SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
78




โครงสร้างหลักสูตร / คำาอธิบายรายวิชา
   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์




โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการ
               เรียนรู้วิทยาศาสตร์
            ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
79

รายวิชาพื้นฐาน
ว 21101    วิทยาศาสตร์   1          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต
ว 21102    วิทยาศาสตร์   2          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต
ว 22101    วิทยาศาสตร์   3          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต
ว 22102    วิทยาศาสตร์   4          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต
ว 23101    วิทยาศาสตร์   5          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต
ว 23102    วิทยาศาสตร์   6          จำานวน      60 ชั่วโมง
     1.5   หน่วยกิต

รายวิชาเพิมเติม
          ่
ว 21201    แรงและการเคลื่อนที่          จำานวน       40 ชั่วโมง
          1.٠  หน่วยกิต
ว 21202 เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์        จำานวน         40
     ชั่วโมง       1.٠    หน่วยกิต
ว 2220 ٣ พันธุกรรมกับการอยูรอด
                            ่                จำานวน         40
     ชั่วโมง       1.٠    หน่วยกิต
ว 2220 ٤ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์           จำานวน         40
     ชั่วโมง       1.٠    หน่วยกิต
ว 2320 ٥ โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวิต จำานวน            40
     ชั่วโมง       1.٠    หน่วยกิต
ว 2320 ٦ พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น       จำานวน    40
     ชั่วโมง       1.٠    หน่วยกิต
80




                    คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1                                  กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                          เวลา 60
ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต

       ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การแพร่ ออสโมซีส
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำาเลียงในพืช การสืบพันธุ์ การ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และเทคโนโลยีชีวภาพ สมบัติของสาร ความ
สัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาค หลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
การเกิดสารละลาย สารละลายกรด-เบส การเกิดปฏิกิริยาเคมี
       โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การตั้งคำาถาม การตั้ง
สมมติฐาน การสืบเสาะหาความรู้ การสำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
การทดลอง การสังเกตเปรียบเทียบ และการอภิปราย
       มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา
นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ มี
จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม

     รหัสตัวชี้วัด
     ว 1.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8,
     ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11, ม.1/12,
          ม.1/13
     ว 3.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
     ว 3.2ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
     ว 8.1ม.1/1, ม.1/2

     รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด
81




                  คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2                            กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2                   เวลา 60
ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต


      ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง
โน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูป
พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงาน
ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมเข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและ
ภายนอกโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ ทีมีผลต่อการ
                                                 ่
เปลียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานโลก
    ่
      โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้     การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การรวบรวม
ข้อมูล การอธิบาย
      มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา
นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ มี
จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม

     รหัสตัวชี้วัด
     ว 4.1ม.1/1, ม.1/2
     ว ٥.١ม.١/١, ม.١/٢ ,ม.١/٣,ม.١/٤
     ว 6.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
     ว 8.1ม.1/3, ม.1/4
82


     รวมทั้งหมด 1 ٥ ตัวชี้วัด




                  คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 22101 วิทยาศาสตร์ 3                                      กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                        เวลา
60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต


      ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและการทำางานของระบบต่างๆใน
ร่างกายมนุษย์และสัตว์ แสดงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพ อาหาร สารเสพติด ธาตุและสารประกอบ การแยก
สาร การเปลียนแปลงสาร ปฏิกิรยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิต
             ่                ิ
ประจำาวัน ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจ การสังเกต การทดลอง                   การตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล การอธิบาย และการอภิปราย
      มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถในการ
คิดตัดสินใจอย่างเป็นระบบ สามารถแก้ปัญหา นำาความรู้ไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะมีจริยธรรมคุณธรรมและค่า
นิยมที่เหมาะสม

     รหัสตัวชี้วัด
          ว١.١ ม.٢/١ ม.٢/٢, ม.٢/٣, ม.٢/٤, ม.٢/٥, ม.٢/٦
          ว٣.١ ม.٢/1 , ม٢/2, ม.٢/3
          ว٣.٢ ม.٢/١, ม.٢/٢, ม.٢/٣, ม.٢/٤
83


     รวมทั้งหมด ١٣ ตัวชี้วัด




                  คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 22102 วิทยาศาสตร์ 4                                  กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                         เวลา
60 ชัวโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต
       ่

      ศึกษา วิเคราะห์ แรงลัพธ์ การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง
ความสว่าง การดูดกลืน แสงสีและ การมองเห็น ดิน หิน แร่ ปิโตรเลียม
แหล่งนำ้า โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ของพื้นโลก
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจ การตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการทดลอง การวิเคราะห์
การอธิบาย
      มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถคิดและ
ตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา นำาความรู้ไป
ใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม
คุณธรรมและค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม


     รหัสตัวชี้วัด
     ว٤.١ ม٢/١, ม٢/٢
     ว٥.١ ม.٢/١ , ม.٢/٢, ม.٢/٣
84

     ว٦.١ ม.٢/١,ม.٢/٢,ม.٢/٣, ม.٢/٤, ม.٢/٥, ม.٢/٦, ม.٢/٧, ม.٢/٨, ม.٢
/٩, ม.٢/١٠

     รวมทั้งหมด ١٥ ตัวชี้วัด




                  คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5                                   กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1                     เวลา
60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต

      ศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรค
ทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ ระบบ
นิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติตาม
                                ่
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
            โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การสำารวจ การวิเคราะห์ตรวจสอบการสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการ
อภิปราย
         มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถ
ตัดสินใจ อย่างเป็นระบบ นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยา
                                  ้
ศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชี้วัด
ว١.٢ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٤, ม.٣/٥, ม.٣/٦
ว٢.١ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣, ม.٣/٤
85

ว٢.٢ ม.٣/١, ม.٣٢, ม.٣/٣, ม.٣/٤, ม.٣/٥, ม.٣/٦

รวมทั้งหมด ١٦ ตัวชี้วัด




                  คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 23102 วิทยาศาสตร์ 6                                 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2                   เวลา
60 ชัวโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต
       ่

      ศึกษา วิเคราะห์ ความเร่ง แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา แรงพยุง แรง
เสียดทาน โมเมนต์ การเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานและกฎการอนุรักษ์
พลังงาน พลังงานไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประกอบของระบบสุริยะ
กลุ่มดาวฤกษ์ กาแลกซี่ เอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้น การสังเกต การ
ตรวจสอบ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การคำานวณการอธิบายและ
อภิปราย
      มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถแก้
ปัญหา สามารถคิดและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ นำาความรูไปใช้ในชีวิต
                                                          ้
ประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม
คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
86

รหัสตัวชี้วัด
ว٤.١ ม.٣/١,     ม.٣/٢,    ม.٣/٣
ว٤.٢ ม.٣/١,     ม.٣/٢,   ม.٣/٣
ว٥.١ ม.٣/١,     ม.٣/٢,   ม.٣/٣, ม.٣/٤, ม.٣/٥
ว٧.١ ม.٣/١,     ม.٣/٢,    ม.٣/٣
ว٧.٢ ม.٣/١

รวมทั้งหมด ١٥ ตัวชี้วัด
87

                   คำาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ว 20201 แรงและการเคลื่อนที่                             กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1                           เวลา
40 ชัวโมง จำานวน 1.0 หน่วยกิต
       ่

       ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้ม
ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำารง
ชีวิต การเปลียนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผล
              ่
ของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมเข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่
เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายนอกโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ
ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานโลก
       โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การรวบรวมข้อมูล
การอธิบาย
       มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียน
รู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ              มีความสามารถในการแก้
ปัญหา นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิต
                   ้
สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม

รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.1/1 , ว 4.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/1 , ว 1.1 ม.1/2 , ว 1.1
ม.1/3 , ว 1.1 ม.1/4 , ว 7.1 ม.1/1 ,
ว 7.1 ม.1/2 , ว 7.1 ม.1/3 , ว 7.1 ม.1/4 , ว 7.1 ม.1/5 , ว 7.1
ม.1/6 , ว 7.1 ม.1/7 , ว 8.1 ม.1/3 ,ว 8.1 ม.1/4

รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด
88

                                           คำาอธิบายรายวิชา
เพิ่มเติม

ว 20202 ( เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์ )
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2       เวลา 40
ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต


      ศึกษา ค้นคว้า ดูงาน และทำากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ โดยเน้น
เกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะการตั้งสมมติฐาน
การออกแบบการทดลอง การกำาหนดและควบคุมตัวแปร ตลอดจนการ
ใช้เครื่องมือพื้นฐาน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโครงงานและ
สามารถนำาความรู้และทักษะไปใช้ในการทำาโครงงานทางวิทยาศาสตร์
ให้ได้ผล
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย
      มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความ
สามารถในการตัดสินใจ                 นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี
จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู้
   1. บันทึกอธิบาย และ อภิปรายผลจากการศึกษาค้นคว้าดูงานและ
      ทำากิจกรรม
   2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทาง
      วิทยาศาสตร์
   3. สามารถฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ ทักษะการตั้ง
      สมมติฐาน ทักษะการออกแบบการทดลอง การกำาหนดและ
      การควบคุมตัวแปรได้อย่างเป็นระบบ
   4. มีทักษะในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐานทาง
      วิทยาศาสตร์
   5. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
   6. สามารถนำาความรู้และทักษะไปใช้ในการทำาโครงงานอย่างง่าย
      ได้
89

     7. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความรับ
        ผิดชอบ ความพากเพียรพยายาม ความมีระเบียบ ความ
        รอบคอบ ความมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี
        เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้




                  คำาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว 20203 (พันธุกรรมกับการอยู่รอด)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                   เวลา 40
ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต

      ศึกษา ค้นคว้า และทำากิจกรรมเกี่ยวกับยีน โครโมโซม และ
ลักษณะและโอกาสของการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การป้องกันมิให้
เกิดการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่พึงประสงค์การใช้บริการ
จากแหล่งให้คำาปรึกษา เรื่องพันธุกรรม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจที่
ถูกต้อง เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และตระหนักถึง
ผลกระทบของการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ที่มีต่อ
ครอบครัวและประเทศชาติ
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย
      มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี
                                    ้
จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
   1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยีนและโครโมโซม
   2.อธิบายเกี่ยวกับการทำางานของยีนและโครโมโซม
   3.อธิบายกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
90

      4.อภิปรายเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ
ยีน
      5.สามารถวางแผนหลีกเลี่ยงและป้องกันโรคทางพันธุกรรมและ
      ความผิดปกติต่างๆทางพันธุกรรม
      6.นำาความรูที่ได้ไปใช้ในการดูแลผู้ปวยและวางแผนครอบครัว
                 ้                       ่
      7. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความรับ
      ผิดชอบ ความพากเพียร พยายาม ความมีระเบียบ ความรอบคอบ
      ความมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเจตคติที่ดี
      ต่อวิทยาศาสตร์

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
91

                    คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม
                                       ่

 ว 20204 ( ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ )       กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2   เวลาเรียน
40 ชั่วโมง จำานวน ١ หน่วยกิต


      ศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ให้
เข้าใจและทำากิจกรรมตามที่กำาหนดไว้เป็นขั้นตอน และริเริมสร้างสรรค์
                                                          ่
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การจำาแนก การตีความ การทดลอง การสืบค้น
ข้อมูล การอธิบายและ การอภิปราย
      มี ความรู้ ความคิ ด ความเข้ าใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ งที่ เ รี ย นรู้ มี
ความสามารถในการตั ด สิ น ใจ นำา ความรู้ ไ ปใช้ ใ นชี วิ ต ประจำา วั น มี
จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
   1. อธิบายความหมายและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
   2. บอกคุณสมบัติต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผัสทัง 5 และลงความ
                                              ้
      เห็นจากข้อมูล
   3. จำาแนกประเภทสิ่งต่างๆได้ถูกต้องตามเกณฑ์
   4. ทำาการวัดความกว้าง ความสูง อุณหภูมิ ปริมาตร นำ้าหนักได้
   5. สามารถใช้ความรูทางคณิตศาสตร์ คำานวณหาผลลัพธ์ของ
                      ้
      ปริมาณต่างๆได้
   6. บอกความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตำาแหน่งที่อยู่ของ
      วัตถุกับเวลาได้
   7. สามารถบันทึกข้อมูลจากข้อมูลที่กำาหนดให้ได้อย่างเหมาะสม
   8. สามารถพยากรณ์ภายในและภายนอกขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่
      ได้อย่างเหมาะสม
   9. สามารถชี้บ่งตัวแปรประเภทต่างๆได้ถูกต้อง
   10.สามารถตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กำาหนดได้
   11.สามารถกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรได้
   12.สามารถออกแบบทดลองต่างๆเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้
      ได้อย่างถูกต้อง
92

    13.สามารถตีความข้อมูลและลงข้อสรุปของข้อมูลได้

รวมทั้งหมด 13 ผลการเรียนรู้
93

                  คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม
                                     ่
ว 20205 ( โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวต)
                                        ิ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1  เวลา 40
ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต

      ศึกษาค้นคว้า ทำากิจกรรมในรูปแบบต่างๆโดยเน้นเกี่ยวกับ
กระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะ การตั้งสมมติฐาน การ
ออกแบบการทดลอง การกำาหนดและควบคุมตัวแปร การใช้เครื่องมือ
พื้นฐาน เขียนหรือจัดทำาเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ การจัดทำาโครง
งานวิทยาศาสตร์ สรุปผลการทำาโครงงาน เสนอผลงานและจัดแสดง
ผลงาน
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบาย การจัดทำาและสรุปผล
โครงงาน การนำาเสนอและจัดแสดงผลงาน
      มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
สามารถตัดสินใจอย่างเป็นระบบ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี
เจตคติทางวิทยาศาสตร์และจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม
สอดคล้องกับท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้
  1. ระบุเรื่องหรือปัญหาที่จะทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
  2. สืบค้นข้อมูล จากแหล่งข้อมูลทีใช้จัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์
                                   ่
  3. อธิบายและวางแผนออกแบบการทดลองในการทำาโครงงาน
     วิทยาศาสตร์
  4. เขียนหรือจัดทำาเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ด้วยความ
     เข้าใจและถูกต้อง
  5. สามารถจัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลและ
     วิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีทักษะและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  6. สรุปผลของการทำาโครงงานวิทยาศาสตร์พร้อมทั้งทังเขียนรายงาน
                                                      ้
     ได้ถูกต้อง
  7. สามารถเสนอผลงานและจัดแสดงผลงงานได้ด้วยความเข้าใจและ
     ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
94

รวมทั้งหมด ٧ ผลการเรียนรู้
95

                  คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม
                                     ่
ว 20206 ( พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ) กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2      เวลา 40
ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต


      ศึกษา ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืช
สมุนไพรกับมนุษย์ การเก็บพืชสมุนไพรมาปรุงยา การปรุงยาสมุนไพร
ให้ถูกต้อง ถูกวิธี เทคนิคการชั่ง ตวง ยาสมุนไพร วิธีการปรุงยาแผน
โบราณ เทคนิคการปรุงยาต้ม ยาชง ยาลูกกลอน ยาดองเหล้า
ประโยชน์ของพืชสมุนไพรแก้อาการเจ็บคอ อาการไข้ แก้ท้องร่วง ยา
ขับปัสสาวะ ยาระบาย ยาลดความดันโลหิตสูง ยาแก้โรคเบาหวาน
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย
      มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการคิดและตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่
เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
   1. อภิปรายถึงความสัมพันธ์ระหว่างพืชสมุนไพรกับมนุษย์ได้
   2. บอกวิธีเก็บพืชสมุนไพรชนิดต่างๆได้
   3. อธิบายถึงวิธีการปรุงยาสมุนไพรอย่างถูกวิธีได้
   4. อธิบายวิธีการทำาให้สมุนไพรแห้งสนิทได้
   5. บอกเทคนิคการชั่งตวงยาสมุนไพรให้ถูกหลักการได้
   6. อธิบายการปรุงยาสมุนไพรโบราณได้
   7. บอกเทคนิคการปรุงยาต้ม ยาชง ยาลูกกลอน และยาดอง
      เหล้าได้
   8. บอกประโยชน์ของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่นำามาใช้ในการปรุง
      ยาได้
   9. บอกวิธีการปรุงยาสมุนไพรแก้อาการเจ็บคอ อาการไข้ แก้
      ท้องร่วง ขับปัสสาวะ ยะระบาย ยาลดความดันโลหิตสูง
      และยาแก้โรคเบาหวาน
96

    10.อธิบายวิธีการอบ อาบสมุนไพรได้
    11.บอกประโยชน์ของการอบ อาบสมุนไพรได้
    12.อธิบายวิธีการทำาเครื่องดื่มสมุนไพรจากพืชชนิดต่างๆได้



    13.บอกชนิดและประโยชน์ของสมุนไพรที่ช่วยระงับกลิ่นปากและ
      กลิ่นตัวได้
    14.อธิบายวิธีการนำาพืชสมุนไพรมาใช้เพื่อความงามได้
    15.บอกความหมายและประโยชน์ของแพทย์แผนไทยและแพทย์
      แผนพื้นบ้านได้

รวมทั้งหมด 15 ผลการเรียนรู้
97




        โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                   ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
                         รายวิชาพื้นฐาน

ระดับ     รหัส    รายวิชา      เวลา      หน่วย   หมายเห
 ชั้น     วิชา                 เรียน      กิต      ตุ
                              (ชั่วโมง
                                   )
         ว 311     ฟิสิกส์        4       2.0    ภาคเรียน
           01                                      ที่ 1
         ว 311      เคมี           3      1.5    ภาคเรียน
ม.4
           02                                      ที่ 1
         ว 311    ชีววิทยา         3      1.5    ภาคเรียน
           03                                      ที่ 1
         ว 331      โลก            2      1.0    ภาคเรียน
ม.4        01    ดาราศาสตร์                        ที่ 2
                 และอวกาศ
98




          โครงสร้างหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์
               ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
                    รายวิชาเพิ่มเติม

                                   เวลา
ระดับ รหัส                         เรียน หน่วย หมายเห
                  รายวิชา
 ชั้น วิชา                         (ชั่วโ กิต    ตุ
                                    มง)
      ว 312       ฟิสิกส์ 1          4    2.0 ภาคเรียน
        01                                      ที่ 2
      ว 312        เคมี 1            3    1.5 ภาคเรียน
        21                                      ที่ 2
ม.4
      ว 312      ชีววิทยา 1          3    1.5 ภาคเรียน
        41                                      ที่ 2
      ว 312   วิทยาศาสตร์กายภา       2    1.0 ภาคเรียน
        81        พชีวภาพ 1                     ที่ 2
99

      ว 322       ฟิสิกส์ 2        4   2.0   ภาคเรียน
        02                                     ที่ 1
      ว 322        เคมี 2          3   1.5   ภาคเรียน
        22                                     ที่ 1
      ว 322      ชีววิทยา 2        3   1.5   ภาคเรียน
        42                                     ที่ 1
      ว 322       ฟิสิกส์ 3        4   2.0   ภาคเรียน
        03                                     ที่ 2
ม.5
      ว 322        เคมี 3          3   1.5   ภาคเรียน
        23                                     ที่ 2
      ว 322      ชีววิทยา 3        3   1.5   ภาคเรียน
        43                                     ที่ 2
      ว 322   วิทยาศาสตร์กายภา     2   1.0   ภาคเรียน
        81        พชีวภาพ 2                    ที่ 1
      ว 322   วิทยาศาสตร์กายภา     2   1.0   ภาคเรียน
        82        พชีวภาพ 3                    ที่ 2
      ว 322        ฟิสิกส์ 4       4   2.0   ภาคเรียน
        04                                     ที่ 1
      ว 322        เคมี 4          3   1.5   ภาคเรียน
        24                                     ที่ 1
      ว 322      ชีววิทยา 4        3   1.5   ภาคเรียน
        44                                     ที่ 1
      ว 322       ฟิสิกส์ 5        4   2.0   ภาคเรียน
        05                                     ที่ 2
ม.6
      ว 322        เคมี 5          3   1.5   ภาคเรียน
        25                                     ที่ 2
      ว 322      ชีววิทยา 5        3   1.5   ภาคเรียน
        45                                     ที่ 2
      ว 332   วิทยาศาสตร์กายภา     2   1.0   ภาคเรียน
        01        พชีวภาพ 4                    ที่ 1
      ว 332   วิทยาศาสตร์กายภา     2   1.0   ภาคเรียน
        02        พชีวภาพ 5                    ที่ 2
100



                   คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์
   รหัสวิชา ว 31101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              1

      ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ
เคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้า
ระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา
ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนทีในแนวตรง การเคลื่อนที่แบบโพร
                                   ่
เจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ประโยชน์เกี่ยวกับ
การเคลื่อนทีแบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
              ่
สมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่
และความยาวคลืน การเกิดคลื่นเสียงบีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง
                  ่
ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และนำาเสนอผลการ
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ฟิวชัน และความ
สัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน พลังงานทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์
                                          ่
และผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
และนำาไปใช้ประโยชน์ ชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี
การเกิดกัมมันตภาพรังสีและบอกวิธีการตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดล้อม
การใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ การสำารวจตรวจสอบ สังเกต การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย
เพื่อการเปรียบเทียบ การทำานายการทดลอง
      เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม
101

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/4          ว 4.2 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 –
ม.6/3
ว 5.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/9          ว 8.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 –
ม.6/12




                    คำาอธิบายรายวิชาเคมี
   รหัสวิชา ว 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                       มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 1

       ศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ
ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอน
ในระดับพลังงานนอกสุด กับสมบัติของธาตุและการเกิด ปฏิกิริยา การ
จัดเรียงธาตุ และทำานายแนวโน้มสมบัติของธาตุในตารางธาตุ การเกิด
พันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง
จุดเดือดจุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคของสาร เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิต
ประจำาวัน ผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ นำาความรุ้
ไปใช้ประโยชน์ การเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ
และการกลั่นลำาดับส่วนนำ้ามันดิบ การใช้ประโยชน์และผลกระทบจาก
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก็สธรรมชาติ และการกลั่นลำาดับส่วน
นำ้ามันดิบ การเกิดพอลิเมอร์ สมบัติของพอลิเมอร์ ประโยชน์และผลก
ระทบที่เกิดจากการผลิตและใช้พอลิเมอร์ ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบ ประโยชน์ และปฏิกิริยาบางชนิดของคาร์โบไฮเดรต ไข
มันและนำ้ามัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก
       โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย
102

    เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 3.1 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/5     ว 3.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/9      ว
8.1 ม.4 - 6/1 - ม.4 - 6/12




                  คำาอธิบายรายวิชาชีววิทยา
   รหัสวิชา ว 31103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 1


      ศึกษาวิเคราะห์ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ
หลายเซลล์ การรักษาดุลยภาพของพืช การรักษาดุลยภาพของนำ้า แร่
ธาตุ อุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ระบบภูมิคุ้มกัน การถ่ายทอด
พันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ หน่วยของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ การคัดเลือกตามธรรมชาติ ระบบนิเวศ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดไป โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำารวจตรวจ
สอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย
      เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความ
สามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าและนำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
103

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.4 - 6/1 - ม. 4 - 6/4    ว 1.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/4   ว
2.1 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/3
ว 2.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/3




                  คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 1
   รหัสวิชา ว 31201 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              2

      ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ธรรมชาติและขอบเขตของวิชา
ฟิสิกส์ ธรรมชาติของการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ เลขนัยสำาคัญ ความ
ผิดไม่แน่นอนในการวัด และ ฝึกปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัด
ตำาแหน่งและการกระจัด ความเร็วเฉลี่ย ความเร่ง วัตถุตกอย่างเสรี
กรอบอ้างอิงเฉื่อย แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน นำ้าหนัก กฎ
แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน จุดศูนย์กลางมวล และจุดศูนย์กลาง
ของความโน้มถ่วง แรงเสียดทาน การนำากฎการเคลื่อนที่ไปใช้ การ
เคลื่อนที่แบบต่างๆ งาน กำาลังงาน พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน
การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล กฎสากลของการอนุรักษ์
พลังงาน เครื่องกล
104

     โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน
ใจ
     เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา
ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1/1-9   ว 4.2/2               ว 4.1/1-4 ว 4.1 /1-3 ว 5.1/1-9




                  คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 2
   รหัสวิชา ว 32202 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              1

     ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย โมเมนตัม แรงและการเปลี่ยนแปลง
โมเมนตัม การดลและแรงดล การชน การหมุน ความเร็วเชิงมุม ทอร์
กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน โมเมนต์ความเฉื่อย พลังงานจลน์ของการ
หมุน โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลียนโมเมนตัมเชิงมุม การ
                                   ่
ทำางานในการหมุน การแกว่งของวัตถุ สภาพสมดุล เงื่อนไขของ
สมดุล โมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบ เสถียรภาพ
ของสมดุล การนำาหลักสมดุลไปประยุกต์ สภาพยืดหยุ่น ความทนแรง
105

ของวัตถุ ความหนาแน่น ความดันของเหลว ทีขึ้นอยู่กับความลึก
                                                 ่
พร้อมเครื่องมือที่ใช้วัดความดัน กฏของพาสคาล หลักการทำางานของ
เครื่องอัดไฮโดรลิกส์ แรงลอยตัว หลักของคาร์คีมีดิส ความตึงผิว
ความหนืด พลศาสตร์ของไหล ความร้อน ที่เกี่ยวกับการขยายตัวของ
อุณหภูมิของวัตถุเนื่องจากความร้อน สถานะและการแลกเปลี่ยนสถานะ
ของสาร การถ่ายโอนความร้อน การแผ่รังสีความร้อน แก๊สในอุดมคติ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ในเรื่องความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส
พลังงานภายในระบบ การประยุกต์เครื่องยนต์แบบต่างๆ พร้อมทั้ง
สามารถอธิบายและสามารถนำาความรู้เกี่ยวกับความดันไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันได้
       โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจ
       เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา
ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 5.1/1-9 ว 4.1/1-4




                  คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 3
   รหัสวิชา ว 32203 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              2
106

      ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล
การสั่น การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คลื่นผิวนำ้า การซ้อนทับ
ของคลื่น สมบัติที่เกี่ยวข้องคลื่น ได้แก่ การสะท้อน การหักเห หาร
แทรกสอด การเลียวเบน คลื่นนิ่ง การสั่นพ้อง ธรรมชาติของเสียง
                    ้
อัตราเร็วเสียง การเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านตัวกลาง ความเข้มเสียงและ
การได้ยิน เสียงดนตรี ทีเกี่ยวข้องกับ ระดับเสียง คุณภาพเสียง
                         ่
ความถี่ธรรมชาติ การสั่นพ้องของเสียง บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง
ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทก การประยุกต์ความรู้เรื่องเสียง
ไปใช้ประโยชน์ในด้านการประมง สถาปัตยกรรม การแพทย์ ธรณีวทยา           ิ
วิศวกรรมและอุตสาหกรรม และสามารถอธิบาย คำานวณเกี่ยวกับการ
เคลื่อนที่และอัตราเร็วแสง การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง
เลนส์บาง ปรากฏการเกี่ยวกับแสง เช่น การกระจายแสง การสะท้อน
กลับหมด รุ้ง มิราด และทัศนูปกรณ์ ความสว่างและการถนอมสายตา
สามารถนำาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน
ใจ
      เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา
ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐานและรหัสตัวชี้วัด
ว 5.1/1-9




                 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 4
   รหัสวิชา ว 32204 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                     มัธยมศึกษาปีที่ 6
107

เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              1

      ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนำาไฟฟ้า แรง
ระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า ศักย์
ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุและความจุ การนำาความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้
ประโยชน์ กระแสไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความ
ต่างศักย์ พลังงานในวงจรไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบื้องต้น ความสัมพันธ์ระหว่าง
ระหว่างกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก การประยุกต์ผลของสนามแม่
เหล็กต่อตัวนำาที่มีกระแส ไฟฟ้าผ่าน กระแสไฟฟ้าเหนียวนำาและแรง
                                                       ่
เคลื่อนไฟฟ้าเหนียวนำา มอเตอร์และเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า หม้อแปลง
                  ่
ค่าของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ กำาลังไฟฟ้าในวงจร
ไฟฟ้ากระแสสลับ การคำานวณหาพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าใน
บ้าน วงจรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน และการใช้ไฟฟ้าอย่าง
ปลอดภัย
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน
ใจ
      เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา
ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 5.1
108



                  คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 5
   รหัสวิชา ว 32205 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่
                              2

       ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมก
ซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ การแผ่คลื่นแม่ไฟฟ้าจากสายอากาศ
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โพลาไรเซซันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
อะตอม การค้นพบอิเล็กตรอน แบบจำาลองอะตอมของทอมสัน การ
ทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด การทดลองด้านสเปกตรัม ปรากฏการโฟโต
อิเล็กทริก ทฤษฎีอะตอมของโบร์ การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
รังสีเอกซ์ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ ทวิภาพของ
คลื่นและอนุภาค กลศาสตร์ควอนตัม เลเซอร์ ตัวนำา กึ่งตัวนำา และ
ฉนวนการค้นพบกัมมันตรังสี การเปลียนสภาพนิวเคลียส การสลาย
                                      ่
ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ไอโซเทป เสถียรภาพของนิวเคลียส
ปฏิกิริยานิวเคลียส ประโยชน์ของกัมมันภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
กัมมันต-ภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันภาพรังสีและการ
ป้องกัน วัสดุอิเล็กทรอนนิกส์ที่ใช้สำาหรับเป็นรับรู้ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่
ใช้สำาหรับการวิเคราะห์และตัดสินใจ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการ
ควบคุม ตัวอย่างการนำาความรูทางอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ทาง
                                ้
วิทยาศาสตร์
       โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน
ใจ
       เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา
ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 5.1/4     ว 5.1/5-9
109




                   รายวิชารายวิชาเพิ่มเติม
                   คำาอธิบายรายวิชาเคมี 1
   รหัสวิชา ว 31221 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 2

      ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างอะตอม ชนิดและจำานวนอนุภาค
มูลฐานของอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ
พลังงานไอออไนเซชัน การจัดเรียงธาตุ และทำานายแนวโน้มสมบัติ
ของธาตุตามตารางธาตุ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร สมบัติ
ของสารประกอบ ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบ และการนำาไปใช้
ประโยชน์ ตำาแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ
แทรนซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี การใช้ธาตุกัมมันตรังสี
อย่างถูกต้อง การเกิด โครงสร้าง และสมบัติบางประการของพันธะไอ
ออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะ
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบค้นข้อมูล สำารวจ
ทดลอง วิเคราะห์ และการอภิปราย
      เพื่อให้เดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำาความ
รู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่า
นิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 3.1
110




                   คำาอธิบายรายวิชาเคมี 2
   รหัสวิชา ว 31222 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 1

      ศึกษา วิเคราะห์ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอม และมวล
อะตอมเฉลี่ย มวลโมเลกุลและมวลของสาร 1 โมเลกุล ความสัมพันธ์
ระหว่างจำานวนโมลกับจำานวนอนุภาค มวลของสาร และปริมาตรของ
ก๊าซที่ STP ความเข้มข้นของสารละลาย และเตรียมสารละลาย
จุดเดือด จุดหลอมเหลวหรือจุดเยือกแข็งของสารละลาย สูตรเอมพิริ
คัล สูตรโมเลกุลของสาร มวลเป็นร้อยละของธาตุองค์ประกอบ ปฎิ
กิริยาเคมี การเขียนและดุลสมการเคมี ระบบปิดและระบบเปิด กฎทรง
มวล กฎสัดส่วนคงที่ กฎเกย์-ลูสแซกและกฎของอาโวกาโดร ผลได้
ร้อยละ สมบัติของของแข็ง เหตุผลที่ธาตุบางชนิดปรากฏเป็นรูปต่างๆ
การระเหิด สมบัติของของเหลว การระเหย และการเกิดความดันไอ
และก๊าซ กฎของก๊าซ ทฤษฎีจลน์ของก๊าซและการนำาไปอธิบายสมบัติ
ต่างๆของสารทั้ง 3 สถานะ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
      เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
111

ว 3.2




                   คำาอธิบายรายวิชาเคมี 3
   รหัสวิชา ว 31223 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 2

      ศึกษา วิเคราะห์ ทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลของ
ความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการดำาเนินไปของของปฏิกิริยา การ
ใช้ทฤษฎีจลน์อธิบายผลของปัจจัยต่าง ๆ ทีมีผลต่ออัตราการเกิด
                                            ่
ปฏิกิริยาเคมี ทดลองการเปลียนแปลงไปข้างหน้า การเปลียนแปลง
                            ่                             ่
ย้อนกลับ การเปลียนแปลงที่ผันกลับได้ สมบัติของระบบที่มีภาวะ
                  ่
สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลในสารละลายอิ่มตัว สมดุลในปฏิกิริยาเคมี
ทิศทางการดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอ และ
การนำาไปใช้อธิบายการเปลียนแปลงภาวะสมดุล คำานวณหาค่าคงที่ของ
                          ่
สมดุลและหาความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา ณ ภาวะสมดุล ปัจจัยที่
มีผลต่อค่าคงที่สมดุล สมบัติบางประการของสารอิเล็กโทรไลต์ ไอออน
ในสารละลายกรด-เบส ทฤษฎีกรด-เบส คู่กรด-เบส คำานวณการแตก
ตัวของกรด-เบส การแตกตัวของนำ้าบริสุทธิ์ pH ของสารละลาย สมบัติ
และการแตกตัวของอินดิเคเตอร์ ทดลองการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
ชนิดต่าง ๆ ในสารละลาย สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจำาวันและใน
สิ่งแวดล้อม และคำานวณหาความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮ
112

ดรอกไซด์ไอออนในนำ้าโดยการไทเทรต เลือกใช้อินดิเคเตอร์สำาหรับ
ไทเทรตสารละลาย ศึกษาองค์ประกอบและทดสอบสมบัติของ
สารละลายบัพเฟอร์
     โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
     เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 3.2




                   คำาอธิบายรายวิชาเคมี 4
   รหัสวิชา ว 31224 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 1

      ศึกษา วิเคราะห์ เกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์ ประโยชน์ของปฏิกิริยา
รีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันและโดยใช้ครึ่ง
ปฏิกิริยา เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์กัลป์วานิก ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ ศักย์
ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ แผนภาพของเซลล์ไฟฟ้า เซลล์อิเล็ก
โทรไลต์ ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมเคมีท้องถิน       ่
อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จาก
โซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมไฮดรอก
ไซด์และก๊าซคลอรีน
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
ทดลอง การสำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
113

       เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียน
รู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี
จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 3.2




                   คำาอธิบายรายวิชาเคมี 5
   รหัสวิชา ว 31225 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                      มัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 2

       ศึกษา วิเคราะห์ ชนิดของพันธะระหว่างคาร์บอน สูตรเคมี ไอโซ
เมอร์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และทดลองการจัดตัวของ
คาร์บอนในสารประกอบ ทดลองสมบัติของสาร ประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน แบบสายตรง แบบวงแหวนอะโรมาติก มลพิษที่อาจ
เกิดขึ้นและการแก้ไข ศึกษาหมู่ฟังก์ชัน สูตรเคมีของสารประกอบ
คาร์บอน ศึกษาและทดลองสมบัติปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์ แอลดีไฮด์
คีโตน กรดอินทรีย์ เอสเทอร์ เอมีน เอไมด์ ศึกษาแหล่งกำาเนิดและ
องค์ประกอบของปิโตรเลียม วิธีแยกนำ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ
กระบวนการผลิตและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีบางชนิด ชนิด
114

และปฏิกิริยาของพอลิเมอร์ ชนิด สมบัติและประโยชน์ของพลาสติก
เส้นใย ยาง ซิลโคน รวมทั้งมลพิษที่อาจเกิดขึ้นและแนวทางในการ
                 ิ
ป้องกัน ศึกษาความก้าวหน้าของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ ความ
สำาคัญของอาหารต่อชีวิตและสุขภาพ อาหารกับสารชีวโมเลกุล ซึ่ง
ได้แก่ ไขมันและนำ้ามัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต องค์ประกอบ
โครงสร้าง แหล่งที่เกิดในธรรมชาติของสารชีวโมเลกุล ทดลอง
สมบัติ ปฏิกิรยาเคมีบางประเภทของไขมันและนำ้ามัน โปรตีน
              ิ
คาร์โบไฮเดรต สมบัติและการทำางานของเอนไซม์ ความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสารชีวโมเลกุล
      โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
      เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา
วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ว 3.2




                 คำาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 1
   รหัสวิชา ว 31241 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
                       มัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน
                            ที่ 2

       ศึกษา วิเคราะห์ สำารวจตรวจสอบโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร
และการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน การรักษาดุลยภาพใน
ร่างกาย ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย การแลก
เปลียนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ มนุษย์ ระบบขับถ่ายของสิ่งมี
     ่
ชีวิต ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนำ้าเหลือง การลำาเลียงสารในร่างกาย
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการptv534224
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 

Similar to 3หลักสูตรวิทยาศาสตร์

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 

Similar to 3หลักสูตรวิทยาศาสตร์ (20)

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 

More from nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 

More from nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์

  • 1. 78 โครงสร้างหลักสูตร / คำาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
  • 2. 79 รายวิชาพื้นฐาน ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว 22101 วิทยาศาสตร์ 3 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว 22102 วิทยาศาสตร์ 4 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว 23102 วิทยาศาสตร์ 6 จำานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ว 21201 แรงและการเคลื่อนที่ จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต ว 21202 เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์ จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต ว 2220 ٣ พันธุกรรมกับการอยูรอด ่ จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต ว 2220 ٤ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต ว 2320 ٥ โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวิต จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต ว 2320 ٦ พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น จำานวน 40 ชั่วโมง 1.٠ หน่วยกิต
  • 3. 80 คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การแพร่ ออสโมซีส กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำาเลียงในพืช การสืบพันธุ์ การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และเทคโนโลยีชีวภาพ สมบัติของสาร ความ สัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค หลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย สารละลายกรด-เบส การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การตั้งคำาถาม การตั้ง สมมติฐาน การสืบเสาะหาความรู้ การสำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การสังเกตเปรียบเทียบ และการอภิปราย มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ มี จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 1.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11, ม.1/12, ม.1/13 ว 3.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 ว 3.2ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ว 8.1ม.1/1, ม.1/2 รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด
  • 4. 81 คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 21102 วิทยาศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง โน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูป พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงาน ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมเข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและ ภายนอกโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ ทีมีผลต่อการ ่ เปลียนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานโลก ่ โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การรวบรวม ข้อมูล การอธิบาย มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ มี จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 4.1ม.1/1, ม.1/2 ว ٥.١ม.١/١, ม.١/٢ ,ม.١/٣,ม.١/٤ ว 6.1ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7 ว 8.1ม.1/3, ม.1/4
  • 5. 82 รวมทั้งหมด 1 ٥ ตัวชี้วัด คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 22101 วิทยาศาสตร์ 3 กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและการทำางานของระบบต่างๆใน ร่างกายมนุษย์และสัตว์ แสดงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ เทคโนโลยีชีวภาพ อาหาร สารเสพติด ธาตุและสารประกอบ การแยก สาร การเปลียนแปลงสาร ปฏิกิรยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิต ่ ิ ประจำาวัน ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจ การสังเกต การทดลอง การตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล การอธิบาย และการอภิปราย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถในการ คิดตัดสินใจอย่างเป็นระบบ สามารถแก้ปัญหา นำาความรู้ไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะมีจริยธรรมคุณธรรมและค่า นิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว١.١ ม.٢/١ ม.٢/٢, ม.٢/٣, ม.٢/٤, ม.٢/٥, ม.٢/٦ ว٣.١ ม.٢/1 , ม٢/2, ม.٢/3 ว٣.٢ ม.٢/١, ม.٢/٢, ม.٢/٣, ม.٢/٤
  • 6. 83 รวมทั้งหมด ١٣ ตัวชี้วัด คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 22102 วิทยาศาสตร์ 4 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัวโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ่ ศึกษา วิเคราะห์ แรงลัพธ์ การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง ความสว่าง การดูดกลืน แสงสีและ การมองเห็น ดิน หิน แร่ ปิโตรเลียม แหล่งนำ้า โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ของพื้นโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจ การตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการทดลอง การวิเคราะห์ การอธิบาย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถคิดและ ตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา นำาความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว٤.١ ม٢/١, ม٢/٢ ว٥.١ ม.٢/١ , ม.٢/٢, ม.٢/٣
  • 7. 84 ว٦.١ ม.٢/١,ม.٢/٢,ม.٢/٣, ม.٢/٤, ม.٢/٥, ม.٢/٦, ม.٢/٧, ม.٢/٨, ม.٢ /٩, ม.٢/١٠ รวมทั้งหมด ١٥ ตัวชี้วัด คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5 กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรค ทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ ระบบ นิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติตาม ่ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำารวจ การวิเคราะห์ตรวจสอบการสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการ อภิปราย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถ ตัดสินใจ อย่างเป็นระบบ นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยา ้ ศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว١.٢ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٤, ม.٣/٥, ม.٣/٦ ว٢.١ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣, ม.٣/٤
  • 8. 85 ว٢.٢ ม.٣/١, ม.٣٢, ม.٣/٣, ม.٣/٤, ม.٣/٥, ม.٣/٦ รวมทั้งหมด ١٦ ตัวชี้วัด คำาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 23102 วิทยาศาสตร์ 6 กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัวโมง จำานวน 1.5 หน่วยกิต ่ ศึกษา วิเคราะห์ ความเร่ง แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา แรงพยุง แรง เสียดทาน โมเมนต์ การเคลื่อนที่ของวัตถุ พลังงานและกฎการอนุรักษ์ พลังงาน พลังงานไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประกอบของระบบสุริยะ กลุ่มดาวฤกษ์ กาแลกซี่ เอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้น การสังเกต การ ตรวจสอบ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การคำานวณการอธิบายและ อภิปราย มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถแก้ ปัญหา สามารถคิดและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ นำาความรูไปใช้ในชีวิต ้ ประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
  • 9. 86 รหัสตัวชี้วัด ว٤.١ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣ ว٤.٢ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣ ว٥.١ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣, ม.٣/٤, ม.٣/٥ ว٧.١ ม.٣/١, ม.٣/٢, ม.٣/٣ ว٧.٢ ม.٣/١ รวมทั้งหมด ١٥ ตัวชี้วัด
  • 10. 87 คำาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว 20201 แรงและการเคลื่อนที่ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชัวโมง จำานวน 1.0 หน่วยกิต ่ ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปสาระสำาคัญแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้ม ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำารง ชีวิต การเปลียนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผล ่ ของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมเข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่ เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายนอกโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานโลก โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การทดลอง การรวบรวมข้อมูล การอธิบาย มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียน รู้ และตัดสินใจอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ ปัญหา นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิต ้ สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดีงามเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1 , ว 4.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/1 , ว 1.1 ม.1/2 , ว 1.1 ม.1/3 , ว 1.1 ม.1/4 , ว 7.1 ม.1/1 , ว 7.1 ม.1/2 , ว 7.1 ม.1/3 , ว 7.1 ม.1/4 , ว 7.1 ม.1/5 , ว 7.1 ม.1/6 , ว 7.1 ม.1/7 , ว 8.1 ม.1/3 ,ว 8.1 ม.1/4 รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด
  • 11. 88 คำาอธิบายรายวิชา เพิ่มเติม ว 20202 ( เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต ศึกษา ค้นคว้า ดูงาน และทำากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ โดยเน้น เกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะการตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การกำาหนดและควบคุมตัวแปร ตลอดจนการ ใช้เครื่องมือพื้นฐาน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโครงงานและ สามารถนำาความรู้และทักษะไปใช้ในการทำาโครงงานทางวิทยาศาสตร์ ให้ได้ผล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความ สามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. บันทึกอธิบาย และ อภิปรายผลจากการศึกษาค้นคว้าดูงานและ ทำากิจกรรม 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 3. สามารถฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ได้แก่ ทักษะการตั้ง สมมติฐาน ทักษะการออกแบบการทดลอง การกำาหนดและ การควบคุมตัวแปรได้อย่างเป็นระบบ 4. มีทักษะในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ 5. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ 6. สามารถนำาความรู้และทักษะไปใช้ในการทำาโครงงานอย่างง่าย ได้
  • 12. 89 7. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความรับ ผิดชอบ ความพากเพียรพยายาม ความมีระเบียบ ความ รอบคอบ ความมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้ คำาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว 20203 (พันธุกรรมกับการอยู่รอด) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต ศึกษา ค้นคว้า และทำากิจกรรมเกี่ยวกับยีน โครโมโซม และ ลักษณะและโอกาสของการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การป้องกันมิให้ เกิดการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่พึงประสงค์การใช้บริการ จากแหล่งให้คำาปรึกษา เรื่องพันธุกรรม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ ถูกต้อง เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และตระหนักถึง ผลกระทบของการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ที่มีต่อ ครอบครัวและประเทศชาติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรูไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี ้ จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยีนและโครโมโซม 2.อธิบายเกี่ยวกับการทำางานของยีนและโครโมโซม 3.อธิบายกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
  • 13. 90 4.อภิปรายเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ ยีน 5.สามารถวางแผนหลีกเลี่ยงและป้องกันโรคทางพันธุกรรมและ ความผิดปกติต่างๆทางพันธุกรรม 6.นำาความรูที่ได้ไปใช้ในการดูแลผู้ปวยและวางแผนครอบครัว ้ ่ 7. มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องความรับ ผิดชอบ ความพากเพียร พยายาม ความมีระเบียบ ความรอบคอบ ความมีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเจตคติที่ดี ต่อวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
  • 14. 91 คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม ่ ว 20204 ( ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ) กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำานวน ١ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ให้ เข้าใจและทำากิจกรรมตามที่กำาหนดไว้เป็นขั้นตอน และริเริมสร้างสรรค์ ่ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การจำาแนก การตีความ การทดลอง การสืบค้น ข้อมูล การอธิบายและ การอภิปราย มี ความรู้ ความคิ ด ความเข้ าใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ งที่ เ รี ย นรู้ มี ความสามารถในการตั ด สิ น ใจ นำา ความรู้ ไ ปใช้ ใ นชี วิ ต ประจำา วั น มี จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2. บอกคุณสมบัติต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผัสทัง 5 และลงความ ้ เห็นจากข้อมูล 3. จำาแนกประเภทสิ่งต่างๆได้ถูกต้องตามเกณฑ์ 4. ทำาการวัดความกว้าง ความสูง อุณหภูมิ ปริมาตร นำ้าหนักได้ 5. สามารถใช้ความรูทางคณิตศาสตร์ คำานวณหาผลลัพธ์ของ ้ ปริมาณต่างๆได้ 6. บอกความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตำาแหน่งที่อยู่ของ วัตถุกับเวลาได้ 7. สามารถบันทึกข้อมูลจากข้อมูลที่กำาหนดให้ได้อย่างเหมาะสม 8. สามารถพยากรณ์ภายในและภายนอกขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ ได้อย่างเหมาะสม 9. สามารถชี้บ่งตัวแปรประเภทต่างๆได้ถูกต้อง 10.สามารถตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กำาหนดได้ 11.สามารถกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรได้ 12.สามารถออกแบบทดลองต่างๆเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้อย่างถูกต้อง
  • 15. 92 13.สามารถตีความข้อมูลและลงข้อสรุปของข้อมูลได้ รวมทั้งหมด 13 ผลการเรียนรู้
  • 16. 93 คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม ่ ว 20205 ( โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวต) ิ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต ศึกษาค้นคว้า ทำากิจกรรมในรูปแบบต่างๆโดยเน้นเกี่ยวกับ กระบวนการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะ การตั้งสมมติฐาน การ ออกแบบการทดลอง การกำาหนดและควบคุมตัวแปร การใช้เครื่องมือ พื้นฐาน เขียนหรือจัดทำาเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ การจัดทำาโครง งานวิทยาศาสตร์ สรุปผลการทำาโครงงาน เสนอผลงานและจัดแสดง ผลงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบาย การจัดทำาและสรุปผล โครงงาน การนำาเสนอและจัดแสดงผลงาน มีความรู้ ความเข้าใจ คิดอย่างมีเหตุผล สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถตัดสินใจอย่างเป็นระบบ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี เจตคติทางวิทยาศาสตร์และจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม สอดคล้องกับท้องถิ่น ผลการเรียนรู้ 1. ระบุเรื่องหรือปัญหาที่จะทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 2. สืบค้นข้อมูล จากแหล่งข้อมูลทีใช้จัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ ่ 3. อธิบายและวางแผนออกแบบการทดลองในการทำาโครงงาน วิทยาศาสตร์ 4. เขียนหรือจัดทำาเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ด้วยความ เข้าใจและถูกต้อง 5. สามารถจัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีทักษะและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6. สรุปผลของการทำาโครงงานวิทยาศาสตร์พร้อมทั้งทังเขียนรายงาน ้ ได้ถูกต้อง 7. สามารถเสนอผลงานและจัดแสดงผลงงานได้ด้วยความเข้าใจและ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 18. 95 คำาอธิบายรายวิชาเพิมเติม ่ ว 20206 ( พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ) กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำานวน 1 หน่วยกิต ศึกษา ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพืช สมุนไพรกับมนุษย์ การเก็บพืชสมุนไพรมาปรุงยา การปรุงยาสมุนไพร ให้ถูกต้อง ถูกวิธี เทคนิคการชั่ง ตวง ยาสมุนไพร วิธีการปรุงยาแผน โบราณ เทคนิคการปรุงยาต้ม ยาชง ยาลูกกลอน ยาดองเหล้า ประโยชน์ของพืชสมุนไพรแก้อาการเจ็บคอ อาการไข้ แก้ท้องร่วง ยา ขับปัสสาวะ ยาระบาย ยาลดความดันโลหิตสูง ยาแก้โรคเบาหวาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอธิบายและการอภิปราย มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการคิดและตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจิตสาธารณะ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่ เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อภิปรายถึงความสัมพันธ์ระหว่างพืชสมุนไพรกับมนุษย์ได้ 2. บอกวิธีเก็บพืชสมุนไพรชนิดต่างๆได้ 3. อธิบายถึงวิธีการปรุงยาสมุนไพรอย่างถูกวิธีได้ 4. อธิบายวิธีการทำาให้สมุนไพรแห้งสนิทได้ 5. บอกเทคนิคการชั่งตวงยาสมุนไพรให้ถูกหลักการได้ 6. อธิบายการปรุงยาสมุนไพรโบราณได้ 7. บอกเทคนิคการปรุงยาต้ม ยาชง ยาลูกกลอน และยาดอง เหล้าได้ 8. บอกประโยชน์ของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่นำามาใช้ในการปรุง ยาได้ 9. บอกวิธีการปรุงยาสมุนไพรแก้อาการเจ็บคอ อาการไข้ แก้ ท้องร่วง ขับปัสสาวะ ยะระบาย ยาลดความดันโลหิตสูง และยาแก้โรคเบาหวาน
  • 19. 96 10.อธิบายวิธีการอบ อาบสมุนไพรได้ 11.บอกประโยชน์ของการอบ อาบสมุนไพรได้ 12.อธิบายวิธีการทำาเครื่องดื่มสมุนไพรจากพืชชนิดต่างๆได้ 13.บอกชนิดและประโยชน์ของสมุนไพรที่ช่วยระงับกลิ่นปากและ กลิ่นตัวได้ 14.อธิบายวิธีการนำาพืชสมุนไพรมาใช้เพื่อความงามได้ 15.บอกความหมายและประโยชน์ของแพทย์แผนไทยและแพทย์ แผนพื้นบ้านได้ รวมทั้งหมด 15 ผลการเรียนรู้
  • 20. 97 โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาพื้นฐาน ระดับ รหัส รายวิชา เวลา หน่วย หมายเห ชั้น วิชา เรียน กิต ตุ (ชั่วโมง ) ว 311 ฟิสิกส์ 4 2.0 ภาคเรียน 01 ที่ 1 ว 311 เคมี 3 1.5 ภาคเรียน ม.4 02 ที่ 1 ว 311 ชีววิทยา 3 1.5 ภาคเรียน 03 ที่ 1 ว 331 โลก 2 1.0 ภาคเรียน ม.4 01 ดาราศาสตร์ ที่ 2 และอวกาศ
  • 21. 98 โครงสร้างหลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาเพิ่มเติม เวลา ระดับ รหัส เรียน หน่วย หมายเห รายวิชา ชั้น วิชา (ชั่วโ กิต ตุ มง) ว 312 ฟิสิกส์ 1 4 2.0 ภาคเรียน 01 ที่ 2 ว 312 เคมี 1 3 1.5 ภาคเรียน 21 ที่ 2 ม.4 ว 312 ชีววิทยา 1 3 1.5 ภาคเรียน 41 ที่ 2 ว 312 วิทยาศาสตร์กายภา 2 1.0 ภาคเรียน 81 พชีวภาพ 1 ที่ 2
  • 22. 99 ว 322 ฟิสิกส์ 2 4 2.0 ภาคเรียน 02 ที่ 1 ว 322 เคมี 2 3 1.5 ภาคเรียน 22 ที่ 1 ว 322 ชีววิทยา 2 3 1.5 ภาคเรียน 42 ที่ 1 ว 322 ฟิสิกส์ 3 4 2.0 ภาคเรียน 03 ที่ 2 ม.5 ว 322 เคมี 3 3 1.5 ภาคเรียน 23 ที่ 2 ว 322 ชีววิทยา 3 3 1.5 ภาคเรียน 43 ที่ 2 ว 322 วิทยาศาสตร์กายภา 2 1.0 ภาคเรียน 81 พชีวภาพ 2 ที่ 1 ว 322 วิทยาศาสตร์กายภา 2 1.0 ภาคเรียน 82 พชีวภาพ 3 ที่ 2 ว 322 ฟิสิกส์ 4 4 2.0 ภาคเรียน 04 ที่ 1 ว 322 เคมี 4 3 1.5 ภาคเรียน 24 ที่ 1 ว 322 ชีววิทยา 4 3 1.5 ภาคเรียน 44 ที่ 1 ว 322 ฟิสิกส์ 5 4 2.0 ภาคเรียน 05 ที่ 2 ม.6 ว 322 เคมี 5 3 1.5 ภาคเรียน 25 ที่ 2 ว 322 ชีววิทยา 5 3 1.5 ภาคเรียน 45 ที่ 2 ว 332 วิทยาศาสตร์กายภา 2 1.0 ภาคเรียน 01 พชีวภาพ 4 ที่ 1 ว 332 วิทยาศาสตร์กายภา 2 1.0 ภาคเรียน 02 พชีวภาพ 5 ที่ 2
  • 23. 100 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ รหัสวิชา ว 31101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ เคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการ เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้า ระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนทีในแนวตรง การเคลื่อนที่แบบโพร ่ เจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ประโยชน์เกี่ยวกับ การเคลื่อนทีแบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ่ สมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลืน การเกิดคลื่นเสียงบีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ่ ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และนำาเสนอผลการ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ฟิวชัน และความ สัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน พลังงานทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ่ และผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และนำาไปใช้ประโยชน์ ชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสีและบอกวิธีการตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ การสำารวจตรวจสอบ สังเกต การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย เพื่อการเปรียบเทียบ การทำานายการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ เหมาะสม
  • 24. 101 มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 4.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/4 ว 4.2 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/3 ว 5.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/9 ว 8.1 ม.4 – ม.6/1 - ม.4 – ม.6/12 คำาอธิบายรายวิชาเคมี รหัสวิชา ว 31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอน ในระดับพลังงานนอกสุด กับสมบัติของธาตุและการเกิด ปฏิกิริยา การ จัดเรียงธาตุ และทำานายแนวโน้มสมบัติของธาตุในตารางธาตุ การเกิด พันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง จุดเดือดจุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคของสาร เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิต ประจำาวัน ผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ นำาความรุ้ ไปใช้ประโยชน์ การเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ และการกลั่นลำาดับส่วนนำ้ามันดิบ การใช้ประโยชน์และผลกระทบจาก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก็สธรรมชาติ และการกลั่นลำาดับส่วน นำ้ามันดิบ การเกิดพอลิเมอร์ สมบัติของพอลิเมอร์ ประโยชน์และผลก ระทบที่เกิดจากการผลิตและใช้พอลิเมอร์ ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบ ประโยชน์ และปฏิกิริยาบางชนิดของคาร์โบไฮเดรต ไข มันและนำ้ามัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย
  • 25. 102 เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 3.1 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/5 ว 3.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/9 ว 8.1 ม.4 - 6/1 - ม.4 - 6/12 คำาอธิบายรายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 31103 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์ การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ หลายเซลล์ การรักษาดุลยภาพของพืช การรักษาดุลยภาพของนำ้า แร่ ธาตุ อุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ระบบภูมิคุ้มกัน การถ่ายทอด พันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ หน่วยของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพ การคัดเลือกตามธรรมชาติ ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดไป โดย ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำารวจตรวจ สอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความ สามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าและนำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
  • 26. 103 มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 1.1 ม.4 - 6/1 - ม. 4 - 6/4 ว 1.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/4 ว 2.1 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/3 ว 2.2 ม. 4 - 6/1 - ม. 4 - 6/3 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 1 รหัสวิชา ว 31201 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ธรรมชาติและขอบเขตของวิชา ฟิสิกส์ ธรรมชาติของการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ เลขนัยสำาคัญ ความ ผิดไม่แน่นอนในการวัด และ ฝึกปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัด ตำาแหน่งและการกระจัด ความเร็วเฉลี่ย ความเร่ง วัตถุตกอย่างเสรี กรอบอ้างอิงเฉื่อย แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน นำ้าหนัก กฎ แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน จุดศูนย์กลางมวล และจุดศูนย์กลาง ของความโน้มถ่วง แรงเสียดทาน การนำากฎการเคลื่อนที่ไปใช้ การ เคลื่อนที่แบบต่างๆ งาน กำาลังงาน พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล กฎสากลของการอนุรักษ์ พลังงาน เครื่องกล
  • 27. 104 โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน ใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 4.1/1-9 ว 4.2/2 ว 4.1/1-4 ว 4.1 /1-3 ว 5.1/1-9 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว 32202 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย โมเมนตัม แรงและการเปลี่ยนแปลง โมเมนตัม การดลและแรงดล การชน การหมุน ความเร็วเชิงมุม ทอร์ กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน โมเมนต์ความเฉื่อย พลังงานจลน์ของการ หมุน โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลียนโมเมนตัมเชิงมุม การ ่ ทำางานในการหมุน การแกว่งของวัตถุ สภาพสมดุล เงื่อนไขของ สมดุล โมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบ เสถียรภาพ ของสมดุล การนำาหลักสมดุลไปประยุกต์ สภาพยืดหยุ่น ความทนแรง
  • 28. 105 ของวัตถุ ความหนาแน่น ความดันของเหลว ทีขึ้นอยู่กับความลึก ่ พร้อมเครื่องมือที่ใช้วัดความดัน กฏของพาสคาล หลักการทำางานของ เครื่องอัดไฮโดรลิกส์ แรงลอยตัว หลักของคาร์คีมีดิส ความตึงผิว ความหนืด พลศาสตร์ของไหล ความร้อน ที่เกี่ยวกับการขยายตัวของ อุณหภูมิของวัตถุเนื่องจากความร้อน สถานะและการแลกเปลี่ยนสถานะ ของสาร การถ่ายโอนความร้อน การแผ่รังสีความร้อน แก๊สในอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ในเรื่องความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส พลังงานภายในระบบ การประยุกต์เครื่องยนต์แบบต่างๆ พร้อมทั้ง สามารถอธิบายและสามารถนำาความรู้เกี่ยวกับความดันไปใช้ในชีวิต ประจำาวันได้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 5.1/1-9 ว 4.1/1-4 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 3 รหัสวิชา ว 32203 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2
  • 29. 106 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล การสั่น การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คลื่นผิวนำ้า การซ้อนทับ ของคลื่น สมบัติที่เกี่ยวข้องคลื่น ได้แก่ การสะท้อน การหักเห หาร แทรกสอด การเลียวเบน คลื่นนิ่ง การสั่นพ้อง ธรรมชาติของเสียง ้ อัตราเร็วเสียง การเคลื่อนที่ของคลื่นผ่านตัวกลาง ความเข้มเสียงและ การได้ยิน เสียงดนตรี ทีเกี่ยวข้องกับ ระดับเสียง คุณภาพเสียง ่ ความถี่ธรรมชาติ การสั่นพ้องของเสียง บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทก การประยุกต์ความรู้เรื่องเสียง ไปใช้ประโยชน์ในด้านการประมง สถาปัตยกรรม การแพทย์ ธรณีวทยา ิ วิศวกรรมและอุตสาหกรรม และสามารถอธิบาย คำานวณเกี่ยวกับการ เคลื่อนที่และอัตราเร็วแสง การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง เลนส์บาง ปรากฏการเกี่ยวกับแสง เช่น การกระจายแสง การสะท้อน กลับหมด รุ้ง มิราด และทัศนูปกรณ์ ความสว่างและการถนอมสายตา สามารถนำาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน ใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐานและรหัสตัวชี้วัด ว 5.1/1-9 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 4 รหัสวิชา ว 32204 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 30. 107 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนำาไฟฟ้า แรง ระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า ศักย์ ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุและความจุ การนำาความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตไปใช้ ประโยชน์ กระแสไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความ ต่างศักย์ พลังงานในวงจรไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบื้องต้น ความสัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก การประยุกต์ผลของสนามแม่ เหล็กต่อตัวนำาที่มีกระแส ไฟฟ้าผ่าน กระแสไฟฟ้าเหนียวนำาและแรง ่ เคลื่อนไฟฟ้าเหนียวนำา มอเตอร์และเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า หม้อแปลง ่ ค่าของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ กำาลังไฟฟ้าในวงจร ไฟฟ้ากระแสสลับ การคำานวณหาพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าใน บ้าน วงจรไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน และการใช้ไฟฟ้าอย่าง ปลอดภัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน ใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 5.1
  • 31. 108 คำาอธิบายรายวิชาฟิสิกส์ 5 รหัสวิชา ว 32205 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 2 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมก ซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ การแผ่คลื่นแม่ไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โพลาไรเซซันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อะตอม การค้นพบอิเล็กตรอน แบบจำาลองอะตอมของทอมสัน การ ทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด การทดลองด้านสเปกตรัม ปรากฏการโฟโต อิเล็กทริก ทฤษฎีอะตอมของโบร์ การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ รังสีเอกซ์ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ ทวิภาพของ คลื่นและอนุภาค กลศาสตร์ควอนตัม เลเซอร์ ตัวนำา กึ่งตัวนำา และ ฉนวนการค้นพบกัมมันตรังสี การเปลียนสภาพนิวเคลียส การสลาย ่ ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ไอโซเทป เสถียรภาพของนิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียส ประโยชน์ของกัมมันภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ กัมมันต-ภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันภาพรังสีและการ ป้องกัน วัสดุอิเล็กทรอนนิกส์ที่ใช้สำาหรับเป็นรับรู้ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่ ใช้สำาหรับการวิเคราะห์และตัดสินใจ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการ ควบคุม ตัวอย่างการนำาความรูทางอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ทาง ้ วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน ใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 5.1/4 ว 5.1/5-9
  • 32. 109 รายวิชารายวิชาเพิ่มเติม คำาอธิบายรายวิชาเคมี 1 รหัสวิชา ว 31221 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างอะตอม ชนิดและจำานวนอนุภาค มูลฐานของอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ พลังงานไอออไนเซชัน การจัดเรียงธาตุ และทำานายแนวโน้มสมบัติ ของธาตุตามตารางธาตุ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร สมบัติ ของสารประกอบ ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบ และการนำาไปใช้ ประโยชน์ ตำาแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ แทรนซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี การใช้ธาตุกัมมันตรังสี อย่างถูกต้อง การเกิด โครงสร้าง และสมบัติบางประการของพันธะไอ ออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบค้นข้อมูล สำารวจ ทดลอง วิเคราะห์ และการอภิปราย เพื่อให้เดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำาความ รู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่า นิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 3.1
  • 33. 110 คำาอธิบายรายวิชาเคมี 2 รหัสวิชา ว 31222 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอม และมวล อะตอมเฉลี่ย มวลโมเลกุลและมวลของสาร 1 โมเลกุล ความสัมพันธ์ ระหว่างจำานวนโมลกับจำานวนอนุภาค มวลของสาร และปริมาตรของ ก๊าซที่ STP ความเข้มข้นของสารละลาย และเตรียมสารละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลวหรือจุดเยือกแข็งของสารละลาย สูตรเอมพิริ คัล สูตรโมเลกุลของสาร มวลเป็นร้อยละของธาตุองค์ประกอบ ปฎิ กิริยาเคมี การเขียนและดุลสมการเคมี ระบบปิดและระบบเปิด กฎทรง มวล กฎสัดส่วนคงที่ กฎเกย์-ลูสแซกและกฎของอาโวกาโดร ผลได้ ร้อยละ สมบัติของของแข็ง เหตุผลที่ธาตุบางชนิดปรากฏเป็นรูปต่างๆ การระเหิด สมบัติของของเหลว การระเหย และการเกิดความดันไอ และก๊าซ กฎของก๊าซ ทฤษฎีจลน์ของก๊าซและการนำาไปอธิบายสมบัติ ต่างๆของสารทั้ง 3 สถานะ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับของแข็ง ของเหลว และก๊าซ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
  • 34. 111 ว 3.2 คำาอธิบายรายวิชาเคมี 3 รหัสวิชา ว 31223 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์ ทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลของ ความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาต่ออัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมี พลังงานกับการดำาเนินไปของของปฏิกิริยา การ ใช้ทฤษฎีจลน์อธิบายผลของปัจจัยต่าง ๆ ทีมีผลต่ออัตราการเกิด ่ ปฏิกิริยาเคมี ทดลองการเปลียนแปลงไปข้างหน้า การเปลียนแปลง ่ ่ ย้อนกลับ การเปลียนแปลงที่ผันกลับได้ สมบัติของระบบที่มีภาวะ ่ สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลในสารละลายอิ่มตัว สมดุลในปฏิกิริยาเคมี ทิศทางการดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอ และ การนำาไปใช้อธิบายการเปลียนแปลงภาวะสมดุล คำานวณหาค่าคงที่ของ ่ สมดุลและหาความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา ณ ภาวะสมดุล ปัจจัยที่ มีผลต่อค่าคงที่สมดุล สมบัติบางประการของสารอิเล็กโทรไลต์ ไอออน ในสารละลายกรด-เบส ทฤษฎีกรด-เบส คู่กรด-เบส คำานวณการแตก ตัวของกรด-เบส การแตกตัวของนำ้าบริสุทธิ์ pH ของสารละลาย สมบัติ และการแตกตัวของอินดิเคเตอร์ ทดลองการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ ชนิดต่าง ๆ ในสารละลาย สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจำาวันและใน สิ่งแวดล้อม และคำานวณหาความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนและไฮ
  • 35. 112 ดรอกไซด์ไอออนในนำ้าโดยการไทเทรต เลือกใช้อินดิเคเตอร์สำาหรับ ไทเทรตสารละลาย ศึกษาองค์ประกอบและทดสอบสมบัติของ สารละลายบัพเฟอร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 3.2 คำาอธิบายรายวิชาเคมี 4 รหัสวิชา ว 31224 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์ เกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์ ประโยชน์ของปฏิกิริยา รีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันและโดยใช้ครึ่ง ปฏิกิริยา เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์กัลป์วานิก ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ ศักย์ ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ แผนภาพของเซลล์ไฟฟ้า เซลล์อิเล็ก โทรไลต์ ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมเคมีท้องถิน ่ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการใช้ประโยชน์จาก โซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมคลอไรด์ การผลิตโซเดียมไฮดรอก ไซด์และก๊าซคลอรีน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ ทดลอง การสำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
  • 36. 113 เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียน รู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน มี จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 3.2 คำาอธิบายรายวิชาเคมี 5 รหัสวิชา ว 31225 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์ ชนิดของพันธะระหว่างคาร์บอน สูตรเคมี ไอโซ เมอร์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และทดลองการจัดตัวของ คาร์บอนในสารประกอบ ทดลองสมบัติของสาร ประกอบ ไฮโดรคาร์บอน แบบสายตรง แบบวงแหวนอะโรมาติก มลพิษที่อาจ เกิดขึ้นและการแก้ไข ศึกษาหมู่ฟังก์ชัน สูตรเคมีของสารประกอบ คาร์บอน ศึกษาและทดลองสมบัติปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดอินทรีย์ เอสเทอร์ เอมีน เอไมด์ ศึกษาแหล่งกำาเนิดและ องค์ประกอบของปิโตรเลียม วิธีแยกนำ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ กระบวนการผลิตและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีบางชนิด ชนิด
  • 37. 114 และปฏิกิริยาของพอลิเมอร์ ชนิด สมบัติและประโยชน์ของพลาสติก เส้นใย ยาง ซิลโคน รวมทั้งมลพิษที่อาจเกิดขึ้นและแนวทางในการ ิ ป้องกัน ศึกษาความก้าวหน้าของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ ความ สำาคัญของอาหารต่อชีวิตและสุขภาพ อาหารกับสารชีวโมเลกุล ซึ่ง ได้แก่ ไขมันและนำ้ามัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต องค์ประกอบ โครงสร้าง แหล่งที่เกิดในธรรมชาติของสารชีวโมเลกุล ทดลอง สมบัติ ปฏิกิรยาเคมีบางประเภทของไขมันและนำ้ามัน โปรตีน ิ คาร์โบไฮเดรต สมบัติและการทำางานของเอนไซม์ ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสารชีวโมเลกุล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สำารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำา วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด ว 3.2 คำาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว 31241 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ จำานวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียน ที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์ สำารวจตรวจสอบโครงสร้างของระบบย่อยอาหาร และการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน การรักษาดุลยภาพใน ร่างกาย ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย การแลก เปลียนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ มนุษย์ ระบบขับถ่ายของสิ่งมี ่ ชีวิต ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนำ้าเหลือง การลำาเลียงสารในร่างกาย