SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 9 สิทธิมนุษยชน 
1 ความหมายและความสำคัญของสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน หมายถึง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับรอง หรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศ ไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม หลักการที่สำคัญสุดก็คือ มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชนจึงเป็นสิ่งที่รัฐธรรมนูญ มุ่งที่จะให้ความคุ้มครองแก่บุคคลทุกคน 
2.แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน 
-สิทธิมนุษยชน(Human Rights) เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะผลของสงครามนำมาซึ่งความ โหดร้าย -สหประชาชาติรับรองปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ที่ละเมิด ไม่ได้ ได้แก่ สิทธิในชีวิต สิทธิในการเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ สิทธิในการแสดงออกทางความคิด สิทธิใน การรวมกลุ่มสังคมกับคนอื่นด้วยวิถีสันติ ปลอดจากการทรมาน และการกระทำที่ลดความเป็นมนุษย์ -หลักการสำคัญของสิทธิมนุษยชน คือ ความเสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ ของไทย กฎหมายที่รับรองสิทธิ มนุษยชนที่สำคัญ คือ รัฐธรรมนูญ 
3. บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกที่มีผลต่อประเทศไทย 
• มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN) ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง 
เพื่อคุ้มครองและส่งเสริมเสรีภาพ ดำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ 
• องค์การสหประชาชาติได้มีการประชุมใหญ่และลงมติรับรอง กฎบัตรสหประชาชาติ 
ซึ่งรับรองสิทธิของบุคคล ทำให้ต่อมา สมัชชาใหญ่สหประชาชาติลงมติรับรองและประกาศ 
ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในวันที่ 10 ธันวาคม 2491 
ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (ถือว่า วันที่ 10 
ธันวาคมของทุกปีเป็นวันสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ) 
• สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา มีสมาชิก 192 ประเทศ 
• องคการสหประชาชาติประกอบด้วยองค์กรหลัก 6 องค์กร คือ
1) สมัชชาแห่งสหประชาชาติ กำหนดแนวทางการปฎิบัติงานขององค์กร 
พิจาราเกี่ยวกับสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ทุกประเทศใน UN เป็นสมาชิก 
2) คณะมนตรีความมั่นคง สอบสวนกรณีพิพาทระหว่างประเทศ 
ทำหน้าที่ร่วมกับสมัชชาฯเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ มีสมาชิกถาวร 5 
ประเทศ(จีน ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร รัสเซีย อเมริกา) และไม่ถาวร 10 ประเทศ 
3) คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ให้คำแนะนำในด้านต่างๆ มีสมาชิก 54 ประเทศ 
ทุกปีจะเลือกตั้งประเทศที่พ้นตำแหน่งปีละ 18 ประเทศ 
4) คณะมนตรีภาวะทรัสตี พิจารณารายงานของระเทศที่ปกครองดินแดน 
ดูแลดินแดนที่ยังไม่ได้เอกราชให้ได้เอกราช 
5) ศาสยุติธรรมระหว่างประเทศ มีผู้พิพากษา 15 คน 
คณะมนตรีความมั่นคงและสมัชชาฯเป็นคนเลือก 
พิจารณาข้อขัดแย้งทางกฎหมายที่แต่ละประเทศเสนอต่อศาล 
ให้คำแนะนำตัวบทกฎมายตามคำร้องขอจากองค์กรในUN 
แตรียมร่างอนุสัญญาและสนธิสัญญาที่กำหนดแนวทางปฏิบัติระหว่างชาติ 
6) สำนักงานเลขาธิกรแห่งสหประชาชาติ 
เลขาธิการสหประชาชาติเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของสหประชาชาติ 
ประสานงานกับหน่วยงนของUN ปฎิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับสหประชาชาติเหนอต่อสมัชชาฯ 
ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 
• ไทยได้ร่วมลงมติในวันที่ 10 ธันวาคม 2491ในฐานะสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ก็ต้องเคารพต่อหลักการและนำหลักการที่บัญญัติไว้ในปฎิญญาสากลมาเป็นแนวทางส่งเสริมและคุ้ มครองสิทธิมนุษยชนในไทย ได้แก่ 
1) เอาหลักในปฎิญญาสากลมาบัญญัติรับรองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
2) จัดตั้งองค์กรเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนระดับชาติ ตามหลักการที่องค์การสหประชาชาติกำหนดไว้ 
3) เข้าเป็นภาคีข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่สหประชาชาติได้จัดทำขึ้น ซึ่งไทยเข้าเป็นภาคีมาแล้ว 7 ฉบับ 
4.สาระสำคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน -ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน(Universal Declaration of Human Rights : UDHR) เป็นการประกาศ
เจตนารมณ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศในการวางกรอบเบื้องเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน เป็นฉบับแรกของ โลก 
-มีเนื้อหา30 ข้อ แบ่งได้ 4 ส่วน 1หลักการสำคัญของมนุษยชน (ข้อ1-2) 2 สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(ข้อ3-21) 3 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม(ข้อ22-27) 4 หน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ(ข้อ28-30) 
1 หลักการสำคัญของมนุษยชน 1. มนุษย์ทั้งหลายมีอิสรเสรี เท่าเทียมกัน 2.บุคคลชอบที่จะมีสิทธิตามปฏิญญานี้ โดยไม่แบ่งแยก เช่น สีผิว เชื้อชาติ เพศ ภาษา 2 สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 3.บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิต 4.บุคคลจะถูกบังคับให้เป็นทาส หรือภาวะจำยอมไม่ได้ 5.บุคคลจะถูกทรมาน หรือลงทัณฑ์ หยามเกียรติไม่ได้ 6.ทุกๆคนมีสิทธิได้รับการยอมรับเป็นคนในกฎหมาย 7.ทุกคนเสมอภาคกันในกฎหมาย 8.บุคคลมีสิทธิได้รับการเยียวยาโดยศาลแห่งชาติซึ่งมีอำนาจเนื่องจากการละเมิดต่อสิทธิขั้นมูลฐาน 9.บุคคลจะถูกกักขัง หรือเนรเทศโดยพลการไม่ได้ 10.บุคคลชอบที่จะเท่าเทียมกันอย่างบริบูรณ์ 11.(1) บุคคลที่ถูกกล่าวหาทางอาญา มีสิทธิได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ จนกว่าจะมีการ พิสูจน์ (2) บุคคลจะถูกถือว่ามีความผิดทางอาญาซึ่งในขณะที่มีการกระทำนั้นไม่ได้ระบุว่าเป็นความผิดทาง อาญา ไม่ได้ และลงโทษหนักกว่าโทษที่ใช้ในความผิดทางอาญานั้นไม่ได้ 12.ทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายหากกถูกสอดแทรกโดยพลการในกิจส่วนตัว 13.(1)บุคคลมีสิทธิในการเคลื่อนย้ายในขอบเขตดินแดนของแต่ละรัฐ
(2)บุคคลมีสิทธิออกจากประเทศและกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอน 14.(1)บุคคลมีสิทธิแสวงหาและพักพิงในประเทศอื่นเพื่อลี้ภัยจากการถูกกดขี่ (2)สิทธินี้กล่าวอ้างไม่ได้ในการฟ้องคดี 15.(1)บุคคลมีสิทธิในการถือสัญชาติ (2)ไม่สามารถถอนสัญชาติโดยพลการได้ 16.(1)ชายหญิงที่เจริญวัยบริบูรณ์แล้วมีสิทธิที่จะสมรสกันโดยไม่มีข้อจำกัดใดๆ (2)การสมรสจะทำได้ต้องเต็มใจของทั้งคู่ (3)ครอบครัวเป็นพื้นฐานทางสังคม 17.(1)มีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (2)ยึดทรัพย์สินโดยพลการไม่ได้ 18.มีเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา 19.มีสิธิในการแสดงออก 20.(1)มีสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม (2)บังคับบุคคลให้เป็นสมาชิกของสมาคมไม่ได้ 21.(1)บุคคลมีสิทธิเข้าร่วมรัฐบาลของตน (2)มีสิทธิเข้าถึงบริการสาธารณะ (3)เจตจำนงของประชาชน จะเป็นฐานอำนาจของรัฐบาล 3 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 22.บุคคลมีสิทธิในความมั่นคงของสังคม ได้รับผลทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 23.(1)มีสิทธิเลือกงานได้อย่างเสรี (2)มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนเท่ากัน (3)บุคคลทำงานมีสิทธิได้รายได้ที่ยุติธรรม (4)มีสิทธิเข้าร่วมก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน 24.มีสิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง 25.(1)มีสิทธิในการครองชีพที่เพียงพอสำหรับสุขภาพ (2)มารดาและบุตรชอบที่จะได้รับการดูแลและความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 26.(1)บุคคลมีสิทธิในการศึกษา (2)การศึกษามุ่งไปทางการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่
(3)ผู้ปกครองมีสิทธิก่อนผู้อื่นที่จะเลือกชนิดของการศึกษา 27.(1)มีสิทธิเข้าร่วมการใช้ชีวิตด้านวัฒนธรรมในประชาคมอย่างเสรี (2)มีสิทธิได้รับการคุ้มครองประโยชน์ด้านศีลธรรม 
4 หน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ 28.บุคคลชอบที่จะได้รับผลประโยชน์จากระเบียบสังคมและระหว่างประเทศ 29.(1)บุคคลที่มีหน้าต่อประชาชนเป็นที่เดียวซึ่งบุคลิกภาพจะพัฒนาได้อย่างเสรี (2)การใช้สิทธิเสรีภาพต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย (3)สิทธิเสรีภาพจะใช้ขัดกับความมุ่งประสงค์และหลักการของสหประชาชาติไม่ได้ 30.ข้อความปฏิญญานี้ ไม่เปิดช่องที่จะแปลความได้ว่าให้บุคคลใดๆที่จะประกอบกิกรรมหรือทำลาย สิทธิเสรีภาพใดๆบบรดาที่ได้ระบุไว้ในบทบัญญัติฉบับนี้ 
5. บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 
• ให้ความคุ้มครอสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนในด้านต่างๆ 
• จัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะกรรมการเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ ประธาน 1 คน และกรรมการ6คน กษัตริย์ทรงแต่งตั้ง วาระ 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้วาระเดียว 
• คณะกรรมการสิทธิมนุษยชาติ มีอำนาจหน้าที่ดังนี้ 
1) ตรวจสอบและรายงานการกระทำที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่มีไทยเป็นภาคี เสนอมาตรการแก้ไข 
2) เสนอเรื่องความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ กรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและ มีปัญหาเกี่ยวกับควมชอบด้วยรัฐธรรมนูญ 
3) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง กรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่ากฎ คำสั่ง หรือการกระทำใดๆในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย 
4) ฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหายเมื่อได้รับการ้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่เห็น สมควร 
5) เสนอนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและกฎต่อรัฐสภา หรือ ครม. 
6) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน 
7) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆด้านสิทธิมนุษยชน 
8) ทำรายงานประจำปีเพื่อประเมินสถานการณ์สิมธิมนุษยชนในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
9) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 
• คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานต่างๆจากบุคใดหรือมาให้ถ้อยคำ และอำนาจอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ 
• รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 เพิ่มอำนาจให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อให้สามารถยื่นคำฟ้องต่อศาลได้โดยตรง กรณีที่มีผู้ร้องว่ามีกฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสิทธิมนุษยชน หรือมีการกระทำที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนและกฤหมายรัฐธรรมนูญ จะสามารถดำเนินคดีในศาลแทนประชาชนที่ได้รับความเสียหายได้ 
6. ปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศและแนวทางการแก้ปัญหา 
สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย 
ด้านเด็ก เยาวชนและครอบครัว 
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ผ่านมาส่งผลให้สถาบันครอบครัวไทยอ่อนแอลงทั้งในแง่ของ ศักยภาพบุคคลและการสร้างภูมิต้านทานให้แก่เด็ก มีการทำร้ายเด็กโดยบุคคลในครอบครัวเกิดปัญหาต่างๆ เช่นปัญหายาเสพติด การล่วงละเมิดทางเพศ การใช้แรงงานเด็ก 
ด้านการปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 
การคุ้มครองผู้ต้องหาต้องคำนึงถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้มากขึ้นแต่ในทางปฏิบัติเป็นไปได้ ยากเนื่องจากการพิจารณาคดียังล่าช้า การปฏิบัติต่อผู้อยู่ในเรือนจำ กระบวนการสอบสวนและประกันตัว นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายจำนวนมากที่ยังไม่รับรองสิทธิของประชาชนและชุมชน โดยเฉพาะการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
ด้านนโยบายทางสังคม
รัฐธรรมนูญได้คุ้มครองไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มที่แตกต่างกันไม่ว่าด้านใด กำหนดให้มีมาตรการ ส่งเสริมความเสมอภาค คุ้มครองไม่ให้มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว คุ้มครองผู้ใช้แรงงานแต่ก็ยังมีการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่มาก 
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิมนุษยชน 
ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรในระดับโลกกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นในขณะที่คุณค่าเชิงพาณิชย์และ อุตสาหกรรมของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายของประเทศไทยกลับเพิ่มขึ้น มีภัยคุกคามจาก ต่างชาติ แหล่งต้นน้ำถูกทำลาย 
แนวทางการแก้ปัญหาและการพัฒนา 
ประเทศไทยควรมีการพิจารณาเพื่อเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาต่างๆเพิ่มเติมรวม 
รัฐควรมีแนวทางดังนี้ 
*ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง 
*ปรับปรุงและพัฒนากฏหมาย ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและเจตนารมณ์ของรัญฐ ธรรมนูญ 
*กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมความเสมอภาค 
*มีการรับรองสิทธิมนุษยชนในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา 
กลไกของรัฐเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบังคับใช้กฏหมาย มีบทบาทอย่างมากในการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน 
รัฐธรรมนูญ 2550 ได้รับรองสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนให้แก่ประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน การ ละเมิดสิทธิมนุษยชนก่อให้เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม 
หน่วยงานของรัฐที่ให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ2550ได้แก่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่าย ตุลาการ
การดำเนินการ 
1.การร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 
2.การดำเนินคดีอาญาการฟ้องคดีที่มีโทษทางอาญาต่อศาลยุติธรรมเป็นกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนจาก บุคคลในสังคมสามารถดำเนินการได้2วิธี 
*การที่ผู้เสียหายไปร้องทุกข์(แจ้งความ)กับเจ้าหน้าที่ตำรวจ(พนักงานสอบสวน)โดยทางผู้เสียหายไม่ต้อง ดำเนินคดีฟ้องร้องต่อศาลเอง 
*การที่ผู้เสียหายดำเนินคดีฟ้องร้องต่อศาลเอง ต้องหาทนายและหลักฐานเอง 
3.การดำเนินคดีทางแพ่ง ฟ้องคดีเพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้กระทำผิดต่อศาลยุติธรรม ต้องหาทนายความ มาเองเพื่อให้มีการดำเนินคดีทางแพ่ง เรียกร้องค่าเสียหายจากผู้กระทำผิด 
4.การดำเนินคดีปกครอง กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการไม่ชอบด้วยกฏหมายหรือละเลยต่อการปฎิบัติ หน้าที่ทำให้ประชาชนได้รับความเสียหาย 
5.การดำเนินการอื่นๆ 
*ร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน 
*การเข้ารับคำปรึกษาจากสำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฏหมายแก่ประชาชนของสำนักอัยการ สูงสุดและสภาทนายความ ทั่วประเทศ 
*การร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวิวนิจฉัยว่ากฏหมายใดขัดกับรัฐธรรมนูญ 
*การร้องเรียนไปยังหน่วยงานและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง 
นอกจากนี้ยังมีองก์กรภาคเอกชน NGO ที่ดำเนินการเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน โดยไม่แสวงหากำไร เช่น กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม มูลนิธิดวงประทีป มูลนิธิเด็ก และกลุ่มเพื่อน หญิง 
อ้างอิง : หนังสือหน้าที่พลเมือง ม.4

More Related Content

What's hot

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
teerachon
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
Wichai Likitponrak
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
krupornpana55
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
Somchart Phaeumnart
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
Sokoy_jj
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
Nuttarika Kornkeaw
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 

What's hot (20)

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 

Similar to ใบงาน ม.2 (6)

ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯ
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
Book
BookBook
Book
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี

More from นายสมหมาย ฉิมมาลี (20)

ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
 
งานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคมงานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
 

ใบงาน ม.2

  • 1. บทที่ 9 สิทธิมนุษยชน 1 ความหมายและความสำคัญของสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน หมายถึง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับรอง หรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศ ไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม หลักการที่สำคัญสุดก็คือ มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชนจึงเป็นสิ่งที่รัฐธรรมนูญ มุ่งที่จะให้ความคุ้มครองแก่บุคคลทุกคน 2.แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน -สิทธิมนุษยชน(Human Rights) เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะผลของสงครามนำมาซึ่งความ โหดร้าย -สหประชาชาติรับรองปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ที่ละเมิด ไม่ได้ ได้แก่ สิทธิในชีวิต สิทธิในการเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ สิทธิในการแสดงออกทางความคิด สิทธิใน การรวมกลุ่มสังคมกับคนอื่นด้วยวิถีสันติ ปลอดจากการทรมาน และการกระทำที่ลดความเป็นมนุษย์ -หลักการสำคัญของสิทธิมนุษยชน คือ ความเสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ ของไทย กฎหมายที่รับรองสิทธิ มนุษยชนที่สำคัญ คือ รัฐธรรมนูญ 3. บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกที่มีผลต่อประเทศไทย • มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ (UN) ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อคุ้มครองและส่งเสริมเสรีภาพ ดำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ • องค์การสหประชาชาติได้มีการประชุมใหญ่และลงมติรับรอง กฎบัตรสหประชาชาติ ซึ่งรับรองสิทธิของบุคคล ทำให้ต่อมา สมัชชาใหญ่สหประชาชาติลงมติรับรองและประกาศ ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในวันที่ 10 ธันวาคม 2491 ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (ถือว่า วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ) • สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา มีสมาชิก 192 ประเทศ • องคการสหประชาชาติประกอบด้วยองค์กรหลัก 6 องค์กร คือ
  • 2. 1) สมัชชาแห่งสหประชาชาติ กำหนดแนวทางการปฎิบัติงานขององค์กร พิจาราเกี่ยวกับสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ทุกประเทศใน UN เป็นสมาชิก 2) คณะมนตรีความมั่นคง สอบสวนกรณีพิพาทระหว่างประเทศ ทำหน้าที่ร่วมกับสมัชชาฯเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ มีสมาชิกถาวร 5 ประเทศ(จีน ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร รัสเซีย อเมริกา) และไม่ถาวร 10 ประเทศ 3) คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ให้คำแนะนำในด้านต่างๆ มีสมาชิก 54 ประเทศ ทุกปีจะเลือกตั้งประเทศที่พ้นตำแหน่งปีละ 18 ประเทศ 4) คณะมนตรีภาวะทรัสตี พิจารณารายงานของระเทศที่ปกครองดินแดน ดูแลดินแดนที่ยังไม่ได้เอกราชให้ได้เอกราช 5) ศาสยุติธรรมระหว่างประเทศ มีผู้พิพากษา 15 คน คณะมนตรีความมั่นคงและสมัชชาฯเป็นคนเลือก พิจารณาข้อขัดแย้งทางกฎหมายที่แต่ละประเทศเสนอต่อศาล ให้คำแนะนำตัวบทกฎมายตามคำร้องขอจากองค์กรในUN แตรียมร่างอนุสัญญาและสนธิสัญญาที่กำหนดแนวทางปฏิบัติระหว่างชาติ 6) สำนักงานเลขาธิกรแห่งสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของสหประชาชาติ ประสานงานกับหน่วยงนของUN ปฎิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับสหประชาชาติเหนอต่อสมัชชาฯ ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน • ไทยได้ร่วมลงมติในวันที่ 10 ธันวาคม 2491ในฐานะสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ก็ต้องเคารพต่อหลักการและนำหลักการที่บัญญัติไว้ในปฎิญญาสากลมาเป็นแนวทางส่งเสริมและคุ้ มครองสิทธิมนุษยชนในไทย ได้แก่ 1) เอาหลักในปฎิญญาสากลมาบัญญัติรับรองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2) จัดตั้งองค์กรเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนระดับชาติ ตามหลักการที่องค์การสหประชาชาติกำหนดไว้ 3) เข้าเป็นภาคีข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่สหประชาชาติได้จัดทำขึ้น ซึ่งไทยเข้าเป็นภาคีมาแล้ว 7 ฉบับ 4.สาระสำคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน -ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน(Universal Declaration of Human Rights : UDHR) เป็นการประกาศ
  • 3. เจตนารมณ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศในการวางกรอบเบื้องเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน เป็นฉบับแรกของ โลก -มีเนื้อหา30 ข้อ แบ่งได้ 4 ส่วน 1หลักการสำคัญของมนุษยชน (ข้อ1-2) 2 สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(ข้อ3-21) 3 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม(ข้อ22-27) 4 หน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ(ข้อ28-30) 1 หลักการสำคัญของมนุษยชน 1. มนุษย์ทั้งหลายมีอิสรเสรี เท่าเทียมกัน 2.บุคคลชอบที่จะมีสิทธิตามปฏิญญานี้ โดยไม่แบ่งแยก เช่น สีผิว เชื้อชาติ เพศ ภาษา 2 สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 3.บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิต 4.บุคคลจะถูกบังคับให้เป็นทาส หรือภาวะจำยอมไม่ได้ 5.บุคคลจะถูกทรมาน หรือลงทัณฑ์ หยามเกียรติไม่ได้ 6.ทุกๆคนมีสิทธิได้รับการยอมรับเป็นคนในกฎหมาย 7.ทุกคนเสมอภาคกันในกฎหมาย 8.บุคคลมีสิทธิได้รับการเยียวยาโดยศาลแห่งชาติซึ่งมีอำนาจเนื่องจากการละเมิดต่อสิทธิขั้นมูลฐาน 9.บุคคลจะถูกกักขัง หรือเนรเทศโดยพลการไม่ได้ 10.บุคคลชอบที่จะเท่าเทียมกันอย่างบริบูรณ์ 11.(1) บุคคลที่ถูกกล่าวหาทางอาญา มีสิทธิได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์ จนกว่าจะมีการ พิสูจน์ (2) บุคคลจะถูกถือว่ามีความผิดทางอาญาซึ่งในขณะที่มีการกระทำนั้นไม่ได้ระบุว่าเป็นความผิดทาง อาญา ไม่ได้ และลงโทษหนักกว่าโทษที่ใช้ในความผิดทางอาญานั้นไม่ได้ 12.ทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายหากกถูกสอดแทรกโดยพลการในกิจส่วนตัว 13.(1)บุคคลมีสิทธิในการเคลื่อนย้ายในขอบเขตดินแดนของแต่ละรัฐ
  • 4. (2)บุคคลมีสิทธิออกจากประเทศและกลับสู่บ้านเกิดเมืองนอน 14.(1)บุคคลมีสิทธิแสวงหาและพักพิงในประเทศอื่นเพื่อลี้ภัยจากการถูกกดขี่ (2)สิทธินี้กล่าวอ้างไม่ได้ในการฟ้องคดี 15.(1)บุคคลมีสิทธิในการถือสัญชาติ (2)ไม่สามารถถอนสัญชาติโดยพลการได้ 16.(1)ชายหญิงที่เจริญวัยบริบูรณ์แล้วมีสิทธิที่จะสมรสกันโดยไม่มีข้อจำกัดใดๆ (2)การสมรสจะทำได้ต้องเต็มใจของทั้งคู่ (3)ครอบครัวเป็นพื้นฐานทางสังคม 17.(1)มีสิทธิเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (2)ยึดทรัพย์สินโดยพลการไม่ได้ 18.มีเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา 19.มีสิธิในการแสดงออก 20.(1)มีสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม (2)บังคับบุคคลให้เป็นสมาชิกของสมาคมไม่ได้ 21.(1)บุคคลมีสิทธิเข้าร่วมรัฐบาลของตน (2)มีสิทธิเข้าถึงบริการสาธารณะ (3)เจตจำนงของประชาชน จะเป็นฐานอำนาจของรัฐบาล 3 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 22.บุคคลมีสิทธิในความมั่นคงของสังคม ได้รับผลทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 23.(1)มีสิทธิเลือกงานได้อย่างเสรี (2)มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนเท่ากัน (3)บุคคลทำงานมีสิทธิได้รายได้ที่ยุติธรรม (4)มีสิทธิเข้าร่วมก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน 24.มีสิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง 25.(1)มีสิทธิในการครองชีพที่เพียงพอสำหรับสุขภาพ (2)มารดาและบุตรชอบที่จะได้รับการดูแลและความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 26.(1)บุคคลมีสิทธิในการศึกษา (2)การศึกษามุ่งไปทางการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่
  • 5. (3)ผู้ปกครองมีสิทธิก่อนผู้อื่นที่จะเลือกชนิดของการศึกษา 27.(1)มีสิทธิเข้าร่วมการใช้ชีวิตด้านวัฒนธรรมในประชาคมอย่างเสรี (2)มีสิทธิได้รับการคุ้มครองประโยชน์ด้านศีลธรรม 4 หน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ 28.บุคคลชอบที่จะได้รับผลประโยชน์จากระเบียบสังคมและระหว่างประเทศ 29.(1)บุคคลที่มีหน้าต่อประชาชนเป็นที่เดียวซึ่งบุคลิกภาพจะพัฒนาได้อย่างเสรี (2)การใช้สิทธิเสรีภาพต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย (3)สิทธิเสรีภาพจะใช้ขัดกับความมุ่งประสงค์และหลักการของสหประชาชาติไม่ได้ 30.ข้อความปฏิญญานี้ ไม่เปิดช่องที่จะแปลความได้ว่าให้บุคคลใดๆที่จะประกอบกิกรรมหรือทำลาย สิทธิเสรีภาพใดๆบบรดาที่ได้ระบุไว้ในบทบัญญัติฉบับนี้ 5. บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน • ให้ความคุ้มครอสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนในด้านต่างๆ • จัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะกรรมการเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ ประธาน 1 คน และกรรมการ6คน กษัตริย์ทรงแต่งตั้ง วาระ 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้วาระเดียว • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชาติ มีอำนาจหน้าที่ดังนี้ 1) ตรวจสอบและรายงานการกระทำที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่มีไทยเป็นภาคี เสนอมาตรการแก้ไข 2) เสนอเรื่องความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ กรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและ มีปัญหาเกี่ยวกับควมชอบด้วยรัฐธรรมนูญ 3) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง กรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่ากฎ คำสั่ง หรือการกระทำใดๆในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย 4) ฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหายเมื่อได้รับการ้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่เห็น สมควร 5) เสนอนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและกฎต่อรัฐสภา หรือ ครม. 6) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน 7) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆด้านสิทธิมนุษยชน 8) ทำรายงานประจำปีเพื่อประเมินสถานการณ์สิมธิมนุษยชนในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
  • 6. 9) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ • คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีอำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานต่างๆจากบุคใดหรือมาให้ถ้อยคำ และอำนาจอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ • รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 เพิ่มอำนาจให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อให้สามารถยื่นคำฟ้องต่อศาลได้โดยตรง กรณีที่มีผู้ร้องว่ามีกฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและสิทธิมนุษยชน หรือมีการกระทำที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชนและกฤหมายรัฐธรรมนูญ จะสามารถดำเนินคดีในศาลแทนประชาชนที่ได้รับความเสียหายได้ 6. ปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศและแนวทางการแก้ปัญหา สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ด้านเด็ก เยาวชนและครอบครัว การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ผ่านมาส่งผลให้สถาบันครอบครัวไทยอ่อนแอลงทั้งในแง่ของ ศักยภาพบุคคลและการสร้างภูมิต้านทานให้แก่เด็ก มีการทำร้ายเด็กโดยบุคคลในครอบครัวเกิดปัญหาต่างๆ เช่นปัญหายาเสพติด การล่วงละเมิดทางเพศ การใช้แรงงานเด็ก ด้านการปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม การคุ้มครองผู้ต้องหาต้องคำนึงถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้มากขึ้นแต่ในทางปฏิบัติเป็นไปได้ ยากเนื่องจากการพิจารณาคดียังล่าช้า การปฏิบัติต่อผู้อยู่ในเรือนจำ กระบวนการสอบสวนและประกันตัว นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายจำนวนมากที่ยังไม่รับรองสิทธิของประชาชนและชุมชน โดยเฉพาะการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านนโยบายทางสังคม
  • 7. รัฐธรรมนูญได้คุ้มครองไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มที่แตกต่างกันไม่ว่าด้านใด กำหนดให้มีมาตรการ ส่งเสริมความเสมอภาค คุ้มครองไม่ให้มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว คุ้มครองผู้ใช้แรงงานแต่ก็ยังมีการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่มาก ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิมนุษยชน ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรในระดับโลกกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นในขณะที่คุณค่าเชิงพาณิชย์และ อุตสาหกรรมของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายของประเทศไทยกลับเพิ่มขึ้น มีภัยคุกคามจาก ต่างชาติ แหล่งต้นน้ำถูกทำลาย แนวทางการแก้ปัญหาและการพัฒนา ประเทศไทยควรมีการพิจารณาเพื่อเข้าเป็นภาคีในอนุสัญญาต่างๆเพิ่มเติมรวม รัฐควรมีแนวทางดังนี้ *ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง *ปรับปรุงและพัฒนากฏหมาย ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและเจตนารมณ์ของรัญฐ ธรรมนูญ *กำหนดให้มีมาตรการส่งเสริมความเสมอภาค *มีการรับรองสิทธิมนุษยชนในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา กลไกของรัฐเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบังคับใช้กฏหมาย มีบทบาทอย่างมากในการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน รัฐธรรมนูญ 2550 ได้รับรองสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนให้แก่ประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน การ ละเมิดสิทธิมนุษยชนก่อให้เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม หน่วยงานของรัฐที่ให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ2550ได้แก่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่าย ตุลาการ
  • 8. การดำเนินการ 1.การร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 2.การดำเนินคดีอาญาการฟ้องคดีที่มีโทษทางอาญาต่อศาลยุติธรรมเป็นกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนจาก บุคคลในสังคมสามารถดำเนินการได้2วิธี *การที่ผู้เสียหายไปร้องทุกข์(แจ้งความ)กับเจ้าหน้าที่ตำรวจ(พนักงานสอบสวน)โดยทางผู้เสียหายไม่ต้อง ดำเนินคดีฟ้องร้องต่อศาลเอง *การที่ผู้เสียหายดำเนินคดีฟ้องร้องต่อศาลเอง ต้องหาทนายและหลักฐานเอง 3.การดำเนินคดีทางแพ่ง ฟ้องคดีเพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้กระทำผิดต่อศาลยุติธรรม ต้องหาทนายความ มาเองเพื่อให้มีการดำเนินคดีทางแพ่ง เรียกร้องค่าเสียหายจากผู้กระทำผิด 4.การดำเนินคดีปกครอง กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการไม่ชอบด้วยกฏหมายหรือละเลยต่อการปฎิบัติ หน้าที่ทำให้ประชาชนได้รับความเสียหาย 5.การดำเนินการอื่นๆ *ร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน *การเข้ารับคำปรึกษาจากสำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฏหมายแก่ประชาชนของสำนักอัยการ สูงสุดและสภาทนายความ ทั่วประเทศ *การร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวิวนิจฉัยว่ากฏหมายใดขัดกับรัฐธรรมนูญ *การร้องเรียนไปยังหน่วยงานและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีองก์กรภาคเอกชน NGO ที่ดำเนินการเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน โดยไม่แสวงหากำไร เช่น กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม มูลนิธิดวงประทีป มูลนิธิเด็ก และกลุ่มเพื่อน หญิง อ้างอิง : หนังสือหน้าที่พลเมือง ม.4