SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ
ศึกษา 2552
แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การลำาเลียงอาหารในพืช
เวลา 1 คาบ ส 6-2
*****************************************************
*************************
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้)
1. นักเรียนสามารถทำาการทดลองและอธิบายกลไกของ
เนื้อเยื่อที่ทำาหน้าที่ลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุได้
2. นักเรียนสามารถระบุเนื้อเยื่อที่ทำาหน้าที่ในการลำาเลียง
อาหารและอธิบายกลไกในการลำาเลียงได้
2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ
3. แนวคิด
พืชมีระบบลำาเลียงเพื่อใช้ลำาเลียงนำ้า แร่ธาตุต่างๆ จากดินไป
สู่ส่วนต่างๆ ของพืช โดยการลำาเลียงนี้จะเกี่ยวข้องกับการคายนำ้า
ของพืช เมื่อพืชได้รับนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ แล้วจะนำาไปใช้เป็น
วัตถุดิบในการสร้างอาหารและใช้ในกระบวนการอื่นๆ ที่จำาเป็นต่อ
การดำารงชีวิต และเมื่อพืชสร้างอาหารแล้ว ก็จะลำาเลียงอาหารไปสู่
ส่วนต่างๆ ของพืชเช่นกัน
4. สาระการเรียนรู้
การลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุของพืช
พืชจะดูดนำ้าและแร่ธาตุบริเวณปลายราก และจะถูกลำาเลียง
ไปโดยท่อลำาเลียงนำ้า ซึ่งพืชจะมีเนื้อเยื่อลำาเลียงอยู่ 2 กลุ่ม คือ ไซ
เลม (Xylem) เป็นเนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุ และโฟลเอม
(Phloem) เป็นเนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารที่พืชสร้างขึ้น โดยเนื้อเยื่อ
ทั้งสองจะประกอบกันเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อลำาเลียงที่พบทั้งในราก
ลำาต้น กิ่ง ใบ อย่างต่อเนื่องกัน
โครงสร้างของราก และกระบวนการในการลำาเลียงนำ้าและ
แร่ธาตุ
1. ขนราก อยู่เหนือปลายรากเล็กน้อย มีลักษณะเป็นขนเส้นเล็ก
เป็นฝอยจำานวนมากอยู่รอบปลายราก เป็นโครงสร้างที่
เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ผิวนอกสุดของราก โดยผนังเซลล์ของ
แต่ละเซลล์จะยืดยาวออกไป การที่ขนรากมีจำานวนมากก็เพื่อเพิ่ม
พื้นที่ผิวในการสัมผัสนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ ในดินได้มากขึ้น ช่วย
ให้การดูดนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ เป็นไปอย่างสะดวก
2. กระบวนการดูดนำ้าและแร่ธาตุ พืชจะดูดนำ้าและแร่ธาตุทาง
ขนราก โดยจะดูดนำ้าด้วยวิธีการออสโมซิส ส่วนการดูดแร่ธาตุใช้
วิธีการแพร่
3. ท่อลำาเลียงนำ้าในราก ลำาต้น กิ่ง และใบ ได้แก่ ไซเลม เมื่อ
ขนรากดูดนำ้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากแล้ว จะถูกส่งผ่านไปยังเซลล์ชั้น
ต่างๆ ของรากจนเข้าสู่เซลล์ของท่อลำาเลียงนำ้า คือไซเลม ในราก
และลำาเลียงขึ้นไปทางท่อไซเลมของลำาต้น กิ่ง และใบ โดยมี
ทิศทางการลำาเลียงขึ้นเท่านั้น การลำาเลียงจะเกิดได้ดีในเวลากลาง
วันขณะที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงและคายนำ้าของพืช
การลำาเลียงอาหารของพืช
1. อาหารที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
นำ้าตาล ซึ่งจะถูกลำาเลียงไปโดยกลุ่มเซลล์ที่ทำาหน้าที่ลำาเลียง
อาหารโดยเฉพาะ เรียกว่า โฟลเอม หรือท่อลำาเลียงอาหาร
2. การลำาเลียงอาหารจะลำาเลียงจากใบไปยังส่วนต่างๆ ของพืชที่
ต้องการใช้อาหาร หรือเพื่อนำาไปเก็บสะสมยังแหล่งสะสมอาหาร
เช่น ราก ลำาต้น และหัว โดยอาหารจะแพร่ออกจากท่อลำาเลียง
อาหารไปยังเซลล์ต่างๆ โดยตรง
3. ทิศทางการลำาเลียงอาหารในท่อโฟลเอมมีทั้งขึ้นและลง แต่
อัตราการลำาเลียงอาหารในท่อโฟลเอมจะช้ากว่าการลำาเลียงนำ้า
และแร่ธาตุในท่อไซเลม
4. อาหารหรือนำ้าตาลในพืชจะถูกพืชนำาไปใช้ในกระบวนการ
หายใจ โดยอาหารจะรวมกับแก๊สออกซิเจนทำาให้เกิดพลังงาน
และคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอนำ้าออกมา ซึ่งพลังงานจะ
ถูกนำาไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิตของพืช เช่น
การเจริญเติบโต การสร้างใบ ดอก ผล
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำา (5 นาที)
1. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเมื่อนักเรียน
รับประทานอาหารเข้าไปแล้ว
อาหารของนักเรียนจะเดินทางไปยังส่วนใดของร่างกาย (ปาก
ลำาไส้เล็ก กระเพาะอาหาร ลำาไส้ใหญ่ รวมเรียกว่าระบบทางเดิน
อาหาร)
2. ครูถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าพืชจะมีระบบดัง
กล่าวหรือไม่ (พืชมีการ
ลำาเลียงสารอาหารเช่นเดียวกัน)
3. ครูกล่าวว่า พืชก็มีการลำาเลียงอาหารไปยังส่วนต่างๆ ดัง
เช่นมนุษย์ ซึ่งในคาบเรียนนี้
นักเรียนจะได้ศึกษาว่า พืชมีการลำาเลียงนำ้าและอาหารอย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
1. ครูอธิบายกิจกรรมเรื่อง “ ”การลำาเลียงอาหารในพืช ดังนี้
- หยดหมึกแดงลงในขวดที่มีนำ้าอยู่จุ่มต้นขึ้นช่ายโดยให้ราก
แช่หมึกไว้ประมาณ 30 นาที
- นำาต้นไม้ที่แช่ออกมาใช้ใบมีดตัดลำาต้นให้เป็นท่อนยาว
ประมาณ 1 เซนติเมตร นำาส่วนที่ตัดออกมาตัดขวางให้เป็น
แผ่นบางที่สุด นำาไปวางบนสไลด์ หยดนำ้า ปิดด้วยกระจก นำา
ส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ วาดรูปบันทึกผลที่สังเกตได้
2. ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมเรื่อง “การลำาเลียง
”อาหารในพืช พร้อมบันทึก
ผลการทดลองลงไปในหนังสือ
3. ครูให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเรื่องการลำาเลียงอาหารใน
พืช
ขั้นสรุป (5 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การลำาเลียงอาหารในพืช
ให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน
6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
- หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑
- นำ้า - หลอดหยด
- ขวด - กล้องจุลทรรศน์
- ใบมีด - ต้นขึ้นช่าย
- หมึกแดง - แผ่นสไลด์พร้อมกระจกปิดสไลด์
7. การวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน
เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ
นักเรียน
8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน)
1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
............................. ....................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน /
เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 

Viewers also liked

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชNokko Bio
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

Viewers also liked (7)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundpantiluck
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 11
รายงานผลจุดเน้นที่ 11รายงานผลจุดเน้นที่ 11
รายงานผลจุดเน้นที่ 11kruchaily
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6rainacid
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารWilawon Jatinei
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 11
รายงานผลจุดเน้นที่ 11รายงานผลจุดเน้นที่ 11
รายงานผลจุดเน้นที่ 11
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

More from Wann Rattiya

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environmentWann Rattiya
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองWann Rattiya
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่Wann Rattiya
 

More from Wann Rattiya (12)

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
 

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2552 แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การลำาเลียงอาหารในพืช เวลา 1 คาบ ส 6-2 ***************************************************** ************************* 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้) 1. นักเรียนสามารถทำาการทดลองและอธิบายกลไกของ เนื้อเยื่อที่ทำาหน้าที่ลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุได้ 2. นักเรียนสามารถระบุเนื้อเยื่อที่ทำาหน้าที่ในการลำาเลียง อาหารและอธิบายกลไกในการลำาเลียงได้ 2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มีจิตสาธารณะ 3. แนวคิด พืชมีระบบลำาเลียงเพื่อใช้ลำาเลียงนำ้า แร่ธาตุต่างๆ จากดินไป สู่ส่วนต่างๆ ของพืช โดยการลำาเลียงนี้จะเกี่ยวข้องกับการคายนำ้า ของพืช เมื่อพืชได้รับนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ แล้วจะนำาไปใช้เป็น วัตถุดิบในการสร้างอาหารและใช้ในกระบวนการอื่นๆ ที่จำาเป็นต่อ การดำารงชีวิต และเมื่อพืชสร้างอาหารแล้ว ก็จะลำาเลียงอาหารไปสู่ ส่วนต่างๆ ของพืชเช่นกัน 4. สาระการเรียนรู้ การลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุของพืช พืชจะดูดนำ้าและแร่ธาตุบริเวณปลายราก และจะถูกลำาเลียง ไปโดยท่อลำาเลียงนำ้า ซึ่งพืชจะมีเนื้อเยื่อลำาเลียงอยู่ 2 กลุ่ม คือ ไซ เลม (Xylem) เป็นเนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุ และโฟลเอม (Phloem) เป็นเนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารที่พืชสร้างขึ้น โดยเนื้อเยื่อ
  • 2. ทั้งสองจะประกอบกันเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อลำาเลียงที่พบทั้งในราก ลำาต้น กิ่ง ใบ อย่างต่อเนื่องกัน โครงสร้างของราก และกระบวนการในการลำาเลียงนำ้าและ แร่ธาตุ 1. ขนราก อยู่เหนือปลายรากเล็กน้อย มีลักษณะเป็นขนเส้นเล็ก เป็นฝอยจำานวนมากอยู่รอบปลายราก เป็นโครงสร้างที่ เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ผิวนอกสุดของราก โดยผนังเซลล์ของ แต่ละเซลล์จะยืดยาวออกไป การที่ขนรากมีจำานวนมากก็เพื่อเพิ่ม พื้นที่ผิวในการสัมผัสนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ ในดินได้มากขึ้น ช่วย ให้การดูดนำ้าและแร่ธาตุต่างๆ เป็นไปอย่างสะดวก 2. กระบวนการดูดนำ้าและแร่ธาตุ พืชจะดูดนำ้าและแร่ธาตุทาง ขนราก โดยจะดูดนำ้าด้วยวิธีการออสโมซิส ส่วนการดูดแร่ธาตุใช้ วิธีการแพร่ 3. ท่อลำาเลียงนำ้าในราก ลำาต้น กิ่ง และใบ ได้แก่ ไซเลม เมื่อ ขนรากดูดนำ้าและแร่ธาตุเข้าสู่รากแล้ว จะถูกส่งผ่านไปยังเซลล์ชั้น ต่างๆ ของรากจนเข้าสู่เซลล์ของท่อลำาเลียงนำ้า คือไซเลม ในราก และลำาเลียงขึ้นไปทางท่อไซเลมของลำาต้น กิ่ง และใบ โดยมี ทิศทางการลำาเลียงขึ้นเท่านั้น การลำาเลียงจะเกิดได้ดีในเวลากลาง วันขณะที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงและคายนำ้าของพืช การลำาเลียงอาหารของพืช 1. อาหารที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ นำ้าตาล ซึ่งจะถูกลำาเลียงไปโดยกลุ่มเซลล์ที่ทำาหน้าที่ลำาเลียง อาหารโดยเฉพาะ เรียกว่า โฟลเอม หรือท่อลำาเลียงอาหาร 2. การลำาเลียงอาหารจะลำาเลียงจากใบไปยังส่วนต่างๆ ของพืชที่ ต้องการใช้อาหาร หรือเพื่อนำาไปเก็บสะสมยังแหล่งสะสมอาหาร เช่น ราก ลำาต้น และหัว โดยอาหารจะแพร่ออกจากท่อลำาเลียง อาหารไปยังเซลล์ต่างๆ โดยตรง 3. ทิศทางการลำาเลียงอาหารในท่อโฟลเอมมีทั้งขึ้นและลง แต่ อัตราการลำาเลียงอาหารในท่อโฟลเอมจะช้ากว่าการลำาเลียงนำ้า และแร่ธาตุในท่อไซเลม 4. อาหารหรือนำ้าตาลในพืชจะถูกพืชนำาไปใช้ในกระบวนการ หายใจ โดยอาหารจะรวมกับแก๊สออกซิเจนทำาให้เกิดพลังงาน และคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอนำ้าออกมา ซึ่งพลังงานจะ ถูกนำาไปใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิตของพืช เช่น การเจริญเติบโต การสร้างใบ ดอก ผล 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำา (5 นาที)
  • 3. 1. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเมื่อนักเรียน รับประทานอาหารเข้าไปแล้ว อาหารของนักเรียนจะเดินทางไปยังส่วนใดของร่างกาย (ปาก ลำาไส้เล็ก กระเพาะอาหาร ลำาไส้ใหญ่ รวมเรียกว่าระบบทางเดิน อาหาร) 2. ครูถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าพืชจะมีระบบดัง กล่าวหรือไม่ (พืชมีการ ลำาเลียงสารอาหารเช่นเดียวกัน) 3. ครูกล่าวว่า พืชก็มีการลำาเลียงอาหารไปยังส่วนต่างๆ ดัง เช่นมนุษย์ ซึ่งในคาบเรียนนี้ นักเรียนจะได้ศึกษาว่า พืชมีการลำาเลียงนำ้าและอาหารอย่างไร ขั้นสอน (35 นาที) 1. ครูอธิบายกิจกรรมเรื่อง “ ”การลำาเลียงอาหารในพืช ดังนี้ - หยดหมึกแดงลงในขวดที่มีนำ้าอยู่จุ่มต้นขึ้นช่ายโดยให้ราก แช่หมึกไว้ประมาณ 30 นาที - นำาต้นไม้ที่แช่ออกมาใช้ใบมีดตัดลำาต้นให้เป็นท่อนยาว ประมาณ 1 เซนติเมตร นำาส่วนที่ตัดออกมาตัดขวางให้เป็น แผ่นบางที่สุด นำาไปวางบนสไลด์ หยดนำ้า ปิดด้วยกระจก นำา ส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ วาดรูปบันทึกผลที่สังเกตได้ 2. ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมเรื่อง “การลำาเลียง ”อาหารในพืช พร้อมบันทึก ผลการทดลองลงไปในหนังสือ 3. ครูให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดเรื่องการลำาเลียงอาหารใน พืช ขั้นสรุป (5 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การลำาเลียงอาหารในพืช ให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน 6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ - หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ - นำ้า - หลอดหยด - ขวด - กล้องจุลทรรศน์ - ใบมีด - ต้นขึ้นช่าย - หมึกแดง - แผ่นสไลด์พร้อมกระจกปิดสไลด์ 7. การวัดและประเมินผล
  • 4. - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ นักเรียน 8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน) 1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ............................. .................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ 2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน / เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
  • 5. .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน