SlideShare a Scribd company logo
ºบ·ท∙·ท∙Õีè่ 10
            áแ¹นÇว·ท∙Òา§ง¡กÒาÃร¾พÑั²ฒ¹นÒาÍอ§ง¤ค¡กÒาÃรãใ¹นÊสÑั§ง¤คÁมäไ·ท∙Âย
                     ¨จÑั ´ด·ท∙ÓำáแÅลÐะºบÃรÃรÂยÒาÂยâโ´ดÂย: ¹นÒา§งÊสÒาÇวÇวÃรÃร³ณÇว³ณÑัªช ¹น§ง¹นØุªช




Thursday, October 11, 2012
Outline

                      องค์การในสังคมไทย

                      อิทธิพลการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์

                      สภาพการบริหารจัดการองค์กรไทยในปัจจุบัน

                      การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ

                      องค์การแห่งความสําเร็จ



Thursday, October 11, 2012
องค์การในสังคมไทย
                      แบ่งได้เป็นองค์การภาครัฐ และองค์การภาคเอกชน

                     (1) องค์การภาครัฐ ประกอบด้วยองค์การรูปแบบต่างๆดังนี้

                             1. ส่วนราชการ แบ่งเป็น 3 ระดับคือ องค์การาชการส่วนกลาง, องค์การ
                                ราชการส่วนภูมิภาค และ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

                             2. รัฐวิสาหกิจ

                             3. องค์การมหาชน

                             4. องค์การอิสระตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540

                             5. องค์การของรัฐที่บริหารงานเป็นอิสระ


Thursday, October 11, 2012
องค์การในสังคมไทย (ต่อ)
             (2)องค์การภาคเอกชน

                        การจัดตั้งต้องเป็นไปตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายเฉพาะให้จัดตั้ง

                        มี 7 รูปแบบ คือ บริษัทมหาชนจํากัด บริษัทเอกชนจํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างหุ้น
                        ส่วนสามัญ กิจการเจ้าของคนเดียว สมาคม มูลนิธิ

                   ประเทศหรือรัฐก็ถือเป็นองค์การชนิดหนึ่ง

                   การดําเนินกิจการทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องสอดคล้องกับกฎหมายของประเทศนั้นๆ

                   เนื่องจากการแข่งขันที่รุนแรงในเวทีโลก จะไม่มีการแบ่งพรมแดนความเป็นรัฐหรือ
                   เอกชน




Thursday, October 11, 2012
อิทธิพลการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์

                     (1) การบริหารจัดการบนทางสองแพร่ง

                             การบริหารจัดการของคนไทย ต้องการความสําเร็จในวัตถุประสงค์ และความ
                             ถูกต้องของกระบวนการไปพร้อมๆกัน

                             เช่นการเปลี่ยนระบบการทํางานจากแบบมุ่งยึดระบบกฎเกณฑ์ มาเป็นแบบมุ่ง
                             ความสําเร็จเป็นตัวตั้ง

                     (2) การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective)

                             ในสมัยอดีตไทยเรามีสุภาษิตที่ว่า “ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน” แต่ปัจจุบัน
                             กลับเปลี่ยนไปเป็น “ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร”

                             เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน เราต้องเน้นที่การบรรลุเป้าหมายเป็น
                             สําคัญ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยการสร้างตัวชี้วัด (KPI) ที่เป็นมาตรฐาน
                             เดียวกัน


Thursday, October 11, 2012
สภาพการบริหารจัดการองค์การไทยในปัจจุบัน

                      (1) การบริหารจัดการองค์การภาครัฐ

                             ประเทศหรือรัฐ ก็ถือเป็นองค์การชนิดหนึ่ง องค์การภาครัฐถือเป็นสายงาน
                             สนับสนุนการทํางานของเอกชนอีกทีหนึ่ง

                             โครงสร้างเป็นแบบสูง สายการบังคับบัญชาหลายชั้น มีสองสาเหตุคือ เพื่อ
                             ต้ อ งการควบคุ ม ตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ น ค้ า และการบริ ก ารทุ ก ขั ้ น ตอน และอี ก
                             เหตุผลหนึ่งคือ เพราะไม่ไว้วางใจให้พนักงานปฏิบัติงานโดยอิสระได้

                      (2) การบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน

                             จากมุมมองระดับประเทศ หรือรัฐไทย องค์การเอกชนถือเป็นสายงานหลักของ
                             ประเทศ มีหน้าที่ผลิตสินค้าและบริการ

                             โครงสร้างแบบราบ มีความยืดหยุ่นสูง

                             การบริหารงนาต้องไม่ขัดกับระเบียบบริหารประเทศ


Thursday, October 11, 2012
สภาพการบริหารจัดการองค์การไทยในปัจจุบัน (ต่อ)

                    (2) การบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน (ต่อ)

                         เงื่อนไขสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน
                         ได้แก่

                        1. ความแตกต่างบนความเหมือน ในเรื่องการปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกันจากหน่วย
                           งานรัฐบาล

                        2. ทัศนคติต่ออาชีพ งานเอกชนเป็นงานที่ท้าทาย ความมั่นคงในอาชีพขึ้นอยู่กับ
                           ความสามารถของตนเอง จึงอาจถูดฉุดรั้งไว้ด้วยหน่วยงานราชการที่ควรจะต้อง
                           ทําหน้าที่สนับบสนุนองค์การภาคเอกชน

                        3. การเริ่มต้นทุนที่ไม่ได้เกิดจากกระบวนการผลิต เช่นการเสียเบี้ยตามรายทางเพื่อ
                           เร่งขั้นตอนการทํางานขององค์การราชการเป็นต้น

                         การปรับตัวขององค์การภาคเอกชน: เข้าไปช่วยรัฐบาลพัฒนาพื้นที่ ชุมชน และสังคม


Thursday, October 11, 2012
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ

                     (1) ระบบราชการไทยชี้นําการบริหารจัดการภาคเอกชน

                             ถ้าระบบราชการส่งเสริมสนับสนุนภาคเอกชน ก็ขะสร้างพลังในการพัฒนา
                             ประเทศ แต่ถ้าเป็นในลักษณะการควบคุมตรวจสอบก็จะฉุดระบบการผลิต
                             สินค้าและบริการให้ตกต่ําลงไปได้ เพราะฉะนั้นคนในภาครัฐต้องมีความ
                             เข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการองค์การให้มากกว่าที่เป็นอยู่

                     (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย

                             ร ั ฐ บาลพยายามแก ้ ป ั ญ หาความล ่ า ช ้ า ในการปฏ ิ บ ั ต ิ ง าน และสร้ า งความ
                             โปร่งใส โดยการแบ่งอํานาจ หรือกระจายอํานาจจากส่วนกลางแบบมีห่วงโซ่
                             เช่นการจัดองค์การของรัฐที่เป็นนิติบุคคลไม่เป็นส่วนราชการ เช่นรัฐวิสาหกิจ
                             องค์การอิสระ และองค์การมหาชน



Thursday, October 11, 2012
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ)
                     (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย (ต่อ)

                             สภาพปัญหาที่ก่อตัวมีดังนี้

                             1. โครงสร้างองค์การยังเป็นแบบราชการอยู่

                             2. ค่าจ้างต่อหัวราคาสูงกว่าทางราชการ เป็นภาระแก้รัฐในระยะยาว แต่ให้
                                ผลไม้คุ้มค่า

                             3. คณะกรรมการส่วนใหญ่มาจากส่วนราชการ จึงมีการยึดติดกฎระเบียบ
                                ของทางราชการ

                             4. พนักงานรู้สึกเป็นพนักงานของรัฐ ถึงแ้จะมีสัญญางานแค่ปีสองปี เนื่องจาก
                                ผู้บริหารยังใช้ระบบอุปภัมภ์จึงไม่ค่อยมีการไล่ออก

                             5. แนวคิดการใช้เงินเป็นก้อน โดยหวังเอาดอกผลไปจ่าย แต่เมื่อไม่เป็นไป
                                ตามแผนจึงก่อเกิดเป็นภาระในระยะยาว


Thursday, October 11, 2012
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ)

            (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย (ต่อ)

                      สภาพปัญหาที่ก่อตัวมีดังนี้ (ต่อ)

                      6. ต้องคํานึงถึงระเบียบขององค์การ และระเบียบราชการไปพร้อมๆกัน

                      7. เวลาส่วนใหญ่จะจมอยู่กับเอกสาร

                      8. ผู้บริหารมักเป็นผู้เกษียรมาจากหน่วยงานราชการ การบริหารจึงไม่มีความแตกต่าง

                      9. ผู้บริหารที่มาจากองค์การเอกชน ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้เพราะต้องยึดต่าง
                         กฎระเบียบเดิม

                      10.พนักงานได้รับเงินเดือนสูงก็จริง แต่ยังคนคิดว่าการเป็นการบริการสาธารณะ จึงไม่
                         ได้คํานึงถึงผลกําไร เพราะอย่างไรรัฐก็ต้อสนับสนุนงบประมาณอยู่แล้ว

                      11. เกิดความรู้สึกไม่มีศักดิ์ศรีของพนักงาน


Thursday, October 11, 2012
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ

                     (3) ความด้อยประสิทธิภาพของระบบราชการไทย

                             รัฐบาลได้หาทางออกโดยยึดหลักการกระจายอํานาจ และแบ่งอํานาจ

                     (4) การพัฒนาระบบราชการยุคใหม่สู่มาตรฐานสากล

                             นโยบายด้านการบริหาราชการแผ่นดิน มาตรา 78 ในรัฐธรรมนูญ มุ่งเน้นการ
                             พัฒนาและปรับปรุงระบบบริหารงานภาครัฐ เพื่อตอบสนองความต้องการของ
                             ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม

                             คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไทย หรือ ก.พ.ร. ได้จัดทํายุทธศาสตร์การ
                             พัฒนา ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 ขึ้น โดยได้นําเกณฑ์คุณภาพบริหารจัดการ
                             ภาครัฐ PMQA (Public Management Quality Award) มาใช้ เพื่อยกระดับ
                             คุณภาพระบบราชการไทย ให้มีขีดความสามารถเทียบเท่าสากล



Thursday, October 11, 2012
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ

           (4) การพัฒนาระบบราชการยุคใหม่สู่มาตรฐานสากล (ต่อ)

                      การบริหารจัดการองค์การตามเกณฑ์ PMQA มี 7 หมวด ได้แก่

                             หมวด 1: การปรับปรุงในเรื่องการนําองค์กรของผู้บริหารให้มีวิสัยทัศน์ และทิศทางที่ชัดเจน

                             หมวด 2: การวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดี และนําไปปฏิบัติได้จริง

                             หมวด 3: การให้ความสําคุญกับผู้รับบริการ สามารถตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังของ
                             ประชาชน

                             หมวด 4: การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ให้ถูกต้องทันสมัย

                             หมวด 5: การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและนําองค์กรไปสู่
                             เป้าหมายที่ตั้งไว้ร่วมกัน

                             หมวด 6: การจัดการกระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งมอบบริการที่ดีให้กับประชาชน

                             หมวด 7: สามารถปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ การ
                             บริหารเป็นระบบมีประสิทธิภาพ

Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ
                การพัฒนาอย่างมั่นคงนั้น ผู้บริหารต้องให้ความสําคัญกับการใช้ทรัพยากรเพ่ือการพัฒนา ทั้ง 4
                ด้าน ได้แก่ มิติทางการเงิน มิติทางกระบวนการภายใน มิติทางการเรียนรู้และนวัตกรรม และมิติทาง
                ด้านลูกค้า

                องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) คือ

                     เป็นองค์การที่มนุษย์สามารถขยายศักยภาพ (Capacity) อย่างต่อเนื่องในการสร้างผลลัพธ์ตาม
                     ที่ต้องการ

                     เป็นองค์การที่ให้การส่งเสริมรูปแบบความคิด (Pattern of Thinking) แบบใหม่

                     เป็นที่ที่ความทะเยอทะยานร่วมของทุกคน (Collective Aspiration) ได้รับการยอมรับ

                     เป็นที่ๆมนุษย์เรียนร้ที่จะเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้บรรยากาศแ่งความไว้วางใจ
                     (Trust) มีสัมพัธภาพภายใน (Relationship)ที่ดี มีการยอมรับซึ่งกันและกัน (Acceptance) มี
                     ความสอดคล้องกลมกลืนกันของสมาชิก (Synergy) ตลอดจนสามารถสร้างผลลัพธ์ที่นํามาซึ่ง
                     ความสําเร็จได้


Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ)
                องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) (ต่อ)

                     สาระสําคัญของการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ 5 ประการ

                    1. ทักษะของพนักงาน (Personal mastery)

                    2. สภาพความพร้อมของจิตใจของพนักงาน (Mental model)

                    3. การแชร์คุณค่าร่วมกัน (Building shared vision)

                    4. การเรียนรู้เป็นทีม (Team learning)

                    5. การคิดอย่างเป็นระบบ (System thinking)


Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ)
                 องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) (ต่อ)

                      ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้

                      1. รูปแบบองค์การ (Organization Design): ไร้พรมแดน, ทํางานเป็นทีม, การให้อํานาจ,
                         แบ่งปันข้อมูล, ให้ความร่วมมือในงานต่างๆของทุกหน่วยงาน, ลดหรือกําจัดของเขตที่เป็น
                         ทางการขององค์การลง ให้พนักงานมีอิสระและเต็มใจในการทํางานร่วมกัน

                      2. การจัดการข้อมูล (Information sharing) เป็นแบบอิสระ, ทันเวลา, แม่นยํา, แบ่งปัน
                         ข้อมูลระหว่างกัน

                      3. บทบาทผู้นํา (Leadership) สร้างวิสัยทัศน์ร่วม (Shared vision) และความร่วมมือ
                         (Collaboration)

                      4. วัฒนธรรมองค์การ (Organization culture) สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิด สํานึกของความ
                         เป็นกลุ่ม ใส่ใจกันและกัน ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมภายนอก และยึดมั่นในวิสัยทัศน์ร่วม


Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ)
                ตัวอย่าง องค์การแห่งการเรียนรู้ของประเทศไทย

                บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน)

                     ใช้การฝึกอบอบรม การสับเปลี่ยนตําแหน่ง การสร้างเครือข่าย สร้างชุมชนที่เป็นแหล่ง
                     รวมวิธีปฏิบัติชั้นเลิศ การเยี่ยมชมหน่วยงาน และการสื่อสารผ่านระบบอินทราเนต
                     เป็นการสร้างพนักงานให้เป็นสมาชิกที่มีคุณค่า ในสังคมฐานความรู้

                     องค ์ ค วามร ู ้ เ หล ่ า น ี ้ ช ่ ว ยองค ์ ก รเพ ิ ่ ม ผลผล ิ ต ลดเวลาการทํ า งาน และผั ก ดั น ให้ เ กิ ด
                     นวัตกรรมต่างๆขึ้น

                     ให้ความสําคัญกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทําให้พนักงานมีความกระตือรื้อร้นที่จะพัฒนา
                     ตนเองอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้ต้นทุนการฝึกอบรมลดลง และมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์
                     อย่างสม่ําเสมอ

                     มีการประชุมเกี่ยวกับการพัฒนามนุษย์ทุกเดือน


Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ)
                องค์การที่มีแนวโน้มประสบความสําเร็จควรมีลักษณะดังนี้

                    1. โครงสร้างองค์การแบนราบและจัดการงานในลักษณะเครือข่าย

                    2. กลไกลการบริหารจัดการต้องทําให้เหมือนมีชีวิต

                    3. ผู้บริหารมีความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กร

                    4. ผู้บริหารมีประสบการณ์และทักษะการบริหาร

                    5. พนักงานมีความใฝ่รู็ในเทคโนโลยีและเทคนิคการบริหารใหม่ๆ กระตือรือร้น พัฒนา
                       ตนเองอยู่ตลอดเวลา

                    6. พนักงานยอมรับการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติวิสัย

                    7. ต้องมี้อมูลครบถ้วนสําหรับการตัดสินใจของผู้บริหาร

                    8. ต้องมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี


Thursday, October 11, 2012
องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ)
                อุปสรรคและปัญหาในการนําพาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คือ

                    1. การมีทัศนคติต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

                    2. การหลงอยู่กับความสําเร็จในอดีต จนไม่คํานึงถึงความเป็นจริงในปัจจุบัน

                    3. การติดต่อสื่อสารภายในองค์การที่ไม่มีประสิทธิภาพ

                    4. การไม่เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้มีบทบาท

                    5. ผู้นําองค์การทุกระดับไม่ใฝ่รู้

                    6. ผู้นําองค์การไร้ความสามารถ

                    7. ผู้บริหารที่ดีไม่ได้สืบทอดความรู้ให้ผู้บริหารรุ่นต่อไป




Thursday, October 11, 2012
References

                      Cover Images: http://www.levyinnovation.com/business-guidance-from-
                      the-future, http://www.inmagazine.cgsm.org/inside//past-articles/the-
                      future-of-corporate-social-responsibility, http://www.tech2date.com/
                      plan-for-the-future-with-business-technology.html, http://
                      www.cleanhouston.org/business/features/future_companies.htm,
                      http://www.sdkcm.org/category/future-expansion

                      ศิริจันทร์ เชื้อสุวรรณ, (2553). การพัฒนาองค์การ (organization development).
                      เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏ.




Thursday, October 11, 2012

More Related Content

What's hot

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
wiraja
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาNatepanna Yavirach
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
Watcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
pantapong
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Nittaya Intarat
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Phakawat Owat
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมmaymymay
 

What's hot (20)

การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
การบริหารการเปลี่ยนแปลง1
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 

Viewers also liked

Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การ
Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การChapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การ
Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การwanna2728
 
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การเทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
pgnatit
 
ยกเครื่ององค์กร 2
ยกเครื่ององค์กร 2ยกเครื่ององค์กร 2
ยกเครื่ององค์กร 2
DrDanai Thienphut
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Aj.Mallika Phongphaew
 
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผลผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
Kriengsak Niratpattanasai
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
Kriengsak Niratpattanasai
 
10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนายKriengsak Niratpattanasai
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
Kriengsak Niratpattanasai
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
ประพันธ์ เวารัมย์
 
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
businessnetworkguru
 

Viewers also liked (12)

Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การ
Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การChapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การ
Chapter6 เทคนิคพัฒนาองค์การ
 
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การเทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
เทคนิคต่างๆ ในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
 
ยกเครื่ององค์กร 2
ยกเครื่ององค์กร 2ยกเครื่ององค์กร 2
ยกเครื่ององค์กร 2
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผลผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
 
10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
 
รวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ชรวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ช
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
7 habits of 'the rabbit and the tortoise'
 

Similar to Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย

บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
Pattie Pattie
 
Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
Ban Kanchanampa Kanchanampa
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
Wanwisate Promwong
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
Teetut Tresirichod
 

Similar to Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย (20)

บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
ITPE-IT-Passport
ITPE-IT-PassportITPE-IT-Passport
ITPE-IT-Passport
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
Proposing thailand40
Proposing thailand40Proposing thailand40
Proposing thailand40
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Administrative reform
Administrative reformAdministrative reform
Administrative reform
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย

  • 1. ºบ·ท∙·ท∙Õีè่ 10 áแ¹นÇว·ท∙Òา§ง¡กÒาÃร¾พÑั²ฒ¹นÒาÍอ§ง¤ค¡กÒาÃรãใ¹นÊสÑั§ง¤คÁมäไ·ท∙Âย ¨จÑั ´ด·ท∙ÓำáแÅลÐะºบÃรÃรÂยÒาÂยâโ´ดÂย: ¹นÒา§งÊสÒาÇวÇวÃรÃร³ณÇว³ณÑัªช ¹น§ง¹นØุªช Thursday, October 11, 2012
  • 2. Outline องค์การในสังคมไทย อิทธิพลการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ สภาพการบริหารจัดการองค์กรไทยในปัจจุบัน การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ องค์การแห่งความสําเร็จ Thursday, October 11, 2012
  • 3. องค์การในสังคมไทย แบ่งได้เป็นองค์การภาครัฐ และองค์การภาคเอกชน (1) องค์การภาครัฐ ประกอบด้วยองค์การรูปแบบต่างๆดังนี้ 1. ส่วนราชการ แบ่งเป็น 3 ระดับคือ องค์การาชการส่วนกลาง, องค์การ ราชการส่วนภูมิภาค และ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 2. รัฐวิสาหกิจ 3. องค์การมหาชน 4. องค์การอิสระตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 5. องค์การของรัฐที่บริหารงานเป็นอิสระ Thursday, October 11, 2012
  • 4. องค์การในสังคมไทย (ต่อ) (2)องค์การภาคเอกชน การจัดตั้งต้องเป็นไปตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายเฉพาะให้จัดตั้ง มี 7 รูปแบบ คือ บริษัทมหาชนจํากัด บริษัทเอกชนจํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างหุ้น ส่วนสามัญ กิจการเจ้าของคนเดียว สมาคม มูลนิธิ ประเทศหรือรัฐก็ถือเป็นองค์การชนิดหนึ่ง การดําเนินกิจการทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องสอดคล้องกับกฎหมายของประเทศนั้นๆ เนื่องจากการแข่งขันที่รุนแรงในเวทีโลก จะไม่มีการแบ่งพรมแดนความเป็นรัฐหรือ เอกชน Thursday, October 11, 2012
  • 5. อิทธิพลการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (1) การบริหารจัดการบนทางสองแพร่ง การบริหารจัดการของคนไทย ต้องการความสําเร็จในวัตถุประสงค์ และความ ถูกต้องของกระบวนการไปพร้อมๆกัน เช่นการเปลี่ยนระบบการทํางานจากแบบมุ่งยึดระบบกฎเกณฑ์ มาเป็นแบบมุ่ง ความสําเร็จเป็นตัวตั้ง (2) การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective) ในสมัยอดีตไทยเรามีสุภาษิตที่ว่า “ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน” แต่ปัจจุบัน กลับเปลี่ยนไปเป็น “ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน เราต้องเน้นที่การบรรลุเป้าหมายเป็น สําคัญ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยการสร้างตัวชี้วัด (KPI) ที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน Thursday, October 11, 2012
  • 6. สภาพการบริหารจัดการองค์การไทยในปัจจุบัน (1) การบริหารจัดการองค์การภาครัฐ ประเทศหรือรัฐ ก็ถือเป็นองค์การชนิดหนึ่ง องค์การภาครัฐถือเป็นสายงาน สนับสนุนการทํางานของเอกชนอีกทีหนึ่ง โครงสร้างเป็นแบบสูง สายการบังคับบัญชาหลายชั้น มีสองสาเหตุคือ เพื่อ ต้ อ งการควบคุ ม ตรวจสอบคุ ณ ภาพสิ น ค้ า และการบริ ก ารทุ ก ขั ้ น ตอน และอี ก เหตุผลหนึ่งคือ เพราะไม่ไว้วางใจให้พนักงานปฏิบัติงานโดยอิสระได้ (2) การบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน จากมุมมองระดับประเทศ หรือรัฐไทย องค์การเอกชนถือเป็นสายงานหลักของ ประเทศ มีหน้าที่ผลิตสินค้าและบริการ โครงสร้างแบบราบ มีความยืดหยุ่นสูง การบริหารงนาต้องไม่ขัดกับระเบียบบริหารประเทศ Thursday, October 11, 2012
  • 7. สภาพการบริหารจัดการองค์การไทยในปัจจุบัน (ต่อ) (2) การบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน (ต่อ) เงื่อนไขสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การภาคเอกชน ได้แก่ 1. ความแตกต่างบนความเหมือน ในเรื่องการปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกันจากหน่วย งานรัฐบาล 2. ทัศนคติต่ออาชีพ งานเอกชนเป็นงานที่ท้าทาย ความมั่นคงในอาชีพขึ้นอยู่กับ ความสามารถของตนเอง จึงอาจถูดฉุดรั้งไว้ด้วยหน่วยงานราชการที่ควรจะต้อง ทําหน้าที่สนับบสนุนองค์การภาคเอกชน 3. การเริ่มต้นทุนที่ไม่ได้เกิดจากกระบวนการผลิต เช่นการเสียเบี้ยตามรายทางเพื่อ เร่งขั้นตอนการทํางานขององค์การราชการเป็นต้น การปรับตัวขององค์การภาคเอกชน: เข้าไปช่วยรัฐบาลพัฒนาพื้นที่ ชุมชน และสังคม Thursday, October 11, 2012
  • 8. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (1) ระบบราชการไทยชี้นําการบริหารจัดการภาคเอกชน ถ้าระบบราชการส่งเสริมสนับสนุนภาคเอกชน ก็ขะสร้างพลังในการพัฒนา ประเทศ แต่ถ้าเป็นในลักษณะการควบคุมตรวจสอบก็จะฉุดระบบการผลิต สินค้าและบริการให้ตกต่ําลงไปได้ เพราะฉะนั้นคนในภาครัฐต้องมีความ เข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการองค์การให้มากกว่าที่เป็นอยู่ (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย ร ั ฐ บาลพยายามแก ้ ป ั ญ หาความล ่ า ช ้ า ในการปฏ ิ บ ั ต ิ ง าน และสร้ า งความ โปร่งใส โดยการแบ่งอํานาจ หรือกระจายอํานาจจากส่วนกลางแบบมีห่วงโซ่ เช่นการจัดองค์การของรัฐที่เป็นนิติบุคคลไม่เป็นส่วนราชการ เช่นรัฐวิสาหกิจ องค์การอิสระ และองค์การมหาชน Thursday, October 11, 2012
  • 9. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ) (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย (ต่อ) สภาพปัญหาที่ก่อตัวมีดังนี้ 1. โครงสร้างองค์การยังเป็นแบบราชการอยู่ 2. ค่าจ้างต่อหัวราคาสูงกว่าทางราชการ เป็นภาระแก้รัฐในระยะยาว แต่ให้ ผลไม้คุ้มค่า 3. คณะกรรมการส่วนใหญ่มาจากส่วนราชการ จึงมีการยึดติดกฎระเบียบ ของทางราชการ 4. พนักงานรู้สึกเป็นพนักงานของรัฐ ถึงแ้จะมีสัญญางานแค่ปีสองปี เนื่องจาก ผู้บริหารยังใช้ระบบอุปภัมภ์จึงไม่ค่อยมีการไล่ออก 5. แนวคิดการใช้เงินเป็นก้อน โดยหวังเอาดอกผลไปจ่าย แต่เมื่อไม่เป็นไป ตามแผนจึงก่อเกิดเป็นภาระในระยะยาว Thursday, October 11, 2012
  • 10. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (ต่อ) (2) ปัญหาการบริหารจัดการภาครัฐไทย (ต่อ) สภาพปัญหาที่ก่อตัวมีดังนี้ (ต่อ) 6. ต้องคํานึงถึงระเบียบขององค์การ และระเบียบราชการไปพร้อมๆกัน 7. เวลาส่วนใหญ่จะจมอยู่กับเอกสาร 8. ผู้บริหารมักเป็นผู้เกษียรมาจากหน่วยงานราชการ การบริหารจึงไม่มีความแตกต่าง 9. ผู้บริหารที่มาจากองค์การเอกชน ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้เพราะต้องยึดต่าง กฎระเบียบเดิม 10.พนักงานได้รับเงินเดือนสูงก็จริง แต่ยังคนคิดว่าการเป็นการบริการสาธารณะ จึงไม่ ได้คํานึงถึงผลกําไร เพราะอย่างไรรัฐก็ต้อสนับสนุนงบประมาณอยู่แล้ว 11. เกิดความรู้สึกไม่มีศักดิ์ศรีของพนักงาน Thursday, October 11, 2012
  • 11. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (3) ความด้อยประสิทธิภาพของระบบราชการไทย รัฐบาลได้หาทางออกโดยยึดหลักการกระจายอํานาจ และแบ่งอํานาจ (4) การพัฒนาระบบราชการยุคใหม่สู่มาตรฐานสากล นโยบายด้านการบริหาราชการแผ่นดิน มาตรา 78 ในรัฐธรรมนูญ มุ่งเน้นการ พัฒนาและปรับปรุงระบบบริหารงานภาครัฐ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไทย หรือ ก.พ.ร. ได้จัดทํายุทธศาสตร์การ พัฒนา ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 ขึ้น โดยได้นําเกณฑ์คุณภาพบริหารจัดการ ภาครัฐ PMQA (Public Management Quality Award) มาใช้ เพื่อยกระดับ คุณภาพระบบราชการไทย ให้มีขีดความสามารถเทียบเท่าสากล Thursday, October 11, 2012
  • 12. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (4) การพัฒนาระบบราชการยุคใหม่สู่มาตรฐานสากล (ต่อ) การบริหารจัดการองค์การตามเกณฑ์ PMQA มี 7 หมวด ได้แก่ หมวด 1: การปรับปรุงในเรื่องการนําองค์กรของผู้บริหารให้มีวิสัยทัศน์ และทิศทางที่ชัดเจน หมวด 2: การวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดี และนําไปปฏิบัติได้จริง หมวด 3: การให้ความสําคุญกับผู้รับบริการ สามารถตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังของ ประชาชน หมวด 4: การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ให้ถูกต้องทันสมัย หมวด 5: การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและนําองค์กรไปสู่ เป้าหมายที่ตั้งไว้ร่วมกัน หมวด 6: การจัดการกระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งมอบบริการที่ดีให้กับประชาชน หมวด 7: สามารถปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ การ บริหารเป็นระบบมีประสิทธิภาพ Thursday, October 11, 2012
  • 13. องค์การแห่งความสําเร็จ การพัฒนาอย่างมั่นคงนั้น ผู้บริหารต้องให้ความสําคัญกับการใช้ทรัพยากรเพ่ือการพัฒนา ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ มิติทางการเงิน มิติทางกระบวนการภายใน มิติทางการเรียนรู้และนวัตกรรม และมิติทาง ด้านลูกค้า องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) คือ เป็นองค์การที่มนุษย์สามารถขยายศักยภาพ (Capacity) อย่างต่อเนื่องในการสร้างผลลัพธ์ตาม ที่ต้องการ เป็นองค์การที่ให้การส่งเสริมรูปแบบความคิด (Pattern of Thinking) แบบใหม่ เป็นที่ที่ความทะเยอทะยานร่วมของทุกคน (Collective Aspiration) ได้รับการยอมรับ เป็นที่ๆมนุษย์เรียนร้ที่จะเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้บรรยากาศแ่งความไว้วางใจ (Trust) มีสัมพัธภาพภายใน (Relationship)ที่ดี มีการยอมรับซึ่งกันและกัน (Acceptance) มี ความสอดคล้องกลมกลืนกันของสมาชิก (Synergy) ตลอดจนสามารถสร้างผลลัพธ์ที่นํามาซึ่ง ความสําเร็จได้ Thursday, October 11, 2012
  • 14. องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ) องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) (ต่อ) สาระสําคัญของการพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ 5 ประการ 1. ทักษะของพนักงาน (Personal mastery) 2. สภาพความพร้อมของจิตใจของพนักงาน (Mental model) 3. การแชร์คุณค่าร่วมกัน (Building shared vision) 4. การเรียนรู้เป็นทีม (Team learning) 5. การคิดอย่างเป็นระบบ (System thinking) Thursday, October 11, 2012
  • 15. องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ) องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) (ต่อ) ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้ 1. รูปแบบองค์การ (Organization Design): ไร้พรมแดน, ทํางานเป็นทีม, การให้อํานาจ, แบ่งปันข้อมูล, ให้ความร่วมมือในงานต่างๆของทุกหน่วยงาน, ลดหรือกําจัดของเขตที่เป็น ทางการขององค์การลง ให้พนักงานมีอิสระและเต็มใจในการทํางานร่วมกัน 2. การจัดการข้อมูล (Information sharing) เป็นแบบอิสระ, ทันเวลา, แม่นยํา, แบ่งปัน ข้อมูลระหว่างกัน 3. บทบาทผู้นํา (Leadership) สร้างวิสัยทัศน์ร่วม (Shared vision) และความร่วมมือ (Collaboration) 4. วัฒนธรรมองค์การ (Organization culture) สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิด สํานึกของความ เป็นกลุ่ม ใส่ใจกันและกัน ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมภายนอก และยึดมั่นในวิสัยทัศน์ร่วม Thursday, October 11, 2012
  • 16. องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ) ตัวอย่าง องค์การแห่งการเรียนรู้ของประเทศไทย บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน) ใช้การฝึกอบอบรม การสับเปลี่ยนตําแหน่ง การสร้างเครือข่าย สร้างชุมชนที่เป็นแหล่ง รวมวิธีปฏิบัติชั้นเลิศ การเยี่ยมชมหน่วยงาน และการสื่อสารผ่านระบบอินทราเนต เป็นการสร้างพนักงานให้เป็นสมาชิกที่มีคุณค่า ในสังคมฐานความรู้ องค ์ ค วามร ู ้ เ หล ่ า น ี ้ ช ่ ว ยองค ์ ก รเพ ิ ่ ม ผลผล ิ ต ลดเวลาการทํ า งาน และผั ก ดั น ให้ เ กิ ด นวัตกรรมต่างๆขึ้น ให้ความสําคัญกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทําให้พนักงานมีความกระตือรื้อร้นที่จะพัฒนา ตนเองอยู่ตลอดเวลา ส่งผลให้ต้นทุนการฝึกอบรมลดลง และมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อย่างสม่ําเสมอ มีการประชุมเกี่ยวกับการพัฒนามนุษย์ทุกเดือน Thursday, October 11, 2012
  • 17. องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ) องค์การที่มีแนวโน้มประสบความสําเร็จควรมีลักษณะดังนี้ 1. โครงสร้างองค์การแบนราบและจัดการงานในลักษณะเครือข่าย 2. กลไกลการบริหารจัดการต้องทําให้เหมือนมีชีวิต 3. ผู้บริหารมีความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กร 4. ผู้บริหารมีประสบการณ์และทักษะการบริหาร 5. พนักงานมีความใฝ่รู็ในเทคโนโลยีและเทคนิคการบริหารใหม่ๆ กระตือรือร้น พัฒนา ตนเองอยู่ตลอดเวลา 6. พนักงานยอมรับการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติวิสัย 7. ต้องมี้อมูลครบถ้วนสําหรับการตัดสินใจของผู้บริหาร 8. ต้องมีการกํากับดูแลกิจการที่ดี Thursday, October 11, 2012
  • 18. องค์การแห่งความสําเร็จ(ต่อ) อุปสรรคและปัญหาในการนําพาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คือ 1. การมีทัศนคติต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 2. การหลงอยู่กับความสําเร็จในอดีต จนไม่คํานึงถึงความเป็นจริงในปัจจุบัน 3. การติดต่อสื่อสารภายในองค์การที่ไม่มีประสิทธิภาพ 4. การไม่เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้มีบทบาท 5. ผู้นําองค์การทุกระดับไม่ใฝ่รู้ 6. ผู้นําองค์การไร้ความสามารถ 7. ผู้บริหารที่ดีไม่ได้สืบทอดความรู้ให้ผู้บริหารรุ่นต่อไป Thursday, October 11, 2012
  • 19. References Cover Images: http://www.levyinnovation.com/business-guidance-from- the-future, http://www.inmagazine.cgsm.org/inside//past-articles/the- future-of-corporate-social-responsibility, http://www.tech2date.com/ plan-for-the-future-with-business-technology.html, http:// www.cleanhouston.org/business/features/future_companies.htm, http://www.sdkcm.org/category/future-expansion ศิริจันทร์ เชื้อสุวรรณ, (2553). การพัฒนาองค์การ (organization development). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏ. Thursday, October 11, 2012