SlideShare a Scribd company logo
การบัญชีร่วมค้า
และ
ระบบใบสาคัญ
หน่วยที่ 2
วิธีการบัญชีร่วมค้าโดยไม่เปิด
สมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
1. หลักการบัญชีร่วมค้า
2. การบัญชีร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้า แยก
ต่างหาก กรณีการดาเนินการร่วมค้าเสร็จสิ้น
3. การบัญชีร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยก
ต่างหาก กรณีดาเนินการร่วมค้าไม่เสร็จสิ้น
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิด
สมุดบัญชีการร่วมค้าแยกต่างหากได้
2. นักศึกษาสามารถบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชี
กิจการร่วมค้าแยกต่างหากกรณีการดาเนินการร่วมค้าเสร็จสิ้นได้
3. นักศึกษาสามารถบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชี
กิจการร่วมค้าแยกต่างหากกรณีการดาเนินการร่วมค้าไม่เสร็จสิ้นได้
หลักการบันทึกบัญชีการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีตามวิธีนี้เหมาะสาหรับกิจการร่วมค้าที่มี
รายการค้าจานวนไม่มาก และมีระยะเวลาในการดาเนินงาน
ค่อนข้างสั้น ผู้ร่วมค้าแต่ละรายจะบันทึกรายการบันชีทุกรายการที่
เกิดขึ้นจากการร่วมค้าในสมุดบัญชีของตนเอง และจะมีบัญชีที่เปิด
ใหม่สาหรับวิธีนี้ คือ
1.บัญชีร่วมค้า บัญชีร่วมค้ามีลักษณะเหมือนกับบัญชีกาไร
ขาดทุนสาหรับกิจการค้าโดยทั่วไป โดยบัญชีร่วมค้าจะทาหน้าที่
เป็นบัญชีกาไรขาดทุนจากการร่วมค้า ผู้ร่วมค้าทุกคนจากบัญชี
ร่วมค้าในสมุดบัญชีของตนเองสาหรับบันทึกรายการร่วมค้า โดย
ด้านเดบิตจะบันทึกรายการลงทุน ค่าใช่จ่ายต่างๆ และรายการหัก
รายได้ส่วนด้านเครดิตจะบันทึกรายการเกี่ยวกับรายได้รายการ
หักค้าใช้จ่าย หรือ รายการหักการลงทุนกิจการร่วมค้า
บัญชีร่วมค้า
2.บัญชีผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะเปิดบัญชีร่วมค้าคน
อื่นๆ ที่ทาการร่วมค้าด้วยกันซึ่งบัญชีผู้ร่วมค้าจะมีลักษณะ
เหมือนบัญชีทุนของผู้ร่วมค้าแต่ละคน เพื่อใช้บันทึกส่วนได้
เสียของผู้ร่วมค้าแต่ละคน
บัญชีผู้ร่วมค้า
การบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้า
แยกต่างหาก สามารถบันทึกบัญชีได้2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 การบันทึกรายการบัญชีเมื่อการร่วมค้าเสร็จสิ้น
กรณีที่ 2 การบันทึกรายการบัญชีเมื่อการร่วมค้าไม่เสร็จสิ้น
1. การนาสินค้ามาลงทุน
ในกิจการร่วมค้า
1.1 ระบบการบันทึกบันทึกสินค้าเมื่อสิ้นงวด(Periodic Inventory system)
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. ซื้อ xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
นาสินค้ามาลงทุน xx
1.2 ระบบการบันทึกบันทึกสินค้าแบบต่อเนื่อง(Periotual Inventory system)
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. สินค้า xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
นามาลงทุน xx
2. ผู้ร่วมค้าส่งเงินไปให้
ผู้ร่วมค้าอีกคน
เพื่อมีไว้จ่ายค่าใช้จ่าย
ของกิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของ
ผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
รายการในสมุดบัญชีผู้ส่งเงิน
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่รับเงิน
xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
รายการในสมุดบัญชีผู้รับเงิน
Dr. บัญชีเงินสด xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ส่งเงิน
xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่รับเงิน
xx
Cr. บัญชีผู้ร่วม
ค้าที่ส่งเงิน
xx
3. การซื้อสินค้า
ของกิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของ
ผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
3.1 ซื้อสินค้าเป็นเงินสด
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ซื้อสินค้า
xx
3.2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีเจ้าหนี้ xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ซื้อสินค้า
xx
4. การจ่ายชาระ
หนี้ให้เจ้าหนี้
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
4.1จ่ายชาระเป็นเงินสด 4.2 จ่ายชาระเป็นเช็ค
Dr. บัญชีเจ้าหนี้ xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
Dr. บัญชีเจ้าหนี้ xx
Cr. บัญชีธนาคาร xx
*ไม่บันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น*
5. การขายสินค้า
ของกิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
5.1 ขายสินค้าเป็นเงินสด
5.2 ขายสินค้าเป็นเงินชื่อ
Dr. บัญชีเงินสด xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ขายสินค้า
xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
Dr. บัญชีลูกหนี้ xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ขายสินค้า
xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
6. การรับชาระ
หนี้จากลูกหนี้
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
6.1รับชาระเป็นเงินสด/เช็ค
6.2รับชาระเป็นเช็ค
นาฝากธนาคารทันที
Dr. บัญชีเงินสด xx
Cr. บัญชีลูกหนี้ xx
Dr. บัญชีธนาคาร xx
Cr. บัญชีลูกหนี้ xx
*ไม่บันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น*
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีลูกหนี้ xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีร่วมค้าที่ผู้ขาย
สินค้าหรือบัญชีผู้
ร่วมค้าที่ตัดลูกหนี้
เป็นหนี้สูญ
xx
8. การจ่ายค่าใช้จ่าย
เป็นเงินสด
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
จ่ายค่าใช้จ่าย
xx
9. ผู้ร่วมค้าโอน
บัญชีค่าใช้จ่ายของกิจการ
ตนเองไปเป็นค่าใช้จ่าย
ของกิจการร่วมค้า
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีค่าใช้จ่าย xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
จ่ายค่าใช้จ่าย
xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
10. การจ่ายเงินเดือนให้
ผู้ร่วมค้าที่เป็นผู้จัดการ
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีรายได้
เงินเดือน
xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
ได้รับเงินเดือน
xx
11. การถอนสินค้า
จากกิจการ
ร่วมค้า
11.1 ระบบการบันทึกสินค้าเมื่อสิ้นงวด(periodic lnventory system)
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
Dr. บัญชีซื้อ xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
ถอนสินค้า
xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
11.2 ระบบการบันทึกสินค้าแบบต่อเนื่อง(periodic lnventory system)
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าคนอื่น
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีสินค้า xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่ถอนสินค้า
xx
Cr. บัญชีร่วมค้า xx
12. การถอน
เงินสดจาก
กิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
รายการในสมุดบัญชีผู้ได้รับเงิน
Dr. บัญชีเงินสด xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่จ่ายเงิน
xx
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า ที่
รับเงิน
xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
รายการในสมุดบัญชีผู้จ่ายเงิน
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
รับเงิน
xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้าที่
จ่ายเงิน
xx
13. การคิดค่านายหน้า
ในการขายสินค้า
หรือ คิดดอกเบี้ย
ให้กับผู้ร่วมค้า
ที่นาเงินมาลงทุน
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีรายได้ค่า
นายหน้าหรือบัญชี
ดอกเบี้ยรับ(เฉพาะ
ส่วนตนเอง) xx
บัญชีผู้ร่วมค้าคน
อื่นๆ (ตามส่วนที่
แต่ละคนได้รับ) xx
Dr. บัญชีร่วมค้า xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
คนอื่น
xx
14. การแบ่งผล
กาไรเมื่อการค้า
ร่วมเสร็จสิ้น
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
(ยอดกาไรทั้งสิ้น)
xx
Cr. บัญชีกาไรจากการร่วมค้า
(เฉพาะส่วนตนเอง)
xx
บัญชีผู้ร่วมค้าคนอื่นๆ
(ตามส่วนที่แต่ละคนได้รับ)
xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
และ
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
15. การแบ่งผล
กาไรขาดทุนเมื่อ
การค้าร่วมเสร็จสิ้น
Dr. บัญชีขาดทุนจากการร่วมค้า
(เฉพาะส่วนของตนเอง)
xx
บัญชีผู้ร่วมค้าคนอื่น
(ตามส่วนที่แต่ละคนได้รับ)
xx
Cr. บัญชีร่วมค้า(ยอดขาดทุนทังสิ้น xx
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
และ
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
16.การจ่ายเงิน
ระหว่างกันเมื่อ
กิจการร่วมค้าเสร็จสิ้น
ผู้ร่วมค้าคนใดจะเป็นผู้จ่ายเงินหรือเป็น
ผู้รับเงิน ต้องหายอดคงเหลือบัญชีผู้ร่วมค้า
ถ้าบัญชีผู้ร่วมค้าคนใดมียอดคงเหลือด้านเดบิต
แสดงว่าเป็นผู้ที่ต้องจ่ายเงินให้ผู้ร่วมค้าคนอื่น
ถ้าบัญชีผู้ร่วมค้าคนใดมียอดคงเหลือด้านเครดิต
แสดงว่า เป็นผู้ที่จะได้รับเงิน
การบันทึกบัญชีในสมุด
บัญชีของผู้ร่วมค้าคนอื่น
การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี
ของผู้ร่วมค้าที่เกิดรายการ
Dr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่รับเงิน
xx
Cr. บัญชีเงินสด xx
Dr. บัญชีเงินสด xx
Cr. บัญชีผู้ร่วมค้า
ที่จ่ายเงิน
xx
การบันทึกบัญชีของผู้
ร่วมค้าที่จ่ายเงิน
การบันทึกบัญชีของผู้
ร่วมค้าที่รับเงิน
การบัญชีการร่วมค้า
โดยไม่เปิดสมุดบัญชี
กิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
กรณีดาเนินการร่วมค้าเสร็จสิ้น
ตัวอย่าง
นาย ก นาย ข และนาย ค ตกลงที่จะดาเนินกิจการขายสินค้าที่
ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว โดยที่ทั้งสามคนมีข้อตกลงดังต่อไปนี้
1.ให้นาย ค เป็นผู้จัดการเกี่ยวกับการร่วมค้า
2.คิดค่านายหน้าให้ผู้ร่วมค้าที่ขายสินค้าในอัตรา 10% ของ
ยอดขาย
3.คิดดอกเบี้ย 15 % ต่อปี สาหรับผู้ร่วมค้าที่นาเงินสดหรือสินค้า
มาลงทุกครั้งแรก
4.แบ่งกาไรขาดทุนในอัตราส่วนเท่าๆกัน
รายการร่วมค้าระหว่างเดือนพฤษภาคม 25xx มีดังนี้
1 นาย ก และนาย ข ส่งเงินสดไปให้นาย ค เพื่อไว้ใช้จ่ายในกิจการ
ร่วมค้าคนละ 120,000 บาท ถือเป็นการลงทุน ส่วนนาย ค นาสินค้าของตนเอง
มาลงทุนจานวน 180,000 บาท
7 นาย ค จ่ายค่าโฆษณาสินค้าเป็นเงินสดจานวน 3,000 บาท
9 นาย ค จ่ายค่ารับรองลูกค้าเป็นเงินสด จานวน 360 บาท
12. นาย ค ขายสินค้าเป็นเงินสด จานวน 105,000 บาท และจ่ายค่าขนส่ง
สินค้าให้ลูกค้า จานวน 600 บาท
15 นาย ก ขายสินค้าเป็นเงินสด จานวน 30,000 บาท และได้ส่งเงินค่าขาย
สินค้าให้นาย ค ทั้งหมด
17 นาย ข ถอนเงินจากกิจการร่วมค้า จานวน 9,000 บาท
18 นาย ค ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ จานวน 60,000 บาท
19 นาย ค ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ จานวน 120,000 บาท
21 นาย ข ขายสินค้าเป็นเงินสด จานวน 96,000 บาท และได้ส่งเงินค่าขาย
สินค้าให้นาย ค ทั้งหมด
27 นาย ค ขายสินค้าที่เหลือทั้งสิ้นเป็นเงินสด จานวน 150,000 บาท และจ่าย
ค่าขนส่งสินค้าให้ ลูกค้า จานวน 1,500 บาท
29 นาย ค ได้รับชาระเงินสดจากลูกหนี้ที่ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อเมื่อวันที่ 19
พฤษภาคม จานวน 117,000 บาท ที่เหลือจานวน 3,000 บาท เก็บเงินไม่ได้ให้ตัด
บัญชีลูกหนี้เป็นหนี้สูญ
30 นาย ค จ่ายชาระหนี้ค่าสินค้าที่ซื้อเป็นเงินเชื่อเมื่อวันที่ 18 ทั้งหมด
31 การร่วมค้าสิ้นสุดลง คิดค่านายหน้า คิดดอกเบี้ย แบ่งกาไรขาดทุนตาม
ข้อตกลง และผู้ร่วมค้าชาระเงินระหว่างกัน
(สมมติว่า กิจการร่วมค้าใช้ระบบบันทึกสินค้าแบบสิ้นงวด)
การบันทึกรายการในสมุดรายวัน
ของผู้ร่วมค้าแต่ละคน
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
25xx
พ.ค.1
นาย ก และนาย ข
ส่งเงินสดไปให้
นาย ค คนละ
120,000 บาท
นาย ค 240,000
เงินสด 120,000
นาย ข 120,000
นาย ค 240,000
เงินสด 120,000
นาย ก 120,000
เงินสด 240,000
นาย ก 120,000
นาย ข 120,000
นาย ค นาสินค้า
ของตนเองมาลง
ทุน 180,000 บาท
ร่วมค้า 180,000
นาย ค 180,000
ร่วมค้า 180,000
นาย ค 180,000
ร่วมค้า 180,000
ซื้อ 180,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
7 นาย ค จ่ายค่า
โฆษณาเป็นเงิน
สด 3,000 บาท
ร่วมค้า 3,000
นาย ค 3,000
ร่วมค้า 3,000
นาย ค 3,000
ร่วมค้า 3,000
เงินสด 3,000
9 นาย ค จ่ายค่า
รับรองลูกค้าเป็น
เงินสด 360 บาท
ร่วมค้า 360
นาย ค 360
ร่วมค้า 360
นาย ค 360
ร่วมค้า 360
เงินสด 360
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
12 นาย ค ขายสินค้า
เป็นเงินสด
105,000 บาท
นาย ค 105,000
ร่วมค้า 105,000
นาย ค 105,000
ร่วมค้า 105,000
เงินสด 105,000
ร่วมค้า 105,000
นาย ค จ่ายค่า
ขนส่งสินค้าให้
ลูกค้า 600 บาท
ร่วมค้า 600
นาย ค 600
ร่วมค้า 600
นาย ค 600
ร่วมค้า 600
เงินสด 600
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
15 นาย ก ขายสินค้า
เป็นเงินสด
30,000 บาท
เงินสด 30,000
ร่วมค้า 30,000
นาย ก 30,000
ร่วมค้า 30,000
นาย ก 30,000
ร่วมค้า 30,000
นาย ก ส่งเงินจาก
การขายสินค้าให้
นาย ค
นาย ค 30,000
เงินสด 30,000
นาย ค 30,000
นาย ก 30,000
เงินสด 30,000
นาย ก 30,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
17 นาย ข ถอนเงิน
จาก กิจการร่วมค้า
จานวน 9,000 บาท
นาย ข 9,000
นาย ค 9,000
เงินสด 9,000
นาย ค 9,000
นาย ข 9,000
เงินสด 9,000
18 นาย ค ซื้อสินค้า
เป็นเงินเชื่อจานวน
60,000 บาท
ร่วมค้า 60,000
นาย ค 60,000
ร่วมค้า 60,000
นาย ค 60,000
ร่วมค้า 60,000
เจ้าหนี้ 60,000
19 นาย ค ขายสินค้า
เป็นเงินเชื่อจานวน
120,000 บาท
นาย ค 120,000
ร่วมค้า 120,000
นาย ค 120,000
ร่วมค้า 120,000
ลูกหนี้ 120,000
ร่วมค้า 120,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
21 นาย ข ขายสินค้า
เป็นเงินสดจานวน
96,000 บาท
นาย ข 96,000
ร่วมค้า 96,000
เงินสด 96,000
ร่วมค้า 96,000
นาย ข 96,000
ร่วมค้า 96,000
นาย ข ส่งเงินจาก
การขายสินค้าให้
นาย ค
นาย ค 96,000
นาย ข 96,000
นาย ค 96,000
เงินสด 96,000
เงินสด 96,000
นาย ข 96,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
27 นาย ค ขายสินค้าเป็น
เงินสดจานวน
150,000 บาท
นาย ค 150,000
ร่วมค้า 150,000
นาย ค 150,000
ร่วมค้า 150,000
เงินสด 150,000
ร่วมค้า 150,000
นาย ค จ่ายค่าขนส่ง
สินค้า ให้ลูกค้าจานวน
1,500บาท
ร่วมค้า 1,500
นาย ค 1,500
ร่วมค้า 1,500
นาย ค 1,500
ร่วมค้า 1,500
เงินสด 1,500
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
29 นาย ค ได้รับชาระ
หนี้จากลูกหนี้เป็น
เงินสด จานวน
117,000 บาท
ไม่บันทึกบัญชี ไม่บันทึกบัญชี
เงินสด 117,000
ลูกหนี้ 117,000
ลูกหนี้ที่เหลือ 3,000
บาท เก็บเงินไม่ได้
ให้ตัดเป็นหนี้สูญ
ร่วมค้า 3,000
นาย ค 3,000
ร่วมค้า 3,000
นาย ค 3,000
ร่วมค้า 3,000
ลูกหนี้ 3,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
30 นาย ค จ่ายชาระ
หนี้ค่าสินค้า
จานวน 60,000
บาท
ไม่บันทึกบัญชี ไม่บันทึกบัญชี เจ้าหนี้ 60,000
เงินสด 60,000
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
31 คิดค่านายหน้า
ให้ผู้ร่วมค้า
อัตรา 10%
ของยอดขาย
ร่วมค้า 50,100
รายได้ค่า 3,000
นายหน้า
นาย ข 9,600
นาย ค 37,500
ร่วมค้า 50,100
รายได้ค่า 9,600
นายหน้า
นาย ก 3,000
นาย ค 37,500
ร่วมค้า 50,100
รายได้ค่า 37,500
นายหน้า
นาย ก 3,000
นาย ข 9,600
นาย ก 30,000 x 10% = 3,000
นาย ข 96,000 x 10% =9,600
นาย ค 375,000 x 10% = 37,500
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
31 คิดดอกเบี้ยให้ผู้
ร่วมค้าที่นาเงิน
สดหรือสินค้า
มาลงทุนอัตรา
15% ต่อปี
ร่วมค้า 5,250
ดอกเบี้ยรับ 1,500
นาย ข 1,500
นาย ค 2,250
ร่วมค้า 5,250
ดอกเบี้ยรับ 1,500
นาย ก 1,500
นาย ค 2,250
ร่วมค้า 5,250
ดอกเบี้ยรับ 2,250
นาย ก 1,500
นาย ข 1,500
นาย ก 120,000x15%x1/12 = 1,500
นาย ข 120,000x15%x1/12 = 1,500
นาย ค 180,000x15%x1/12= 2,250
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
31 แบ่งกาไร
ขาดทุนใน
อัตราส่วน
เท่าๆ กัน
ร่วมค้า 197,190
กาไรจาก 65,730
การร่วมค้า
นาย ข 65,730
นาย ค 65,730
ร่วมค้า 197,190
กาไรจาก 65,730
การร่วมค้า
นาย ก 65,730
นาย ค 65,730
ร่วมค้า 197,190
กาไรจาก 65,730
การร่วมค้า
นาย ก 65,730
นาย ข 65,730
ว.ด.ป. รายการ นาย ก นาย ข นาย ค
25xx
พ.ค.31
ผู้ร่วมค้า
ชาระเงิน
ระหว่างกัน
เงินสด 190,230
นาย ข 187,830
นาย ค 378,060
เงินสด 187,830
นาย ก 190,230
นาย ค378,060
นาย ก 190,230
นาย ข 187,830
เงินสด 378,060
นาย ค จ่ายเงินให้
นาย ก 190,230 บาท
และ
จ่ายให้นาย ข 187,830
การผ่านรายการบัญชีร่วมค้า
จากสมุดรายวันทั่วไป
ไปบัญชีแยกประเภท
ของผู้ร่วมค้าแต่ละคน
จะมีรายการเหมือนกันดังนี้
25xx 25xx
พ.ค. 1 สินค้า-นาย ค 180,000 - พ.ค. 12 ขายสินค้า-นาย ค 105,000 -
7 ค่าโฆษณา-นาย ค 3,000 - 15 ขายสินค้า-นาย ก 30,000 -
9 ค่ารับรอง-นาย ค 360 - 19 ขายสินค้า-นาย ค 120,000 -
12 ค่าขนส่งสินค้า-นาย ค 600 - 21 ขายสินค้า-นาย ข 96,000 -
18 ซื้อสินค้า-นาย ค 60,000 - 27 ขายสินค้า-นาย ค 150,000 –
27 ค่าขนส่งสินค้า-นาย ค 1,500 -
29 หนี้สูญ-นาย ค 3,000 -
บัญชีร่วมค้า
ต่อหน้าไป
25xx 25xx
ค่านายหน้า
นาย ก 3,000
นาย ข 9,600
นาย ค 37,500 50,100 -
ส่วนแบ่งกาไร
นาย ก 65,730
นาย ข 65,730
นาย ค 65,730 197,190 -
501,000 - 501,000 -
บัญชีร่วมค้า
บัญชี นาย ก ในสมุดบัญชีของ
นาย ข และนาย ค จะเป็นดังนี้
บัญชีนาย ก
25xx
พ.ค.15
31
ขายสินค้า
รับเงินจากนาย ค
30,000 -
190,230 –
25xx
พ.ค.1
15
31
ส่งเงินให้นาย ค
ส่งเงินให้นาย ค
ดอกเบี้ยรับ
รายได้ค่านายหน้า
กาไรจากการร่วมค้า
120,000 -
30,000 -
1,500 -
3,000 -
65,730 –
220,230 - 220,230 -
บัญชี นาย ข ในสมุดบัญชีของ
นาย ก และนาย ค จะเป็นดังนี้
บัญชี นาย ข
25xx
พ.ค.17
21
31
ถอนเงินจากกิจการ
ร่วมค้า
ขายสินค้า
รับเงินจากนาย ค
9,000 -
96,000 -
187,830 –
25xx
พ.ค.1
21
31
ส่งเงินให้นาย ค
ส่งเงินให้นาย ค
ดอกเบี้ยรับ
รายได้ค่านายหน้า
กาไรจากการร่วมค้า
120,000
-
96,000 -
1,500 -
9,600 -
65,730 –
292,830 - 292,830 -
บัญชี นาย ค ในสมุดบัญชีของ
นาย ก และนาย ข จะเป็นดังนี้
บัญชี นาย ค
25xx 25xx
พ.ค.1 รับเงินจากนาย ก และ
นาย ข
240,000- พ.ค.1 ลงทุนด้วยสินค้า 180,000 -
12 ขายสินค้า 105,000 - 7 ค่าโฆษณา 3,000 -
15 รับเงินจากนาย ก 30,000 - 9 ค่ารับรองลูกค้า 360 -
19 ขายสินค้า 120,000 - 12 ค่าขนส่งสินค้า 600 -
21 รับเงินจากนาย ข 96,000 - 17 จ่ายเงินให้นาย ข 9,000 -
27 ขายสินค้า 150,000 – 18 ซื้อสินค้า 60,000 -
ต่อหน้าไป
25xx 25xx
พ.ค.27 ค่าขนส่งสินค้า 1,500 -
29 ตัดหนี้สูญ 3,000 -
31 ดอกเบี้ยรับ 2,250 -
รายได้ค่านายหน้า 37,500 -
กาไรจากการร่วมค้า 65,730 -
จ่ายเงินให้นาย ก 190,230 -
จ่ายเงินให้นาย ข 187,830 –
741,000 - 741,000 -
บัญชี นาย ค
การบัญชีการร่วมค้า
โดยไม่เปิดสมุดบัญชี
กิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
กรณีดาเนินการร่วมค้า
ยังไม่เสร็จสิ้น
การดาเนินกิจการร่วมค้าโดยทั่วไปจะคานวณผลกาไรหรือผล
ขาดทุนเมื่อการร่วมค้าเสร็จสิ้นแต่บางครั้งการร่วมค้าใช้เวลานาน
ในการดาเนินงาน และผู้ร่วมค้าอาจต้องการที่จะทราบผลกาไร
หรือ ผลขาดทุนจากการประกอบกิจการร่วมค้าก่อนที่การร่วมค้า
จะเสร็จสมบูรณ์ จึงจาเป็นต้องมีการปิดบัญชีร่วมค้าก่อนการร่วม
ค้าจะเสร็จสิ้น บัญชีร่วมค้าจะมียอดคงเหลือทางเดบิตหรือเครดิต
ได้ในกรณีต่อไปนี้
1. บัญชีร่วมค้าจะมียอดคงเหลือทางด้านเดบิต เนื่องจาก
จานวนเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายมากกว่ารายได้
2. บัญชีร่วมค้าจะมียอดคงเหลือทางด้านเครดิต เนื่องจาก
รายได้มากกว่าจานวนเงินลงทุนและค่าใช้จ่าย
ในกรณีที่การร่วมค้ายังไม่เสร็จสิ้นและบัญชีร่วมค้ามีรายการทั้ง
ด้านเดบิตและเครดิตถ้าจะทางบการเงินจะต้องปรับปรุงบัญชีร่วมค้าก่อน
โดยแสดงรายการสินค้าคงเหลือที่ยังขายไม่หมดด้วยราคาทุนรวมค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับต้นทุนสินค้า และทาการแบ่งกาไรจากการร่วมค้าที่ยังดาเนินกิจการ
ไม่เสร็จสิ้นครั้งหนึ่งก่อน
หมายเหตุ
การแบ่งกาไรของกิจการร่วมค้าล่วงหน้าก่อนที่การร่วมค้าจะเสร็จสิ้น
ต้องมีความระมัดระวัง และให้พิจารณาด้วยว่า ถ้าการดาเนินการร่วมค้าที่
ผ่านมาได้รับรายได้จากการขายสูงกว่าจานวนเงินลงทุน และรายได้ที่คาดว่า
จะได้รับจากการขายสินค้าที่เหลือสูงกว่าค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น การ
แบ่งกาไรล่วงหน้าย่อมทาได้ แต่ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสูงกว่ารายได้
ที่จะได้รับจากการขายสินค้าซึ่งจะเกิดผลขาดทุนในอนาคต ในกรณีนี้ไม่
สมควรมีการแบ่งกาไรก่อนการร่วมค้าเสร็จสิ้นก่อน
ตัวอย่าง
จากโจทย์ตัวอย่างเดิม กรณี 1 นายก นาย ข และนาย ค ตกลงที่จะ
ดาเนินกิจการขายสินค้าที่ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว สมมติ วันที่ 31
พฤษภาคม 2557 การร่วมค้ายังไม่เสร็จสิ้นมีสินค้าคงเหลือตีราคาได้
45,000 บาท ผู้ร่วมค้าคาดว่ารายได้ค่าขายสินค้าที่เหลือจะสูงกว่า
ค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ผู้ร่วมค้าตกลงแบ่งกาไรก่อนการร่วมค้าเสร็จ
สิ้นแต่ยังไม่ชาระเงินระหว่างกัน รายการบันทึกรายการบัญชี ณ วันที่
31 พฤษภาคม 2557 มีดังนี้
ว/ด/ป รายการ สมุดบัญชี นาย ก สมุดบัญชี นาย ข สมุดบัญชี นาย ค
2557
พ.ค. 31
แบ่งกาไร
ขาดทุน
เท่าๆ กัน
ร่วมค้า 242,190
กาไรจาก 80,730
การร่วมค้า
นาย ข 80,730
นาย ค 80,730
ร่วมค้า 242,190
กาไรจาก 80,730
การร่วมค้า
นาย ก 80,730
นาย ค 80,730
ร่วมค้า 242,190
กาไรจาก 80,730
การร่วมค้า
นาย ก 80,730
นาย ค 80,730
แบ่งกาไรขาดทุนเท่าๆ กัน
546,000 -303,000
= 242,109 / 3
= 80,730 บาท
2557 2557 -
พ.ค.1 สินค้า-นาย ค 180,000 - พ.ค.12 ขายสินค้า-นาย ค 105,000
7 ค่าโฆษณา-นาย ค 3,000 - 15 ขายสินค้า-นาย ก 30,000
9 ค่ารับรอง-นาย ค 380 - 19 ขายสินค้า-นาย ค 120,000 -
12 ค่าขนส่งสินค่า-นาย ค 600 - 21 ขายสินค้า-นาย ข 96,000 -
18 ซื้อสินค้า-นาย ค 60,000 - 27 ขายสินค้า-นาย ค 150,000 -
27 ค่าขนส่งสินค้า-นาย ค 1,500 - 31 สินค้าคงเหลือยกไป 45,000 -
29 หนี้สูญ-นาย ค 3,000 - -
บัญชีร่วมค้า
ต่อหน้าไป
2557 2557
-
พ.ค. 31 ดอกเบี้ยจ่าย
นาย ก 1,500
นาย ข 1,500
นาย ค 2,250 5,250 -
ค่านายหน้า
นาย ก 3,000
นาย ข 9,600
นาย ค 37,500 50,100 -
บัญชีร่วมค้า
ต่อหน้าไป
2557 2557 -
ส่วนแบ่งกาไร
นาย ก 80,730
นาย ข 80,730
นาย ค 80,730 242,190 -
546,000 - 546,000 -
มิ.ย. 1 สินค้าคงเหลือยอกยกมา 45,000
บัญชีร่วมค้า
การปิดบัญชีร่วมค้าจะทาโดยแสดงสินค้าคงเหลือ ตีราคาทุนรวม
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับต้นทุนของราคาสินค้า บันทึกบัญชีร่วมค้าทางด้านเด
บิต เป็นยอดสินค้าคงเหลือยกไป (วันที่ 31 พฤษภาคม 2557) และด้าน
เครดิต เป็นยอดสินค้าคงเหลือยกมาในเดือนใหม่(วันที่ 1 มิถุนายน 2557)
โดยไม่ต้องบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
บัญชี นาย ก
ในสมุดบัญชีของ
นาย ข และนาย ค
จะเป็นดังนี้
2557
พ.ค.15
31
ขายสินค้า
ยอดยกไป
30,000
205,230
-
-
2557
พ.ค.1
15
31
ส่งเงินให้นาย ค
ส่งเงินให้นาย ค
ดอกเบี้ยรับ
รายได้ค่านายหน้า
กาไรจากการร่วมค้า
120,000
30,000
1,500
3,000
80,730
-
-
-
-
-
235,000 - 235,000 -
มิ.ย.1 ยอดยกมา 205,230
บัญชีนาย ก
บัญชี นาย ข
ในสมุดบัญชีของ
นาย ก และนาย ค
จะเป็นดังนี้
2557
พ.ค.15
21
31
ถอนเงินจากกิการร่วมค้า
ขายสินค้า
ยอดยกไป
9,000
96,000
202,830
-
-
-
2557
พ.ค.1
21
31
มิ.ย.1
ส่งเงินให้นาย ค
ส่งเงินให้นาย ค
ดอกเบี้ยรับ
รายได้ค่านายหน้า
รายได้จากการร่วมค้า
ยอดยกมา
120,000
96,000
1,500
9,600
80,730
-
-
-
-
-
307,830 - 307,830 -
202,830
-
บัญชี นาย ข
บัญชีนาย ค
ในสมุดบัญชีของ
นาย ก และนาย ข
จะเป็นดังนี้
2557 2557
พ.ค.1
12
15
19
21
27
รับเงินจากนาย ก และ ข
ขายสินค้า
รับเงินจากนาย ก
ขายสินค้า
รับเงินจากนาย ข
ขายสินค้า
240,000
105,000
30,000
120,000
96,000
150,000
-
-
-
-
-
-
พ.ค. 1
7
9
12
17
18
ลงทุนด้วยสินค้า
ค่าโฆษณา
ค่ารับรองลูกค้า
ค่าขนส่งสินค้า
จ่ายเงินให้ นาย ข
ซื้อสินค้า
180,000
3,000
360
600
9,000
60,000
-
-
-
-
-
-
บัญชี นาย ค
ต่อหน้าไป
2557 2557
พ.ค.27
29
31
ค่าขนส่งสินค้า
ตัดหนี้สูญ
ดอกเบี้ยรับ
รายได้ค่านายหน้า
กาไรจากการ่วมค้า
ยอดยกไป
1,500
3,000
2,250
37,500
80,730
363,060
-
-
-
-
-
มิ.ย.1 ยอดยกมา
741,000 - 741,000 -
363,060 -
บัญชี นาย ค
การร่วมค้าไม่เสร็จสิ้นจึงไม่มีการชาระเงินระหว่างกัน บัญชีผู้ร่วม
ค้าแต่ละคนยังไม่ปิดบัญชียอดคงเหลือของบัญชีต่างๆ ที่เกี่ยวกับกิจการร่วม
ค้าในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้าในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้า ณ วันที่ 31 พฤษภาคม
2557 จะเป็นดังนี้
ชื่อบัญชี สมุดบัญชีของนาย ก สมุดบัญชีของนาย ข สมุดบัญชีของนาย ค
เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
บัญชีร่วมค้า 45,000 45,000 45,000
บัญชี นาย ก 205,230 205,230
บัญชี นาย ข 202,830 202,830
บัญชี นาย ค 363,060 363,060
งบดุล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557 จะแสดงรายการเงิน
ลงทุนในกิจการร่วมค้า หรือรายการหนี้สินที่มีต่อกิจการ
ร่วมค้าของผู้ร่วมค้าแต่ละคนดังนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน (บาท)
เงินสด
ลูกหนี้
เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า
xx
xx
205,230
นาย ก
งบดุล (บางส่วน)
ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557
สินทรัพย์
การคานวณยอดเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าของนาย ก
บัญชีร่วมค้า
บวก บัญชี นาย ค
รวม
หัก บัญชี นาย ข
เงินลงทุนใจกิจการร่วมค้า
45,000 บาท
363,060 บาท
408,060 บาท
202,830 บาท
205,230 บาท
สินทรัพย์หมุนเวียน (บาท)
เงินสด
ลูกหนี้
เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า
xx
xx
202,830
นาย ข
งบดุล(บางส่วน)
ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน (บาท)
เงินสด
ลูกหนี้
เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า
xx
xx
363,000
นาย ค
งบดุล(บางส่วน)
ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557
สินทรัพย์
หมายเหตุ
การแสดงบัญชีต่างๆ ทีเกี่ยวกับการร่วมค้าในงบดุลของผู้
ร่วมค้าแต่ละคน ถ้ายอดคงเหลือเดบิตจะแสดงเป็นรายการเงินลงทุน
ในกิจการร่วมค้าเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน แต่ถ้ายอดคงเหลือเครดิตจะ
แสดงเป็นรายการหนี้สินที่มีต่อกิจการร่วมค้าเป็นหนี้สินหมุนเวียน
สรุป
วิธีการบัญชีร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยก
ต่างหาก เป็นวิธีการบัญชีที่ผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะบันทึกรายการ
เกี่ยวกับการร่วมค้าทุกรายการถึงแม้บางรายการจะไม่เกี่ยวข้องกับ
ตนเอง โดยมีผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะทาการเปิดบัญชีร่วมค้าและบัญชีผู้
ร่วมค้าคนอื่นๆ ในสมุดบัญชีของตนเอง ซึ่งบัญชีร่วมค้าแต่ละคน
เปิดขึ้นจะมีรายการบัญชีที่เหมือนกัน วิธีการบัญชีการร่วมค้าโดยไม่
เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก จะแบ่งเป็น2 กรณี คือ
กรณีการดาเนินการร่วมค้าเสร็จสิ้น และ กรณีการดาเนินการร่วมค้า
ไม่เสร็จสิ้น

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
Pa'rig Prig
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
Aor's Sometime
 
03 ma
03 ma03 ma
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
มิชิโกะ จังโกะ
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
Pa'rig Prig
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
Ku'kab Ratthakiat
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 

What's hot (20)

วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
ภาพสัญลักษณ์
ภาพสัญลักษณ์ภาพสัญลักษณ์
ภาพสัญลักษณ์
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
Tas16 ppe
Tas16 ppeTas16 ppe
Tas16 ppe
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Similar to ร่วมค้า หน่วยที่-2

Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
drchanidap
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
มิชิโกะ จังโกะ
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศHIPO_Training
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
CUPress
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
WattanaNanok
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
Kasem Boonlaor
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1suthaising
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
Ch3
Ch3Ch3

Similar to ร่วมค้า หน่วยที่-2 (20)

1
11
1
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
General Ledger
General LedgerGeneral Ledger
General Ledger
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ร่วมค้า หน่วยที่-2