SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลา
กับการศึกษาประวัติศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1
2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
อิงมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551
เมื่อเรียนจบหน่วยนี้แล้ว นักเรียนควรสรุปองค์ความรู้ได้
ว่า
ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์ทำาให้คนปัจจุบันได้เข้าใจ
สิ่งที่มนุษย์ได้กระทำาไว้ในอดีตตามมิติของเวลาในพื้นที่ต่างๆซึ่ง
เมื่อวิเคราะห์หลักฐานและข้อมูลข้อเท็จจริง ทำาให้เข้าใจ
เหตุการณ์ในอดีตที่สอดคล้องกับเวลาและสถานที่ได้ถูกต้อง
ฝ่ายวิชาการ สำานักพิมพ์ประสานมิตร
3
กรอบความคิดการจัดการเรียนรู้ของหน่วย
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 9 ชั่วโมง
เป้าหมายของหน่วย(ความเข้าใจฝังแน่นหรือองค์ความรู้สำาคัญของหน่วย) เข้าใจและ
วิเคราะห์การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ รู้จักใช้หลักฐาน วิธีการประวัติศาสตร์เพื่อ
สืบค้นพัฒนาการของมนุษย์สมัยก่อนและสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนและประเทศไทย
เป้าหมาย
ของเรื่อง
(Key
concept)
ตัวชี้วัด
สาระการ
เรียนรู้
สมรรถนะ(ทั
กษะ)
คุณลักษณะ
ที่เน้น
หลักฐาน/ร่องรอย
แสดงการเรียนรู้
กระบวนกา
รเรียนรู้
เรื่องที่ 1
เข้าใจว่า
ประวัติศาสต
ร์เป็นเรื่อง
ราวการเรียน
รู้อดีตของ
มนุษยชาติที่
มีความ
สอดคล้อง
เกี่ยวพันกับ
เหตุการณ์ใน
ปัจจุบัน และ
เชื่อมโยงถึง
เหตุการณ์ที่
กำาลังจะเกิด
ขึ้นใน
อนาคตอีก
1.วิเคราะห์
ความ สำาคัญ
ของเวลาใน
การศึกษา
ประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม
1/1)
2.เทียบ
ศักราช
ระบบต่างๆที่
ใช้ศึกษา
ประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม
1/2)
3.นำาวิธีการ
ทาง
ประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 1
การนับเวลา
และช่วงเวลา
ทาง
ประวัติศาสต
ร์
-ความหมาย
และความ
สำาคัญของ
ประวัติศาสตร์
-ความสัมพันธ์
ของอดีต
ปัจจุบัน และ
อนาคต
-ความสำาคัญ
ของเวลาและ
ช่วงเวลา
สมรรถนะ(ทั
กษะ)
1.การใช้
ภาษา
ถ่ายทอด
ความคิด
ความรู้ ความ
เข้าใจ
2.ความคิด
สร้างสรรค์
3.การแก้
ปัญหา
4.ทักษะใน
ชีวิตจริง
5.การปรับตัว
เลือก และใช้
1.แบบ Rubrics ประเมินเกมการนับศักราช(ส
4.1 ม 1/1)
2.แบบ Rubrics ประเมินบัตรคำาศักราช(ส 4.1
ม 1/1)
3.แบบ Rubrics ประเมินการระดมความคิดเกี่ยว
กับ ความหมายและความสำาคัญของ
ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน
และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา(ส
4.1 ม 1/1)
4.บันทึกใบงานแผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม 1/2)
5.บันทึกใบงานแผนผังความคิดเรื่องวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม 1/3)
1.กระบวน
การคิค
วิเคราะห์
2.กระบวนก
ารสร้างองค์
ความรู้
3.กระบวนก
ารเรียนรู้
แบบบรรยาย
4.การ
จัดการเรียน
รู้โดยใช้เกม
5.การ
จัดการเรียน
รู้โดย
กระบวนการ
1
ป
ท
ก
เ
เ
ศ
-
อ
แ
ข
-
จ
ค
ต
เ
ร
4
ด้วย มาใช้ศึกษา
เหตุการณ์
ทาง
ประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม
1/3)
-การนับศักราช
-การเทียบ
ศักราช
เทคโนโลยี
คุณลักษณะ
1. รักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์
สุจริต
3. มีวินัย
กลุ่ม
6.กระบวนก
ารเรียนรู้
แบบศึกษา
ค้นคว้า
สังเขป
5
เป้าหมาย
ของเรื่อง
(Key
concept)
ตัวชี้วัด
สาระการ
เรียนรู้
สมรรถนะ(
ทักษะ)
คุณลักษณะ
ที่เน้น
หลักฐาน/ร่องรอย
แสดงการเรียนรู้
กระบวนกา
รเรียนรู้
การ
วัดผล
ประเมิน
ผล
เรื่องที่ 2
เข้าใจว่า
การแบ่งยุค
สมัยทาง
ประวัติศาสต
ร์ ของ
ประเทศไทย
เแบ่งช่วง
เวลาเป็นสมัย
ก่อน
ประวัติศาสต
ร์ และสมัย
ประวัติศาสต
ร์
เรื่องที่ 3
เข้าใจว่า วิธี
การทาง
ประวัติศาสต
ร์เป็นขั้นตอน
หรือวิธีการที่
ใช้ในการ
ศึกษาเรื่อง
ราวหรือ
เหตุการณ์
ทาง
ประวัติศาสต
ร์ โดยเน้น
การค้นคว้า
หาหลักฐาน
ต่างๆที่มี
ความสำาคัญ
เรื่องที่ 2 ยุค
สมัยทาง
ประวัติศาสตร์
-การแบ่งช่วง
เวลาทาง
ประวัติศาสตร์
ตามแบบไทย
-สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 3
-วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
1.กำาหนด
ประเด็นปัญหา
2.รวบรวม
ข้อมูลและหลัก
ฐานต่างๆ
3.วิเคราะห์
ข้อมูลจากหลัก
ฐาน
4.ตีความหมาย
จากข้อมูลหลัก
ฐาน
5.นำาเสนอ
ข้อมูล
เรื่องที่ 4
หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
6.แบบ Rubrics ประเมินการเล่นเกมตามหา
หลักฐาน และ เกมจับคู่หลักฐาน (ส 4.1 ม 1/3)
7.บันทึกใบงานบัตรคำาหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร(ส 4.1 ม
1/3)
8.แบบ Rubrics ประเมินการระดมความคิด
เกี่ยวกับ การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน
การศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/3)
2.
Rubrics
ประเมิน
จากโครง
งานศึกษา
ค้นคว้า
โครงงาน
นิทรรศกา
ร แฟ้มผล
งาน ชิ้น
งานต่างๆ
เพื่อแสดง
ความถนัด
ความ
สนใจ
ความ
พยายาม
ความ
สามารถ
6
แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....3.....ชั่วโมง
1. เป้าหมายของเรื่อง
เข้าใจว่า ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวการเรียนรู้อดีตของมนุษยชาติที่มี
ความสอดคล้องเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และเชื่อมโยงถึงเหตุการณ์
ที่กำาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร
2. ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
ของเรื่อง
(Key
concept)
ตัวชี้วัด
สาระการเรียน
รู้
สมรรถนะ(
ทักษะ)
คุณลักษณ
ะที่เน้น
หลักฐาน/ร่องรอย
แสดงการเรียนรู้
เรื่องที่ 4
หลักฐานทาง
ประวัติศาสต
ร์ คือ ร่อง
รอยการกระ
ทำาของมนุษย์
ในอดีตซึ่งยัง
หลงเหลืออยู่
ในปัจจุบัน
-ความสำาคัญ
ของหลักฐาน
ทาง
ประวัติศาสตร์
-ประเภทของ
หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
ตามยุคสมัย
-หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่
เป็นลายลักษณ์
อักษรใน
ประเทศไทย
-หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่
ไม่เป็นลาย
ลักษณ์อักษรใน
ประเทศไทย
-การใช้หลักฐาน
ทาง
ประวัติศาสตร์ใน
การศึกษา
ประวัติศาสตร์-
วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
1.กำาหนด
ประเด็นปัญหา
7
- วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม.
1/1)
- เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม. 1/2)
- นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม. 1/3)
3. สาระการเรียนรู้
การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
-ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์
-ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
-ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา
-การนับศักราช
-การเทียบศักราช
4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น
4.1 สมรรถนะ
1. การสื่อสาร
2. การคิด
3. การแก้ปัญหา
4. การใช้ทักษะชีวิต
4.2 คุณลักษณะ
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้
5.1 ภาระงาน
- ให้นักเรียนเล่นเกมการนับศักราช
- ให้นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับ ความหมายและความสำาคัญของ
ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญ
ของเวลาและช่วงเวลา
6. การบูรณาการ
ภาษาไทย: การเขียนสรุป
คณิตศาสตร์: การคำานวณศักราช
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูนำารูปของเฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกมาให้
นักเรียนดู ครูซักถามนักเรียนว่าเมื่อดูภาพนี้แล้วนักเรียนนึกถึงอะไร ครู
สนทนากับนักเรียนว่าเฮโรโดตัสเป็นนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกที่บันทึกเรื่อง
8
ราวการสู้รบระหว่างกรีกกับเปอร์เซียร์ จึงได้สมญานามว่า “บิดาแห่ง
ประวัติศาสตร์”
1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การนับเวลาและช่วง
เวลาทางประวัติศาสตร์
2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่ม)
2.1 ให้นักเรียนจับคู่เพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้ โดยสร้างเป็นองค์ความ
รู้ของตนเอง
-ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์
-ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
-ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา
2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร
และสื่อต่างๆ
2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด
สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้
ของตนเอง
2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม และร่วมกันสรุปโดยให้นักเรียน
ศึกษาจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
ชั่วโมงที่ 2 การนับศักราช
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่อง ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์
ความสัมพันธ์ของอดีต
ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา มีการซักถามเป็น
ระยะเพื่อเป็นการทบทวนความเข้าใจ
9
1.2 ครูถามนักเรียนว่าจากที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนคิด
ว่าประวัติศาสตร์มีความสำาคัญอย่างไรและได้รับประโยชน์อะไรจากการได้
เรียนรู้บ้าง
1.4 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การนับศักราช
2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิด
วิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่ม)
2.1 ครูอธิบายเรื่องการนับศักราช ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียน
ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
2.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปเรื่องการนับศักราชลงในบัตรคำา และให้
นำาบัตรคำาไปติดบริเวณส่วนต่างๆของห้องเรียนเพื่อเป็นการทบทวนความ
เข้าใจ
2.3 ครูสุมให้นักเรียนตอบเรื่องการนับศักราชทีละคน
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
ชั่วโมงที่ 3 การเทียบศักราช
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่องการนับศักราช จากที่นักเรียนได้เรียนกันไปใน
ชั่วโมงที่ผ่านมา และมีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อเป็นการทบทวน
1.2 ให้นักเรียนเล่นเกมการนับศักราช โดยครูมีบัตรคำาเขียนอักษร
ย่อของศักราช ครูชูบัตรคำาขึ้นมา เมื่อนักเรียนเห็นอักษรย่อ ให้รีบเขียนคำา
เต็มของอักษรย่อนั้นลงในกระดาษ เช่น ครูชูอักษร จ.ศ. นักเรียนต้องเขียน
คำาว่า จุลศักราช เขียนเสร็จให้อ่านให้ครูและเพื่อนๆฟัง ถ้าอ่านและเขียนถูก
ต้องจะได้คะแนน
1.3 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การเทียบศักราช
2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิด
วิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่ม, การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม)
10
2.1 ครูอธิบายเรื่องการเทียบศักราช ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียน
ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
2.2 ให้นักเรียนเทียบศักราช โดยครูจะเป็นคนบอกปีศักราชเอง
เช่น ถ้าปีนี้เป็นปี ค.ศ.2010 จะตรงกับปี พ.ศ. อะไร
2.3 ให้นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ให้ทั้งสองกลุ่มแข่งกันเทียบศักราช
เช่น ถ้ากลุ่ม 1 เป็นฝ่ายบอกศักราช กลุ่ม 2 จะต้องเป็นฝ่ายตอบ
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
3.4 แบบทดสอบหลังเรียน
8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้)
8.1 รูปเฮโรโดตัส
8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน
8.4 บัตรคำาศักราช
9. การวัดและประเมินผล
9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย
9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน
ระหว่างเรียน
9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน เล่นเกมการนับศักราช บัตรคำาศักราช ระดม
ความคิดเกี่ยวกับ ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ ความ
สัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา
9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้
9.5 ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน
10. บันทึกการใช้แผนการจัดการ
บันทึกหลังสอน
เรื่อง………………………………………………………………
ชั่วโมงที่
กิจกรรมที่ได้จัดการ
เรียน
การสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
การสอน
กิจกรรมที่
นักเรียนเกิด
การเรียนรู้
ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน
1............. ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ...................
...............
............ ...................
...............
............ ...............
...........
............ ...............
..........
............ ................
.........
............ ................
.........
11
2............. ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ...................
...............
............ ...................
...............
............ ...............
...........
............ ...............
..........
............ ............
.........
............ ............
.........
3............. ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ...................
...............
............ ...................
...............
............ ...............
...........
............ ...............
..........
............ ............
.........
............ ............
.........
แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....1.....ชั่วโมง
1. เป้าหมายของเรื่อง
เข้าใจว่า เหตุใดการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย
จึงเแบ่งช่วงเวลาเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์
2. ตัวชี้วัด
- วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส
4.1 ม. 1/1)
- เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/2)
- นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม. 1/3)
3. สาระการเรียนรู้
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ตามแบบไทย
4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น
4.1 สมรรถนะ
1. การสื่อสาร
2. การคิด
3. การแก้ปัญหา
4. การใช้ทักษะชีวิต
4.2 คุณลักษณะ
12
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. มีจิตสาธารณะ
5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้
5.1 ชิ้นงาน
- ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
6. การบูรณาการ
ภาษาไทย: การเขียนสรุป
ศิลปะ: การออกแบบแผนผังความคิด
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูนำารูปของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคมาให้
นักเรียนดู ให้นักเรียนช่วยกันพิจารณารูปที่ได้ดู ครูบอกกับนักเรียนว่ารูปที่
ได้ดู เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุค ซึ่งได้มีการแบ่งยุคสมัย
ตามแบบไทยไว้ออกเป็นยุคต่างๆ
1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง ยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์
2. ขั้นสอน ((กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่ม)
2.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้
โดยสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง
-สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และยุคหิน
-ยุคโลหะและสมัยประวัติศาสตร์
2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร
และสื่อต่างๆ
2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด
สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้
ของตนเอง
2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก
2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก
หนังสือเรียนประวัติศาสตร์
13
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
2.6 ให้นักเรียนทำาแผนผังความคิดเรื่อง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้)
8.1 รูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์
8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน
9. การวัดและประเมินผล
9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย
9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน
ระหว่างเรียน
9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน แผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้
10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
บันทึกหลังสอนเรื่อง
.....................................................
ชั่วโมงที่
กิจกรรมที่ได้จัดการ
เรียน
การสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
การสอน
กิจกรรมที่
นักเรียนเกิด
การเรียนรู้
ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน
1.
.......... ......................
.......................
........... ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ ......................
.......................
............ .....................
.............
............ .....................
.............
............ ...............
...........
............ ...............
...........
...........
............ ............
.........
............ ............
.........
14
แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 3 วิธีการทางประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....1.....ชั่วโมง
1. เป้าหมายของเรื่อง
เข้าใจว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นขั้นตอนหรือวิธีการที่ใช้ในการ
ศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยเน้นการค้นคว้าหาหลัก
ฐานต่างๆที่มีความสำาคัญ
2. ตัวชี้วัด
- วิเคราะห์ความ สำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1
ม.1/1)
- เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.1/2)
- นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.1/3)
3. สาระการเรียนรู้
วิธีการทางประวัติศาสตร์
-กำาหนดประเด็นปัญหา
-รวบรวมข้อมูลและหลักฐานต่างๆ
-วิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน
-ตีความหมายจากข้อมูลหลักฐาน
-นำาเสนอข้อมูล
4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น
4.1 สมรรถนะ
15
1. การสื่อสาร
2. การคิด
3. การแก้ปัญหา
4. การใช้ทักษะชีวิต
4.2 คุณลักษณะ
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. มีจิตสาธารณะ
5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้
5.1 ชิ้นงาน
-ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์
6. การบูรณาการ
ภาษาไทย: การเขียนสรุป
ศิลปะ: การออกแบบแผนผังความคิด
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูนำารูปของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมาให้นักเรียนดู
และให้นักเรียนช่วยกันพิจารณา
1.2 ครูสนทนากับนักเรียนว่าพิพิธภัณฑสถานเป็นแหล่งเก็บข้อมูล
และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทย ซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ
ที่เก็บไว้นั้นต้องมีวิธีการค้นคว้าวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและถูกต้อง ซึ่งจะ
ต้องใช้วิธีที่เรียกว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์
1.3 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบกลุ่ม)
2.1 ให้นักเรียนจับคู่เพื่อศึกษาเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดย
สร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง ตามหัวข้อต่อไปนี้
-กำาหนดประเด็นปัญหา
-รวบรวมข้อมูลและหลักฐานต่างๆ
-วิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน
-ตีความหมายจากข้อมูลหลักฐาน
16
-นำาเสนอข้อมูล
2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร
และสื่อต่างๆ
2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด
สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้
ของตนเอง
2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก
2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก
หนังสือเรียนประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้)
8.1 รูปพิพิธภัณฑสถาน
8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน
9. การวัดและประเมินผล
9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย
9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน
ระหว่างเรียน
9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน แผนผังความคิดเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์
9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้
10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
บันทึกหลังสอนเรื่อง
.....................................................
17
แผนจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 4 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....4.....ชั่วโมง
1. เป้าหมายของเรื่อง
เข้าใจว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์คือร่องรอยการกระทำาของมนุษย์
ในอดีตซึ่งยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน
2. ตัวชี้วัด
- วิเคราะห์ความ สำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.
1/1)
- เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/2)
- นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม. 1/3)
ชั่วโมงที่
กิจกรรมที่ได้จัดการเรียน
การสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
การสอน
กิจกรรมที่
นักเรียนเกิด
การเรียนรู้
ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน
1.
.......... .......................
......................
........... .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ ....................
..............
............ ....................
..............
............ ...............
...........
............ ...............
...........
...........
............ ............
..........
............ ............
..........
18
3. สาระการเรียนรู้
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
-ความสำาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
-หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรในประเทศไทย
-หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรในประเทศไทย
-การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์
4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น
4.1 สมรรถนะ
1. การสื่อสาร
2. การคิด
3. การแก้ปัญหา
4. การใช้ทักษะชีวิต
4.2 คุณลักษณะ
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. มีจิตสาธารณะ
5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้
5.1 ภาระงาน
- ให้นักเรียนเล่นเกมตามหาหลักฐาน และ เกมจับคู่หลักฐาน
- ให้นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับ การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ในการศึกษาประวัติศาสตร์
6. การบูรณาการ
ภาษาไทย: การเขียนสรุป
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูนำารูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาให้นักเรียนดู และให้
นักเรียนช่วยกันพิจารณา ครูสนทนากับนักเรียนว่าหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์คือร่องรอยการกระทำาของอดีต ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์
จะต้องมีหลักฐานเพื่อให้ได้เรื่องราวและข้อมูลที่ถูกต้อง
1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า)
19
2.1 ให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้ โดย
สร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง
-ความสำาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
-ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามยุคสมัย
2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร
และสื่อต่างๆ
2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด
สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้
ของตนเอง
2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก
2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก
หนังสือเรียนประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
ชั่วโมงที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์
อักษร
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่อง ความสำาคัญ และ ประเภทของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
1.2 ครูถามนักเรียนว่าจากที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนคิด
ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสำาคัญอย่างไรและได้รับประโยชน์อะไร
จากการได้เรียนรู้บ้าง
1.4 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย,
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม)
2.1 ครูอธิบายเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์
อักษร ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
2.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็น
ลายลักษณ์อักษรลงในบัตรคำา และให้นำาบัตรคำาไปติดบริเวณส่วนต่างๆของ
ห้องเรียนเพื่อเป็นการทบทวนความเข้าใจ
20
2.3 ให้นักเรียนเล่นเกม “ตามหาหลักฐาน” ครูมีบัตรคำาที่ใส่ไว้ใน
กล่อง ในบัตรคำานั้นได้เขียนชื่อของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆไว้ เช่น
ตำานานพระแก้วมรกต พระราชพงศาวดารกรุงเก่า เป็นต้น เมื่อนักเรียนเปิด
กล่องเจอบัตรคำาแล้ว ให้นักเรียนตามว่าบัตรคำานั้นๆเป็นหลักฐานชนิดใด
โดยครูจะนำาบัตรคำาที่เป็นประเภทของหลักฐานซ่อนไว้ตามที่ต่างๆ แล้วให้
นักเรียนตามหาให้พบเพื่อจับคู่ประเภทของหลักฐานกับชื่อหลักฐานให้ถูก
ต้อง
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
ชั่วโมงที่ 3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์
อักษร
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จากที่นักเรียนได้
เรียนกันไปในชั่วโมงที่ผ่านมา และมีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อ
เป็นการทบทวน
1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย,
กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม)
2.1 ครูอธิบายเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์
อักษร ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
2.2 ให้นักเรียนเล่นเกม “จับคู่หลักฐาน” กับรูป เช่น ครูนำารูปโครง
กระดูกมนุษย์มาให้ดู นักเรียนก็ต้องจับคู่กับหลักฐานทางโบราณคดี (ใช้วิธี
เล่นเหมือนการจับคู่ภาพ คือ เปิดภาพไปอีกด้านแล้วปิดไว้เหมือนเดิม แต่ต้อง
จำาให้ได้ว่าภาพนั้นเป็นภาพอะไรเพื่อจะสามารถจับคู่ที่ถูกต้องกันได้) เช่น
-รูปเครื่องปั้นดินเผา คู่กับ หลักฐานทางโบราณคดี
-รูปแผนที่แสดงเส้นทาง คู่กับ แผนที่
-รูปภาพถ่ายทางอากาศ คู่กับ รูปถ่าย
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
21
ชั่วโมงที่ 4 การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา
ประวัติศาสตร์
1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์
อักษรในประเทศไทย มีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อเป็นการทบทวน
1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การใช้หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์
2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม,
กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิดวิเคราะห์)
2.1 ให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องการใช้หลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ โดยสร้างเป็นองค์ความรู้ของ
ตนเอง
2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร
และสื่อต่างๆ
2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด
สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้
ของตนเอง
2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก
2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก
หนังสือเรียนประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย
3. ขั้นสรุปและประเมินผล
3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน
3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด
3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
3.4 ทำาแบบทดสอบหลังเรียน
8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้)
8.1 รูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์
8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน
8.4 บัตรคำาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร
9. การวัดและประเมินผล
9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย
9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน
ระหว่างเรียน
22
9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน เล่นเกมตามหาหลักฐานและเกมจับคู่หลักฐาน
จากบัตรคำาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ระดมความคิด
เกี่ยวกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์
9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้
10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
บันทึกหลังสอนเรื่อง
.....................................................
ชั่วโมงที่
กิจกรรมที่ได้จัดการเรียน
การสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
การสอน
กิจกรรมที่
นักเรียนเกิด
การเรียนรู้
ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน
1
.
.......... .......................
......................
........... .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ ....................
..............
............ ....................
..............
............ ...............
...........
............ ...............
...........
...........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
2
.
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ ....................
..............
............ ....................
..............
............ ...............
...........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
3
.
.......... .......................
......................
........... .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ ....................
..............
............ ....................
..............
............ ...............
...........
............ ...............
...........
...........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
4
.
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ .......................
......................
............ ....................
..............
............ ....................
..............
............ ...............
...........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
............ ...............
..........
23

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1

บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
krunumc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
Mine Pantip
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
Mine Pantip
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
supanyasaengpet
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1 (20)

เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
แผนที16
แผนที16แผนที16
แผนที16
 
1
11
1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ 12แผนการจัดการเรียนรู้ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ 12
 
Workhistrory1
Workhistrory1Workhistrory1
Workhistrory1
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1

  • 2. 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อิงมาตรฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อเรียนจบหน่วยนี้แล้ว นักเรียนควรสรุปองค์ความรู้ได้ ว่า ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์ทำาให้คนปัจจุบันได้เข้าใจ สิ่งที่มนุษย์ได้กระทำาไว้ในอดีตตามมิติของเวลาในพื้นที่ต่างๆซึ่ง เมื่อวิเคราะห์หลักฐานและข้อมูลข้อเท็จจริง ทำาให้เข้าใจ เหตุการณ์ในอดีตที่สอดคล้องกับเวลาและสถานที่ได้ถูกต้อง ฝ่ายวิชาการ สำานักพิมพ์ประสานมิตร
  • 3. 3 กรอบความคิดการจัดการเรียนรู้ของหน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 9 ชั่วโมง เป้าหมายของหน่วย(ความเข้าใจฝังแน่นหรือองค์ความรู้สำาคัญของหน่วย) เข้าใจและ วิเคราะห์การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ รู้จักใช้หลักฐาน วิธีการประวัติศาสตร์เพื่อ สืบค้นพัฒนาการของมนุษย์สมัยก่อนและสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนและประเทศไทย เป้าหมาย ของเรื่อง (Key concept) ตัวชี้วัด สาระการ เรียนรู้ สมรรถนะ(ทั กษะ) คุณลักษณะ ที่เน้น หลักฐาน/ร่องรอย แสดงการเรียนรู้ กระบวนกา รเรียนรู้ เรื่องที่ 1 เข้าใจว่า ประวัติศาสต ร์เป็นเรื่อง ราวการเรียน รู้อดีตของ มนุษยชาติที่ มีความ สอดคล้อง เกี่ยวพันกับ เหตุการณ์ใน ปัจจุบัน และ เชื่อมโยงถึง เหตุการณ์ที่ กำาลังจะเกิด ขึ้นใน อนาคตอีก 1.วิเคราะห์ ความ สำาคัญ ของเวลาใน การศึกษา ประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/1) 2.เทียบ ศักราช ระบบต่างๆที่ ใช้ศึกษา ประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/2) 3.นำาวิธีการ ทาง ประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 1 การนับเวลา และช่วงเวลา ทาง ประวัติศาสต ร์ -ความหมาย และความ สำาคัญของ ประวัติศาสตร์ -ความสัมพันธ์ ของอดีต ปัจจุบัน และ อนาคต -ความสำาคัญ ของเวลาและ ช่วงเวลา สมรรถนะ(ทั กษะ) 1.การใช้ ภาษา ถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความ เข้าใจ 2.ความคิด สร้างสรรค์ 3.การแก้ ปัญหา 4.ทักษะใน ชีวิตจริง 5.การปรับตัว เลือก และใช้ 1.แบบ Rubrics ประเมินเกมการนับศักราช(ส 4.1 ม 1/1) 2.แบบ Rubrics ประเมินบัตรคำาศักราช(ส 4.1 ม 1/1) 3.แบบ Rubrics ประเมินการระดมความคิดเกี่ยว กับ ความหมายและความสำาคัญของ ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา(ส 4.1 ม 1/1) 4.บันทึกใบงานแผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/2) 5.บันทึกใบงานแผนผังความคิดเรื่องวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/3) 1.กระบวน การคิค วิเคราะห์ 2.กระบวนก ารสร้างองค์ ความรู้ 3.กระบวนก ารเรียนรู้ แบบบรรยาย 4.การ จัดการเรียน รู้โดยใช้เกม 5.การ จัดการเรียน รู้โดย กระบวนการ 1 ป ท ก เ เ ศ - อ แ ข - จ ค ต เ ร
  • 4. 4 ด้วย มาใช้ศึกษา เหตุการณ์ ทาง ประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/3) -การนับศักราช -การเทียบ ศักราช เทคโนโลยี คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย กลุ่ม 6.กระบวนก ารเรียนรู้ แบบศึกษา ค้นคว้า สังเขป
  • 5. 5 เป้าหมาย ของเรื่อง (Key concept) ตัวชี้วัด สาระการ เรียนรู้ สมรรถนะ( ทักษะ) คุณลักษณะ ที่เน้น หลักฐาน/ร่องรอย แสดงการเรียนรู้ กระบวนกา รเรียนรู้ การ วัดผล ประเมิน ผล เรื่องที่ 2 เข้าใจว่า การแบ่งยุค สมัยทาง ประวัติศาสต ร์ ของ ประเทศไทย เแบ่งช่วง เวลาเป็นสมัย ก่อน ประวัติศาสต ร์ และสมัย ประวัติศาสต ร์ เรื่องที่ 3 เข้าใจว่า วิธี การทาง ประวัติศาสต ร์เป็นขั้นตอน หรือวิธีการที่ ใช้ในการ ศึกษาเรื่อง ราวหรือ เหตุการณ์ ทาง ประวัติศาสต ร์ โดยเน้น การค้นคว้า หาหลักฐาน ต่างๆที่มี ความสำาคัญ เรื่องที่ 2 ยุค สมัยทาง ประวัติศาสตร์ -การแบ่งช่วง เวลาทาง ประวัติศาสตร์ ตามแบบไทย -สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 3 -วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ 1.กำาหนด ประเด็นปัญหา 2.รวบรวม ข้อมูลและหลัก ฐานต่างๆ 3.วิเคราะห์ ข้อมูลจากหลัก ฐาน 4.ตีความหมาย จากข้อมูลหลัก ฐาน 5.นำาเสนอ ข้อมูล เรื่องที่ 4 หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ 6.แบบ Rubrics ประเมินการเล่นเกมตามหา หลักฐาน และ เกมจับคู่หลักฐาน (ส 4.1 ม 1/3) 7.บันทึกใบงานบัตรคำาหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร(ส 4.1 ม 1/3) 8.แบบ Rubrics ประเมินการระดมความคิด เกี่ยวกับ การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน การศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม 1/3) 2. Rubrics ประเมิน จากโครง งานศึกษา ค้นคว้า โครงงาน นิทรรศกา ร แฟ้มผล งาน ชิ้น งานต่างๆ เพื่อแสดง ความถนัด ความ สนใจ ความ พยายาม ความ สามารถ
  • 6. 6 แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....3.....ชั่วโมง 1. เป้าหมายของเรื่อง เข้าใจว่า ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวการเรียนรู้อดีตของมนุษยชาติที่มี ความสอดคล้องเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และเชื่อมโยงถึงเหตุการณ์ ที่กำาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร 2. ตัวชี้วัด เป้าหมาย ของเรื่อง (Key concept) ตัวชี้วัด สาระการเรียน รู้ สมรรถนะ( ทักษะ) คุณลักษณ ะที่เน้น หลักฐาน/ร่องรอย แสดงการเรียนรู้ เรื่องที่ 4 หลักฐานทาง ประวัติศาสต ร์ คือ ร่อง รอยการกระ ทำาของมนุษย์ ในอดีตซึ่งยัง หลงเหลืออยู่ ในปัจจุบัน -ความสำาคัญ ของหลักฐาน ทาง ประวัติศาสตร์ -ประเภทของ หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ ตามยุคสมัย -หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่ เป็นลายลักษณ์ อักษรใน ประเทศไทย -หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่ ไม่เป็นลาย ลักษณ์อักษรใน ประเทศไทย -การใช้หลักฐาน ทาง ประวัติศาสตร์ใน การศึกษา ประวัติศาสตร์- วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ 1.กำาหนด ประเด็นปัญหา
  • 7. 7 - วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม. 1/1) - เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม. 1/2) - นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/3) 3. สาระการเรียนรู้ การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ -ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ -ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต -ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา -การนับศักราช -การเทียบศักราช 4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น 4.1 สมรรถนะ 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 4.2 คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้ 5.1 ภาระงาน - ให้นักเรียนเล่นเกมการนับศักราช - ให้นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับ ความหมายและความสำาคัญของ ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญ ของเวลาและช่วงเวลา 6. การบูรณาการ ภาษาไทย: การเขียนสรุป คณิตศาสตร์: การคำานวณศักราช 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูนำารูปของเฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกมาให้ นักเรียนดู ครูซักถามนักเรียนว่าเมื่อดูภาพนี้แล้วนักเรียนนึกถึงอะไร ครู สนทนากับนักเรียนว่าเฮโรโดตัสเป็นนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกที่บันทึกเรื่อง
  • 8. 8 ราวการสู้รบระหว่างกรีกกับเปอร์เซียร์ จึงได้สมญานามว่า “บิดาแห่ง ประวัติศาสตร์” 1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การนับเวลาและช่วง เวลาทางประวัติศาสตร์ 2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่ม) 2.1 ให้นักเรียนจับคู่เพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้ โดยสร้างเป็นองค์ความ รู้ของตนเอง -ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ -ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต -ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา 2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร และสื่อต่างๆ 2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง 2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม และร่วมกันสรุปโดยให้นักเรียน ศึกษาจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) ชั่วโมงที่ 2 การนับศักราช 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนเรื่อง ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา มีการซักถามเป็น ระยะเพื่อเป็นการทบทวนความเข้าใจ
  • 9. 9 1.2 ครูถามนักเรียนว่าจากที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนคิด ว่าประวัติศาสตร์มีความสำาคัญอย่างไรและได้รับประโยชน์อะไรจากการได้ เรียนรู้บ้าง 1.4 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การนับศักราช 2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิด วิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่ม) 2.1 ครูอธิบายเรื่องการนับศักราช ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 2.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปเรื่องการนับศักราชลงในบัตรคำา และให้ นำาบัตรคำาไปติดบริเวณส่วนต่างๆของห้องเรียนเพื่อเป็นการทบทวนความ เข้าใจ 2.3 ครูสุมให้นักเรียนตอบเรื่องการนับศักราชทีละคน 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) ชั่วโมงที่ 3 การเทียบศักราช 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนเรื่องการนับศักราช จากที่นักเรียนได้เรียนกันไปใน ชั่วโมงที่ผ่านมา และมีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อเป็นการทบทวน 1.2 ให้นักเรียนเล่นเกมการนับศักราช โดยครูมีบัตรคำาเขียนอักษร ย่อของศักราช ครูชูบัตรคำาขึ้นมา เมื่อนักเรียนเห็นอักษรย่อ ให้รีบเขียนคำา เต็มของอักษรย่อนั้นลงในกระดาษ เช่น ครูชูอักษร จ.ศ. นักเรียนต้องเขียน คำาว่า จุลศักราช เขียนเสร็จให้อ่านให้ครูและเพื่อนๆฟัง ถ้าอ่านและเขียนถูก ต้องจะได้คะแนน 1.3 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การเทียบศักราช 2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิด วิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่ม, การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม)
  • 10. 10 2.1 ครูอธิบายเรื่องการเทียบศักราช ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 2.2 ให้นักเรียนเทียบศักราช โดยครูจะเป็นคนบอกปีศักราชเอง เช่น ถ้าปีนี้เป็นปี ค.ศ.2010 จะตรงกับปี พ.ศ. อะไร 2.3 ให้นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ให้ทั้งสองกลุ่มแข่งกันเทียบศักราช เช่น ถ้ากลุ่ม 1 เป็นฝ่ายบอกศักราช กลุ่ม 2 จะต้องเป็นฝ่ายตอบ 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) 3.4 แบบทดสอบหลังเรียน 8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้) 8.1 รูปเฮโรโดตัส 8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน 8.4 บัตรคำาศักราช 9. การวัดและประเมินผล 9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย 9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน ระหว่างเรียน 9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน เล่นเกมการนับศักราช บัตรคำาศักราช ระดม ความคิดเกี่ยวกับ ความหมายและความสำาคัญของประวัติศาสตร์ ความ สัมพันธ์ของอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความสำาคัญของเวลาและช่วงเวลา 9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้ 9.5 ประเมินจากแบบทดสอบหลังเรียน 10. บันทึกการใช้แผนการจัดการ บันทึกหลังสอน เรื่อง……………………………………………………………… ชั่วโมงที่ กิจกรรมที่ได้จัดการ เรียน การสอน ผลการจัดการเรียนรู้ การสอน กิจกรรมที่ นักเรียนเกิด การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน 1............. ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ................... ............... ............ ................... ............... ............ ............... ........... ............ ............... .......... ............ ................ ......... ............ ................ .........
  • 11. 11 2............. ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ................... ............... ............ ................... ............... ............ ............... ........... ............ ............... .......... ............ ............ ......... ............ ............ ......... 3............. ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ................... ............... ............ ................... ............... ............ ............... ........... ............ ............... .......... ............ ............ ......... ............ ............ ......... แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....1.....ชั่วโมง 1. เป้าหมายของเรื่อง เข้าใจว่า เหตุใดการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย จึงเแบ่งช่วงเวลาเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ 2. ตัวชี้วัด - วิเคราะห์ความสำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/1) - เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/2) - นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/3) 3. สาระการเรียนรู้ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ตามแบบไทย 4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น 4.1 สมรรถนะ 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 4.2 คุณลักษณะ
  • 12. 12 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. มีจิตสาธารณะ 5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้ 5.1 ชิ้นงาน - ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6. การบูรณาการ ภาษาไทย: การเขียนสรุป ศิลปะ: การออกแบบแผนผังความคิด 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูนำารูปของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุคมาให้ นักเรียนดู ให้นักเรียนช่วยกันพิจารณารูปที่ได้ดู ครูบอกกับนักเรียนว่ารูปที่ ได้ดู เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของแต่ละยุค ซึ่งได้มีการแบ่งยุคสมัย ตามแบบไทยไว้ออกเป็นยุคต่างๆ 1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง ยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ 2. ขั้นสอน ((กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่ม) 2.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้ โดยสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง -สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และยุคหิน -ยุคโลหะและสมัยประวัติศาสตร์ 2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร และสื่อต่างๆ 2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง 2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก 2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก หนังสือเรียนประวัติศาสตร์
  • 13. 13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 2.6 ให้นักเรียนทำาแผนผังความคิดเรื่อง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) 8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้) 8.1 รูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน 9. การวัดและประเมินผล 9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย 9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน ระหว่างเรียน 9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน แผนผังความคิดเรื่องยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้ 10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังสอนเรื่อง ..................................................... ชั่วโมงที่ กิจกรรมที่ได้จัดการ เรียน การสอน ผลการจัดการเรียนรู้ การสอน กิจกรรมที่ นักเรียนเกิด การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน 1. .......... ...................... ....................... ........... ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ...................... ....................... ............ ..................... ............. ............ ..................... ............. ............ ............... ........... ............ ............... ........... ........... ............ ............ ......... ............ ............ .........
  • 14. 14 แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....1.....ชั่วโมง 1. เป้าหมายของเรื่อง เข้าใจว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นขั้นตอนหรือวิธีการที่ใช้ในการ ศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยเน้นการค้นคว้าหาหลัก ฐานต่างๆที่มีความสำาคัญ 2. ตัวชี้วัด - วิเคราะห์ความ สำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.1/1) - เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.1/2) - นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.1/3) 3. สาระการเรียนรู้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ -กำาหนดประเด็นปัญหา -รวบรวมข้อมูลและหลักฐานต่างๆ -วิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน -ตีความหมายจากข้อมูลหลักฐาน -นำาเสนอข้อมูล 4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น 4.1 สมรรถนะ
  • 15. 15 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 4.2 คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. มีจิตสาธารณะ 5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้ 5.1 ชิ้นงาน -ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ 6. การบูรณาการ ภาษาไทย: การเขียนสรุป ศิลปะ: การออกแบบแผนผังความคิด 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูนำารูปของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมาให้นักเรียนดู และให้นักเรียนช่วยกันพิจารณา 1.2 ครูสนทนากับนักเรียนว่าพิพิธภัณฑสถานเป็นแหล่งเก็บข้อมูล และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทย ซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่เก็บไว้นั้นต้องมีวิธีการค้นคว้าวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและถูกต้อง ซึ่งจะ ต้องใช้วิธีที่เรียกว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1.3 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ 2. ขั้นสอน (กระบวนการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ คิดวิเคราะห์, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย, กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่ม) 2.1 ให้นักเรียนจับคู่เพื่อศึกษาเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดย สร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง ตามหัวข้อต่อไปนี้ -กำาหนดประเด็นปัญหา -รวบรวมข้อมูลและหลักฐานต่างๆ -วิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน -ตีความหมายจากข้อมูลหลักฐาน
  • 16. 16 -นำาเสนอข้อมูล 2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร และสื่อต่างๆ 2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง 2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก 2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) 8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้) 8.1 รูปพิพิธภัณฑสถาน 8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน 9. การวัดและประเมินผล 9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย 9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน ระหว่างเรียน 9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน แผนผังความคิดเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ 9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้ 10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังสอนเรื่อง .....................................................
  • 17. 17 แผนจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่องที่ 4 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา.....4.....ชั่วโมง 1. เป้าหมายของเรื่อง เข้าใจว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์คือร่องรอยการกระทำาของมนุษย์ ในอดีตซึ่งยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน 2. ตัวชี้วัด - วิเคราะห์ความ สำาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/1) - เทียบศักราชระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม. 1/2) - นำาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม. 1/3) ชั่วโมงที่ กิจกรรมที่ได้จัดการเรียน การสอน ผลการจัดการเรียนรู้ การสอน กิจกรรมที่ นักเรียนเกิด การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน 1. .......... ....................... ...................... ........... ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ .................... .............. ............ .................... .............. ............ ............... ........... ............ ............... ........... ........... ............ ............ .......... ............ ............ ..........
  • 18. 18 3. สาระการเรียนรู้ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ -ความสำาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ -หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรในประเทศไทย -หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรในประเทศไทย -การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ 4. สมรรถนะ/คุณลักษณะที่เน้น 4.1 สมรรถนะ 1. การสื่อสาร 2. การคิด 3. การแก้ปัญหา 4. การใช้ทักษะชีวิต 4.2 คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. มีจิตสาธารณะ 5. หลักฐานแสดงผลการเรียนรู้ 5.1 ภาระงาน - ให้นักเรียนเล่นเกมตามหาหลักฐาน และ เกมจับคู่หลักฐาน - ให้นักเรียนระดมความคิดเกี่ยวกับ การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ 6. การบูรณาการ ภาษาไทย: การเขียนสรุป 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูนำารูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาให้นักเรียนดู และให้ นักเรียนช่วยกันพิจารณา ครูสนทนากับนักเรียนว่าหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์คือร่องรอยการกระทำาของอดีต ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ จะต้องมีหลักฐานเพื่อให้ได้เรื่องราวและข้อมูลที่ถูกต้อง 1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ 2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบศึกษาค้นคว้า)
  • 19. 19 2.1 ให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องต่อไปนี้ โดย สร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง -ความสำาคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ -ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามยุคสมัย 2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร และสื่อต่างๆ 2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง 2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก 2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) ชั่วโมงที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์ อักษร 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนเรื่อง ความสำาคัญ และ ประเภทของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ 1.2 ครูถามนักเรียนว่าจากที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนคิด ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสำาคัญอย่างไรและได้รับประโยชน์อะไร จากการได้เรียนรู้บ้าง 1.4 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม) 2.1 ครูอธิบายเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์ อักษร ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 2.2 ให้นักเรียนเขียนสรุปเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษรลงในบัตรคำา และให้นำาบัตรคำาไปติดบริเวณส่วนต่างๆของ ห้องเรียนเพื่อเป็นการทบทวนความเข้าใจ
  • 20. 20 2.3 ให้นักเรียนเล่นเกม “ตามหาหลักฐาน” ครูมีบัตรคำาที่ใส่ไว้ใน กล่อง ในบัตรคำานั้นได้เขียนชื่อของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆไว้ เช่น ตำานานพระแก้วมรกต พระราชพงศาวดารกรุงเก่า เป็นต้น เมื่อนักเรียนเปิด กล่องเจอบัตรคำาแล้ว ให้นักเรียนตามว่าบัตรคำานั้นๆเป็นหลักฐานชนิดใด โดยครูจะนำาบัตรคำาที่เป็นประเภทของหลักฐานซ่อนไว้ตามที่ต่างๆ แล้วให้ นักเรียนตามหาให้พบเพื่อจับคู่ประเภทของหลักฐานกับชื่อหลักฐานให้ถูก ต้อง 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) ชั่วโมงที่ 3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จากที่นักเรียนได้ เรียนกันไปในชั่วโมงที่ผ่านมา และมีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อ เป็นการทบทวน 1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย, กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม) 2.1 ครูอธิบายเรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร ให้นักเรียนดูจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 2.2 ให้นักเรียนเล่นเกม “จับคู่หลักฐาน” กับรูป เช่น ครูนำารูปโครง กระดูกมนุษย์มาให้ดู นักเรียนก็ต้องจับคู่กับหลักฐานทางโบราณคดี (ใช้วิธี เล่นเหมือนการจับคู่ภาพ คือ เปิดภาพไปอีกด้านแล้วปิดไว้เหมือนเดิม แต่ต้อง จำาให้ได้ว่าภาพนั้นเป็นภาพอะไรเพื่อจะสามารถจับคู่ที่ถูกต้องกันได้) เช่น -รูปเครื่องปั้นดินเผา คู่กับ หลักฐานทางโบราณคดี -รูปแผนที่แสดงเส้นทาง คู่กับ แผนที่ -รูปภาพถ่ายทางอากาศ คู่กับ รูปถ่าย 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics)
  • 21. 21 ชั่วโมงที่ 4 การใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา ประวัติศาสตร์ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนเรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษรในประเทศไทย มีการซักถามนักเรียนเป็นระยะเพื่อเป็นการทบทวน 1.2 ครูตกลงกับนักเรียนว่าวันนี้จะเรียนเรื่อง การใช้หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ 2. ขั้นสอน (กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบคิดวิเคราะห์) 2.1 ให้นักเรียนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อศึกษาเรื่องการใช้หลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ โดยสร้างเป็นองค์ความรู้ของ ตนเอง 2.2 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ได้จากห้องสมุด เอกสาร และสื่อต่างๆ 2.3 ครูสุ่มเลือกนักเรียนออกมาแสดงความรู้ที่ตนเองได้คิด สร้างสรรค์ขึ้นจากองค์ความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ค้นคว้ามาเป็นองค์ความรู้ ของตนเอง 2.4 ให้นักเรียนในชั้นช่วยกันวิเคราะห์ข้อที่ผิดและข้อที่ถูก 2.5 ครูอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยให้นักเรียนศึกษาจาก หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 สำานักพิมพ์ประสานมิตร ประกอบการอธิบาย 3. ขั้นสรุปและประเมินผล 3.1 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสำาคัญของเรื่องที่เรียน 3.2 ครูให้นักเรียนทำากิจกรรมพัฒนาการคิด 3.3 ครูประเมินผลงานของนักเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะตาม เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ (Rubrics) 3.4 ทำาแบบทดสอบหลังเรียน 8. สื่อการเรียนรู้ (แหล่งการเรียนรู้) 8.1 รูปหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 8.2 แบบเรียนประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 8.3 กิจกรรมพัฒนาการคิดท้ายบทเรียน 8.4 บัตรคำาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร 9. การวัดและประเมินผล 9.1 แบบทดสอบประเมินผลด้านความรู้ตามตัวชี้วัดของหน่วย 9.2 แบบสังเกตการณ์ประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนใน ระหว่างเรียน
  • 22. 22 9.3 ชิ้นงาน/ภาระงาน เล่นเกมตามหาหลักฐานและเกมจับคู่หลักฐาน จากบัตรคำาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ระดมความคิด เกี่ยวกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ 9.4 หลักเกณฑ์การประเมินชิ้นงาน (Rubrics) ที่กำาหนดไว้ 10. บันทึกการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกหลังสอนเรื่อง ..................................................... ชั่วโมงที่ กิจกรรมที่ได้จัดการเรียน การสอน ผลการจัดการเรียนรู้ การสอน กิจกรรมที่ นักเรียนเกิด การเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรคลงชื่อครูผู้สอน 1 . .......... ....................... ...................... ........... ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ .................... .............. ............ .................... .............. ............ ............... ........... ............ ............... ........... ........... ............ ............... .......... ............ ............... .......... 2 . ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ .................... .............. ............ .................... .............. ............ ............... ........... ............ ............... .......... ............ ............... .......... ............ ............... .......... 3 . .......... ....................... ...................... ........... ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ .................... .............. ............ .................... .............. ............ ............... ........... ............ ............... ........... ........... ............ ............... .......... ............ ............... .......... 4 . ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ ....................... ...................... ............ .................... .............. ............ .................... .............. ............ ............... ........... ............ ............... .......... ............ ............... .......... ............ ............... ..........
  • 23. 23