นี้ ไดกิ้นถึงเป็นผู้ผลิต
เครื่องปรับอำกำศรำยแรกของประเทศไทยและของโลกที่ริเริ่ม
พัฒนำและนำมำใช ้ไปทั่วโลก
2
2

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
Jakkrit Boonlee
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
Suphol Sutthiyutthasenee
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวBenjamart2534
 
11 กันยา 2001
11 กันยา 200111 กันยา 2001
11 กันยา 2001
Nuttaya Taveesakpoj
 
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
Preepram Laedvilai
 
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมันภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
KaewkaoArthit
 
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญหน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญธงชัย ควรคนึง
 
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
การเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนการเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนsripai52
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
Suradet Sriangkoon
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
Peepume Kaewlo
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาPhichak Penpattanakul
 
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
ibtik
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
11 กันยา 2001
11 กันยา 200111 กันยา 2001
11 กันยา 2001
 
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
 
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมันภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของโรมัน
 
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญหน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
หน่วย คำอุปสรรค เลขนัยสำคัญ
 
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูนการเขียนภาพกระจกนูน
การเขียนภาพกระจกนูน
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นน...
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
 
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
เอกสารฝึกอบรมผักไฮโดรโปนิกส์
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 

2