SlideShare a Scribd company logo
 
 
" ผู้นำ "  คือ  ผู้ที่สามารถมีอิทธิพล   ( Influence)   เหนือพฤติกรรมของผู้อื่นโดยเสนอแนวทาง   ( Direction)  และลงมือทำ  (Show how to do)  สร้างให้เกิดความศรัทธา   (Trust)  แรงจูงใจ  ( Inspire )  และสมัครใจทำตาม   ( Voluntary Commitment)  ของทีมงานซึ่งเป็นความรู้สึกที่ผู้ตามมอบให้ด้วยใจ  ( Win hearts and minds  )
Bar tridge  (  2005:Online)  อ้างถึงคำกล่าวของ  Peter F. Frucker ผู้ได้ให้ข้อคิดของความแตกต่างระหว่างผู้บริหารกับผู้นำว่า  ผู้บริหารทำทุกอย่างถูกต้องแต่ผู้นำทำในสิ่งที่ถูกต้อง   (Mangers do things right but Leaders do the right thing )
Bass (1985  อ้างถึงใน   Schultz  และ   Schultz, 1998 : 211)  ให้ความหมายไว้ว่า   ผู้นำการเปลี่ยนแปลง  มีพฤติกรรมที่มีความชัดเจนมากกว่าพวกเขาไม่ได้ถูกจำกัดโดยการรับรู้ของผู้ตามผู้นำต้องตั้งใจทำงานเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลง หรือเปลี่ยนรูปแบบข้อเสนอของลูกน้อง   และปรับปรุงข้อเสนอเหล่านั้นเสียใหม่   มากกว่าที่จะเชื่อว่าต้องทำงานให้ตรงกับความคาดหวังของลูกน้อง
Mushinsky (1997: 373)  ให้ความหมายภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   ไว้ว่า   เป็นกระบวนการที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและสมมุติฐานของสมาชิกในองค์การ   และสร้างความผูกพันในการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ขององค์การ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวข้องกับอิทธิพลของผู้นำที่มีต่อผู้ตามแต่ผลกระทบของอิทธิพลนั้นเป็นการให้อำนาจแก่ผู้ตามให้กลับมาเป็นผู้นำและเป็นผู้ที่เปลี่ยนแปลงหน่วยงานในกระบวนการการเปลี่ยนแปลงองค์การ   ดังนั้น   ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   จึงถูกมองว่าเป็นกระบวนการร่วมและเกี่ยวข้องกับ  การดำเนินการของผู้นำในระดับต่างๆในหน่วยงานย่อยขององค์การ
Schultz  และ   Schultz (1998 : 211)  ให้ความหมายภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   ไว้ว่า   ความเป็นผู้นำซึ่งผู้นำไม่ได้ถูก จำกัดโดยการรับรู้ของผู้ตาม   แต่มีอิสระในการกระทำ   ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงหรือ เปลี่ยนรูปแบบมุมมองของผู้ตาม
นิตย์   สัมมาพันธ์   (2546: 54)  ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   (Transformational leadership)  หมายถึง ผู้นำที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้บุคคลจำนวนมากลงมือทำมากกว่าเดิมจนไต่ระดับขึ้นสู่เพดานการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น
รัตติกรณ์ จงวิศาล   (2544: 32)  ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   (Transformational leadership)  หมายถึง   ระดับพฤติกรรมที่ผู้นำแสดงให้เห็นในการจัดการหรือการทำงาน   เป็นกระบวนการที่ผู้นำมีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานโดยการเปลี่ยนสภาพหรือเปลี่ยนแปลงความพยายามของผู้ร่วมงานให้สูงขึ้นกว่าความพยายามที่คาดหวัง   พัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานไปสู่ระดับที่สูงขึ้นและมีศักยภาพมากขึ้น   ทำให้เกิดการตระหนักรู้ในภารกิจและวิสัยทัศน์ของกลุ่ม   จูงใจให้ผู้ร่วมงานมองไกลเกินกว่าความสนใจของพวกเขาไปสู่ประโยชน์ของกลุ่ม หรือสังคม
หลักการ  7  ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ  (Seven Principles of Transformational Leadership … . Creating A Synergy of Energy)  มีแนวคิดดังนี้ หลักการที่  1  :  หลักการ  “ ทำให้เป็นเรื่องง่าย ”   (Principle of Simplification) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จจะเริ่มต้นด้วยวิสัยทัศน์ที่สะท้อนถึงวัตถุประสงค์ร่วม  (Shared purpose)  ซึ่งผู้นำจำเป็นต้องทำสิ่งนี้ให้เกิดความชัดเจน  (Clear)  สามารถปฏิบัติได้  (Practical)  หลักการที่  2  :  หลักการ   “ การจูงใจ ”   (Principle of Motivation) หมายถึง  ความสามารถของผู้นำในการทำให้คนอื่นเห็นพ้องยอมรับและยึดมั่นผูกพันกับวิสัยทัศน์ของตน
หลักการที่  3  :  หลักการ   “ การเอื้ออำนวยความสะดวก ”   (Principle of Facilitation) หมายถึง  ความสามารถของผู้นำในการเอื้ออำนวยการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ของทีมงาน  และของผู้อื่นซึ่งเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิผล  หลักการที่  4  :  หลักการแห่ง   “ การริเริ่มสิ่งใหม่ ”   (Principle of Innovation)  หมายถึง  ความสามารถของผู้นำที่กล้าหาญในการริเริ่มเปลี่ยนแปลง ถ้ามีความจำเป็น  แม้ว่า สิ่งนั้นจะเปลี่ยนแปลงยากเพียงไรก็ตาม  หลักการ  7  ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ  (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy)  มีแนวคิดดังนี้
หลักการที่  6  :  หลักการเตรียมความพร้อม  (Principle of Preparation) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติตนเอง เพื่อมิให้หยุดการเรียนรู้  (Never stop learning)  โดยไม่จำเป็นให้ใครต้องคอยช่วยเหลือดูแลในเรื่องนี้แต่อย่างใดทั้งสิ้น  หลักการที่  5  :  หลักการ  “ ด้านการขับเคลื่อน ”   (Principle of Mobilization) หมายถึง  ความสามารถของผู้นำในการระบุปัญหา  การจัดปัจจัยสนับสนุน  และการมอบ อำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติงานให้สามารถดำเนินการบรรลุผลได้ตามวิสัยทัศน์  หลักการ  7  ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ  (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy)  มีแนวคิดดังนี้
หลักการที่  7  :  หลักการแห่ง  “ การสิ้นสุด ”   (Principle of Determination) หมายถึง  ความสามารถของผู้นำที่รู้ว่าเมื่อไรควรหยุด และยอมรับว่าบัดนี้การแข่งขันได้ จบสิ้นแล้ว  (The ability to finish the race)  คือเป็นผู้ที่รู้จักการพอในเวลาที่สมควรหรือเหมาะสม  หลักการ  7  ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ  (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy)  มีแนวคิดดังนี้
โดย รองศาสตราจารย์ ดร . สุดา สุวรรณาภิรมย์ คณบดีวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา “ การบริหารการเปลี่ยนแปลง คือ  การค้นหาปัญหาและหาทางแก้ปัญหานั้น ” กรอบแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเพื่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น แท้จริงแล้วก็คือ “ กระบวนการแก้ปัญหา ”   การบริหารการเปลี่ยนแปลงคือการนำบริษัทจากสภาวะหนึ่ง ไปยังอีกสภาวะหนึ่งซึ่งปกติแล้วก็คือ การเริ่มจากสภาวะที่มีปัญหาไปสู่สภาวะที่ปัญหา ได้รับการแก้ไขแล้ว กฎของการเปลี่ยนแปลง
ไอน์สไตน์   (Einstein)  กล่าวไว้ว่า  จงทำสิ่งเดียวกันซํ้า ๆ กันหลายครั้ง แต่ให้ได้ผลลัพธ์ที่ต่างกัน  ซึ่งหมายถึงว่า  หากเราต้องการผลลัพธ์ที่ต่างกัน เราจะต้องเปลี่ยนแปลงทั้ง ตัวเราเอง กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ หรือเปลี่ยนแปลงทุก ๆ อย่าง อย่างไรก็ตาม  การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่ยากสำหรับมนุษย์ บ่อยครั้งที่ผู้นำบอกให้คนอื่นๆ เปลี่ยนแปลง แต่ตัวเองไม่ยอมเปลี่ยน ซึ่งการกระทำเช่นนี้ ย่อมไม่สามารถทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นในองค์กรได้อย่างแน่นอน  กฎของการเปลี่ยนแปลง
กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้   10  ประการ ไอน์สไตน์   (Einstein)  หากเราทำในสิ่งเดิม ๆ ที่เราเคยทำสำเร็จเสมอ เราก็จะได้ในสิ่งเดิม ๆ  ที่เราเคยได้อยู่เสมอ การเปลี่ยนแปลงยากเสมอสำหรับคนที่ไม่รู้ว่าจะเปลี่ยนไปทำไม ,  เพื่อใครและเส้นทางการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปสิ้นสุดที่ไหน ดังนั้น การจะเปลี่ยนแปลงที่มีความสำคัญสำหรับองค์กรจะต้องมีกลไกการสื่อสารที่ยอดเยี่ยมเป็นตัวสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงจะต้องดำเนินไปด้วยความสมดุล   ไม่เฉพาะต่อการ เปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น   แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงใด   ๆ   ตลอดทั้งกระบวนการ ผู้นำจะต้องใช้กลยุทธ์กับพนักงานของตน   ต้องแสดงให้เห็นว่า   พวกเขามีส่วนร่วมที่สำคัญในการสร้างความสำเร็จให้กับองค์กร   ซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ผู้นำได้รับคำมั่นสัญญาในการทำงานจาก ลูกน้องมากยิ่งขึ้น กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้   10  ประการ ไอน์สไตน์   (Einstein)
ผู้นำจะต้องมีความอดทน   อยู่ในร่องในรอยและไม่ยอมแพ้ง่าย   ๆ เมื่อจะทำการอบรมและชี้แนะแนวทางต่างๆในการเปลี่ยนแปลง ภายในองค์กรให้ผู้นำตั้งเป้าหมายว่า จะต้องทำโดยเร่งด่วนทันที ในวันรุ่งขึ้น   และจะต้องมีการอบรมพนักงานเก่าเพอื่   ให้มีความ พร้อมที่จะรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างเร่งด่วนได้ กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้   10  ประการ ไอน์สไตน์   (Einstein)
ผู้บริหารองค์กรต้องเขียนแผนในการเปลี่ยนแปลงทันที   รวมถึงลงมือ เปลี่ยนแปลงทันทีไม่ใช่เลื่อนการดำเนินการในเรื่องนี้ออกไป   ซึ่งจะส่งผลให้มีการเลื่อนออกไปเรื่อย   ๆ การยอมรับหรือการแสดงความชื่นชมจะต้องเกิดขึ้นและเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการในการเปลี่ยนแปลง   ผู้นำจะต้องสังเกตผู้คนรอบตัว ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกในครอบครัว ,  เพื่อนร่วมงานหรือลูกน้อง ว่ามีสิ่งใด หรือใครที่ควรได้รับการชมเชยหรือยอมรับ   และชมเชยพวกเขาในทันที กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้   10  ประการ ไอน์สไตน์   (Einstein)
บทบาทเดิม ๆ จะต้องถูกเปลี่ยน ทั้ง ผู้นำและสมาชิกในทีมงาน จงมีความสุขอยู่เสมอที่ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยน แปลงกับตัวตน ,  ชีวิต และองค์กรของเรา กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้   10  ประการ ไอน์สไตน์   (Einstein)
กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร  ของ  John P. Kotter  ๑ .  การสร้างความรู้สึกว่าต้องลงมือทำอย่างเร่งด่วน  ๒ .  การสร้างสรรค์ความร่วมมือ  หรือทีมผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง  ๓ .  พัฒนาวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์
๔ .  สื่อสารสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์   ๕ .  การให้พลังอำนาจของผู้นำพื้นฐานความคล่องแคล่ว ที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง  ๖ .  การสร้างชัยชนะด้วยเวลาอันสั้น   กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร  ของ  John P. Kotter
๗ .  การได้มาซึ่งความเข้มแข็ง  หรือ การรักษาและการสร้างการ  เปลี่ยนแปลงใหม่ที่ดีกว่า  ๘ .  วางรากฐานการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร   กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร  ของ  John P. Kotter
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง  การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี  (  E – Leadership  )  ควรมีลักษณะ  10   E   1.Envision   ต้องสร้างวิสัยทัศน์อย่างชัดเจน มีความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการที่กว้างไกล โดยเน้นการบูรณาการเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ  2.Enable   ต้องมีความสามารถในการบริหารจัดการ ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
4.Energize   ต้องหมั่นจุดพลังและประกายไฟอยู่ตลอดเวลาอย่าให้มอด คอยกระตุ้นให้เกิดพลังในการทำงาน  3.Empowerment   ต้องเข้าใจและหยั่งรู้ความสามารถของบุคคลในโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นอย่างดี  บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง  การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี  (  E – Leadership  )  ควรมีลักษณะ  10   E
5.Engage   ต้องตั้งใจและจดจ่อการทำงาน โดยมุ่งมั่นอย่างแรงกล้า เพื่อให้งานประสบความสำเร็จ  6.Enhance   ต้องยกระดับผลการปฎิบัติงานให้เกิดความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐาน  บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง  การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี  (  E – Leadership  )  ควรมีลักษณะ  10   E
7.Encourage ผู้บริหารยุคดิจิตอลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรหรือผู้ร่วมงานปฎิบัติงานอย่างมีความสุข  8.Emotion ต้องมีคุณภาพทางอารมณ์ สามารถหยั่งรู้จิตใจผู้ร่วมงาน อ่านใจคนได้สุขุมรอบคอบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดี  การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี  (  E – Leadership  )  ควรมีลักษณะ  10   E   บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
9.Embody   ต้องเน้นการทำงานเป็นรูปธรรม ช่วยให้การสื่อสารประสบความสำเร็จ และเกิดความผิดพลาดน้อย  10.Eagle   ต้องเปรียบประดุจนกอินทรีย์ ที่มองไกลและเน้นในภาพรวมกว่าการมองรายละเอียด หรือผู้นำควรมองเป้าหมายและผลงานเป็นหลัก  บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง  การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี  (  E – Leadership  )  ควรมีลักษณะ  10   E
อุปสรรคและปัญหาการเปลี่ยนแปลง   ๑ .   ผู้นำไม่สามารถทำให้บุคลากรเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง  และไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง  ๒ .   องค์กรไม่มีการวางแผนระยะยาว มุ่งแต่แผนระยะสั้นทำให้ไม่ทันกับการ  เปลี่ยนแปลง
๓ .    ผู้นำไม่สามารถเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรได้เพราะ  บุคลากรยึดติดกับวัฒนธรรมดั้งเดิม  ๔ .   กระแสโสกาภิวัฒน์เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว บุคลากรในองค์กร ตามไม่ทัน   อุปสรรคและปัญหาการเปลี่ยนแปลง
สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ ๑ .  กลัวสูญเสียอำนาจการคุกคาม  ๒ .   สาเหตุการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจน   ๓ .   ความคลุมเคลือของผลลัพธ์
๔ .    ความกะทันหัน  ๕ .    กลัวเสียหน้า เสียศักดิ์ศรี  ๖ .    กลัวลำบาก  สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ
๗ .    การเห็นแกประโยชน์ส่วนตน  ๘ .    ความรู้สึกผูกพันธ์กับสิ่งเดิม  ๙ .    การขาดความมั่นใจในตนเอง  สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ
 

More Related Content

What's hot

Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
DrDanai Thienphut
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
Watcharin Chongkonsatit
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมChapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมwanna2728
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Phakawat Owat
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
wiraja
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
pantapong
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นwiraja
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมmaymymay
 
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 

What's hot (20)

Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมChapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
 

Similar to การบริหารการเปลี่ยนแปลง1

หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
 หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
maruay songtanin
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
maruay songtanin
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Nona Khet
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
Luckna Jbmy
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadershippapatsa
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
maruay songtanin
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
CUPress
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
maruay songtanin
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
Jack Hades Sense
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
Proud N. Boonrak
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
maruay songtanin
 
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdfOKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
maruay songtanin
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 

Similar to การบริหารการเปลี่ยนแปลง1 (20)

หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
 หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
หัวใจของการเปลี่ยนแปลง Heart of change
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
29 ความลับผู้นำ 29 leadership secrets
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Managing change
 
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdfOKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ OKRs Measure What Matters.pdf
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

การบริหารการเปลี่ยนแปลง1

  • 1.  
  • 2.  
  • 3. " ผู้นำ " คือ ผู้ที่สามารถมีอิทธิพล   ( Influence) เหนือพฤติกรรมของผู้อื่นโดยเสนอแนวทาง   ( Direction) และลงมือทำ (Show how to do) สร้างให้เกิดความศรัทธา (Trust) แรงจูงใจ ( Inspire )  และสมัครใจทำตาม   ( Voluntary Commitment) ของทีมงานซึ่งเป็นความรู้สึกที่ผู้ตามมอบให้ด้วยใจ ( Win hearts and minds )
  • 4. Bar tridge ( 2005:Online) อ้างถึงคำกล่าวของ Peter F. Frucker ผู้ได้ให้ข้อคิดของความแตกต่างระหว่างผู้บริหารกับผู้นำว่า ผู้บริหารทำทุกอย่างถูกต้องแต่ผู้นำทำในสิ่งที่ถูกต้อง   (Mangers do things right but Leaders do the right thing )
  • 5. Bass (1985 อ้างถึงใน Schultz และ Schultz, 1998 : 211) ให้ความหมายไว้ว่า ผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีพฤติกรรมที่มีความชัดเจนมากกว่าพวกเขาไม่ได้ถูกจำกัดโดยการรับรู้ของผู้ตามผู้นำต้องตั้งใจทำงานเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลง หรือเปลี่ยนรูปแบบข้อเสนอของลูกน้อง และปรับปรุงข้อเสนอเหล่านั้นเสียใหม่ มากกว่าที่จะเชื่อว่าต้องทำงานให้ตรงกับความคาดหวังของลูกน้อง
  • 6. Mushinsky (1997: 373) ให้ความหมายภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ไว้ว่า เป็นกระบวนการที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและสมมุติฐานของสมาชิกในองค์การ และสร้างความผูกพันในการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ขององค์การ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวข้องกับอิทธิพลของผู้นำที่มีต่อผู้ตามแต่ผลกระทบของอิทธิพลนั้นเป็นการให้อำนาจแก่ผู้ตามให้กลับมาเป็นผู้นำและเป็นผู้ที่เปลี่ยนแปลงหน่วยงานในกระบวนการการเปลี่ยนแปลงองค์การ ดังนั้น ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง จึงถูกมองว่าเป็นกระบวนการร่วมและเกี่ยวข้องกับ การดำเนินการของผู้นำในระดับต่างๆในหน่วยงานย่อยขององค์การ
  • 7. Schultz และ Schultz (1998 : 211) ให้ความหมายภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ไว้ว่า ความเป็นผู้นำซึ่งผู้นำไม่ได้ถูก จำกัดโดยการรับรู้ของผู้ตาม แต่มีอิสระในการกระทำ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงหรือ เปลี่ยนรูปแบบมุมมองของผู้ตาม
  • 8. นิตย์ สัมมาพันธ์ (2546: 54) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership) หมายถึง ผู้นำที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้บุคคลจำนวนมากลงมือทำมากกว่าเดิมจนไต่ระดับขึ้นสู่เพดานการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น
  • 9. รัตติกรณ์ จงวิศาล (2544: 32) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership) หมายถึง ระดับพฤติกรรมที่ผู้นำแสดงให้เห็นในการจัดการหรือการทำงาน เป็นกระบวนการที่ผู้นำมีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานโดยการเปลี่ยนสภาพหรือเปลี่ยนแปลงความพยายามของผู้ร่วมงานให้สูงขึ้นกว่าความพยายามที่คาดหวัง พัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานไปสู่ระดับที่สูงขึ้นและมีศักยภาพมากขึ้น ทำให้เกิดการตระหนักรู้ในภารกิจและวิสัยทัศน์ของกลุ่ม จูงใจให้ผู้ร่วมงานมองไกลเกินกว่าความสนใจของพวกเขาไปสู่ประโยชน์ของกลุ่ม หรือสังคม
  • 10. หลักการ 7 ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ (Seven Principles of Transformational Leadership … . Creating A Synergy of Energy) มีแนวคิดดังนี้ หลักการที่ 1 : หลักการ “ ทำให้เป็นเรื่องง่าย ” (Principle of Simplification) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จจะเริ่มต้นด้วยวิสัยทัศน์ที่สะท้อนถึงวัตถุประสงค์ร่วม (Shared purpose) ซึ่งผู้นำจำเป็นต้องทำสิ่งนี้ให้เกิดความชัดเจน (Clear) สามารถปฏิบัติได้ (Practical) หลักการที่ 2 : หลักการ “ การจูงใจ ” (Principle of Motivation) หมายถึง ความสามารถของผู้นำในการทำให้คนอื่นเห็นพ้องยอมรับและยึดมั่นผูกพันกับวิสัยทัศน์ของตน
  • 11. หลักการที่ 3 : หลักการ “ การเอื้ออำนวยความสะดวก ” (Principle of Facilitation) หมายถึง ความสามารถของผู้นำในการเอื้ออำนวยการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ของทีมงาน และของผู้อื่นซึ่งเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิผล หลักการที่ 4 : หลักการแห่ง “ การริเริ่มสิ่งใหม่ ” (Principle of Innovation) หมายถึง ความสามารถของผู้นำที่กล้าหาญในการริเริ่มเปลี่ยนแปลง ถ้ามีความจำเป็น แม้ว่า สิ่งนั้นจะเปลี่ยนแปลงยากเพียงไรก็ตาม หลักการ 7 ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy) มีแนวคิดดังนี้
  • 12. หลักการที่ 6 : หลักการเตรียมความพร้อม (Principle of Preparation) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติตนเอง เพื่อมิให้หยุดการเรียนรู้ (Never stop learning) โดยไม่จำเป็นให้ใครต้องคอยช่วยเหลือดูแลในเรื่องนี้แต่อย่างใดทั้งสิ้น หลักการที่ 5 : หลักการ “ ด้านการขับเคลื่อน ” (Principle of Mobilization) หมายถึง ความสามารถของผู้นำในการระบุปัญหา การจัดปัจจัยสนับสนุน และการมอบ อำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติงานให้สามารถดำเนินการบรรลุผลได้ตามวิสัยทัศน์ หลักการ 7 ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy) มีแนวคิดดังนี้
  • 13. หลักการที่ 7 : หลักการแห่ง “ การสิ้นสุด ” (Principle of Determination) หมายถึง ความสามารถของผู้นำที่รู้ว่าเมื่อไรควรหยุด และยอมรับว่าบัดนี้การแข่งขันได้ จบสิ้นแล้ว (The ability to finish the race) คือเป็นผู้ที่รู้จักการพอในเวลาที่สมควรหรือเหมาะสม หลักการ 7 ประการของผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดพลังการทำงานเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ (Seven Principles of Transformational Leadership…. Creating A Synergy of Energy) มีแนวคิดดังนี้
  • 14. โดย รองศาสตราจารย์ ดร . สุดา สุวรรณาภิรมย์ คณบดีวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา “ การบริหารการเปลี่ยนแปลง คือ การค้นหาปัญหาและหาทางแก้ปัญหานั้น ” กรอบแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเพื่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น แท้จริงแล้วก็คือ “ กระบวนการแก้ปัญหา ” การบริหารการเปลี่ยนแปลงคือการนำบริษัทจากสภาวะหนึ่ง ไปยังอีกสภาวะหนึ่งซึ่งปกติแล้วก็คือ การเริ่มจากสภาวะที่มีปัญหาไปสู่สภาวะที่ปัญหา ได้รับการแก้ไขแล้ว กฎของการเปลี่ยนแปลง
  • 15. ไอน์สไตน์ (Einstein) กล่าวไว้ว่า จงทำสิ่งเดียวกันซํ้า ๆ กันหลายครั้ง แต่ให้ได้ผลลัพธ์ที่ต่างกัน ซึ่งหมายถึงว่า หากเราต้องการผลลัพธ์ที่ต่างกัน เราจะต้องเปลี่ยนแปลงทั้ง ตัวเราเอง กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ หรือเปลี่ยนแปลงทุก ๆ อย่าง อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่ยากสำหรับมนุษย์ บ่อยครั้งที่ผู้นำบอกให้คนอื่นๆ เปลี่ยนแปลง แต่ตัวเองไม่ยอมเปลี่ยน ซึ่งการกระทำเช่นนี้ ย่อมไม่สามารถทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นในองค์กรได้อย่างแน่นอน กฎของการเปลี่ยนแปลง
  • 16. กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้ 10 ประการ ไอน์สไตน์ (Einstein) หากเราทำในสิ่งเดิม ๆ ที่เราเคยทำสำเร็จเสมอ เราก็จะได้ในสิ่งเดิม ๆ ที่เราเคยได้อยู่เสมอ การเปลี่ยนแปลงยากเสมอสำหรับคนที่ไม่รู้ว่าจะเปลี่ยนไปทำไม , เพื่อใครและเส้นทางการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไปสิ้นสุดที่ไหน ดังนั้น การจะเปลี่ยนแปลงที่มีความสำคัญสำหรับองค์กรจะต้องมีกลไกการสื่อสารที่ยอดเยี่ยมเป็นตัวสนับสนุน
  • 17. การเปลี่ยนแปลงจะต้องดำเนินไปด้วยความสมดุล ไม่เฉพาะต่อการ เปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น แต่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ตลอดทั้งกระบวนการ ผู้นำจะต้องใช้กลยุทธ์กับพนักงานของตน ต้องแสดงให้เห็นว่า พวกเขามีส่วนร่วมที่สำคัญในการสร้างความสำเร็จให้กับองค์กร ซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ผู้นำได้รับคำมั่นสัญญาในการทำงานจาก ลูกน้องมากยิ่งขึ้น กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้ 10 ประการ ไอน์สไตน์ (Einstein)
  • 18. ผู้นำจะต้องมีความอดทน อยู่ในร่องในรอยและไม่ยอมแพ้ง่าย ๆ เมื่อจะทำการอบรมและชี้แนะแนวทางต่างๆในการเปลี่ยนแปลง ภายในองค์กรให้ผู้นำตั้งเป้าหมายว่า จะต้องทำโดยเร่งด่วนทันที ในวันรุ่งขึ้น และจะต้องมีการอบรมพนักงานเก่าเพอื่ ให้มีความ พร้อมที่จะรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างเร่งด่วนได้ กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้ 10 ประการ ไอน์สไตน์ (Einstein)
  • 19. ผู้บริหารองค์กรต้องเขียนแผนในการเปลี่ยนแปลงทันที รวมถึงลงมือ เปลี่ยนแปลงทันทีไม่ใช่เลื่อนการดำเนินการในเรื่องนี้ออกไป ซึ่งจะส่งผลให้มีการเลื่อนออกไปเรื่อย ๆ การยอมรับหรือการแสดงความชื่นชมจะต้องเกิดขึ้นและเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการในการเปลี่ยนแปลง ผู้นำจะต้องสังเกตผู้คนรอบตัว ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกในครอบครัว , เพื่อนร่วมงานหรือลูกน้อง ว่ามีสิ่งใด หรือใครที่ควรได้รับการชมเชยหรือยอมรับ และชมเชยพวกเขาในทันที กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้ 10 ประการ ไอน์สไตน์ (Einstein)
  • 20. บทบาทเดิม ๆ จะต้องถูกเปลี่ยน ทั้ง ผู้นำและสมาชิกในทีมงาน จงมีความสุขอยู่เสมอที่ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยน แปลงกับตัวตน , ชีวิต และองค์กรของเรา กฎของการ บริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับผู้นำไว้ 10 ประการ ไอน์สไตน์ (Einstein)
  • 21. กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร ของ John P. Kotter ๑ . การสร้างความรู้สึกว่าต้องลงมือทำอย่างเร่งด่วน ๒ . การสร้างสรรค์ความร่วมมือ หรือทีมผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง ๓ . พัฒนาวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์
  • 22. ๔ . สื่อสารสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ ๕ . การให้พลังอำนาจของผู้นำพื้นฐานความคล่องแคล่ว ที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ๖ . การสร้างชัยชนะด้วยเวลาอันสั้น กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร ของ John P. Kotter
  • 23. ๗ . การได้มาซึ่งความเข้มแข็ง หรือ การรักษาและการสร้างการ เปลี่ยนแปลงใหม่ที่ดีกว่า ๘ . วางรากฐานการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นให้เป็นวัฒนธรรมขององค์กร กระบวนการ ๘ ขั้นในการสร้างสรรค์การเปลี่ยนแปลงองค์กร ของ John P. Kotter
  • 24. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี ( E – Leadership ) ควรมีลักษณะ 10 E 1.Envision ต้องสร้างวิสัยทัศน์อย่างชัดเจน มีความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการที่กว้างไกล โดยเน้นการบูรณาการเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ 2.Enable ต้องมีความสามารถในการบริหารจัดการ ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
  • 25. 4.Energize ต้องหมั่นจุดพลังและประกายไฟอยู่ตลอดเวลาอย่าให้มอด คอยกระตุ้นให้เกิดพลังในการทำงาน 3.Empowerment ต้องเข้าใจและหยั่งรู้ความสามารถของบุคคลในโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นอย่างดี บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี ( E – Leadership ) ควรมีลักษณะ 10 E
  • 26. 5.Engage ต้องตั้งใจและจดจ่อการทำงาน โดยมุ่งมั่นอย่างแรงกล้า เพื่อให้งานประสบความสำเร็จ 6.Enhance ต้องยกระดับผลการปฎิบัติงานให้เกิดความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องเป็นไปตามมาตรฐาน บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี ( E – Leadership ) ควรมีลักษณะ 10 E
  • 27. 7.Encourage ผู้บริหารยุคดิจิตอลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรหรือผู้ร่วมงานปฎิบัติงานอย่างมีความสุข 8.Emotion ต้องมีคุณภาพทางอารมณ์ สามารถหยั่งรู้จิตใจผู้ร่วมงาน อ่านใจคนได้สุขุมรอบคอบ สามารถควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดี การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี ( E – Leadership ) ควรมีลักษณะ 10 E บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
  • 28. 9.Embody ต้องเน้นการทำงานเป็นรูปธรรม ช่วยให้การสื่อสารประสบความสำเร็จ และเกิดความผิดพลาดน้อย 10.Eagle ต้องเปรียบประดุจนกอินทรีย์ ที่มองไกลและเน้นในภาพรวมกว่าการมองรายละเอียด หรือผู้นำควรมองเป้าหมายและผลงานเป็นหลัก บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเป็นผู้นำหรือผู้มีวิสัยทัศน์และใช้กระบวนทัศน์ทางเทคโนโลยี หรือผู้นำทางเทคโนโลยี ( E – Leadership ) ควรมีลักษณะ 10 E
  • 29. อุปสรรคและปัญหาการเปลี่ยนแปลง ๑ .   ผู้นำไม่สามารถทำให้บุคลากรเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๒ .   องค์กรไม่มีการวางแผนระยะยาว มุ่งแต่แผนระยะสั้นทำให้ไม่ทันกับการ เปลี่ยนแปลง
  • 30. ๓ .    ผู้นำไม่สามารถเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรได้เพราะ บุคลากรยึดติดกับวัฒนธรรมดั้งเดิม ๔ .   กระแสโสกาภิวัฒน์เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว บุคลากรในองค์กร ตามไม่ทัน อุปสรรคและปัญหาการเปลี่ยนแปลง
  • 31. สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ ๑ . กลัวสูญเสียอำนาจการคุกคาม ๒ . สาเหตุการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจน ๓ .   ความคลุมเคลือของผลลัพธ์
  • 32. ๔ .    ความกะทันหัน ๕ .    กลัวเสียหน้า เสียศักดิ์ศรี ๖ .    กลัวลำบาก สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ
  • 33. ๗ .    การเห็นแกประโยชน์ส่วนตน ๘ .    ความรู้สึกผูกพันธ์กับสิ่งเดิม ๙ .    การขาดความมั่นใจในตนเอง สาเหตุแห่งการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลง ๙ ประการ
  • 34.