SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
เบาหวาน
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
เบาหวาน
 เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
 เกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือจากการดื้อต่อ
ฤทธิ์ของอินซูลิน
 ทาให้ร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลในเลือดไปใช้ได้
ตามปกติ
 น้าตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานานทาให้เกิดโรค
แทรกซ้อนของอวัยวะต่างๆ
21-Jul-14 2
ตับอ่อน
อินซูลิน
กลูโคส
21-Jul-14 3
อาการของ
โรคเบาหวาน
21-Jul-14 4
 ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อย
21-Jul-14 5
 หิวบ่อย กินจุ แต่น้าหนักลด อ่อนเพลีย
 ร่างกายเอาน้าตาล glucose ไปใช้เป็นพลังงานไม่ได้เพราะ
Insulin ไม่เพียงพอ
 จึงมีการสลายพลังงานออกจากไขมันและกล้ามเนื้อ
21-Jul-14 6
 คอแห้ง กระหายน้า ดื่มน้ามาก
เป็นผลจากการที่
ร่างกายสูญเสียน้ามาก
ทางปัสสาวะ
21-Jul-14 7
แผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตามผิวหนังเกิดฝีบ่อย
น้าตาลสูงทาให้
ความสามารถของ
เม็ดเลือดขาวในการ
กาจัดเชื้อโรคลดลง
21-Jul-14 8
 คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อรา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
บริเวณช่องคลอดของผู้ป่วยเพศหญิง
สาเหตุการคัน
 ผิวหนังแห้ง
 ผิวหนังอักเสบ
21-Jul-14 9
ตาพร่ามัว
ต้องเปลี่ยนแว่นบ่อย การที่ตาพร่ามัว
มีสาเหตุหลายประการ เช่น อาจเป็น
เพราะสายตาเปลี่ยน เมื่อน้าตาลใน
เลือดสูง และน้าตาลไปคั่งอยู่ในตา
หรือ ตามัว อาจเกิดจากต้อกระจก จอ
ตาผิดปกติจากโรคเบาหวาน
21-Jul-14 10
ชาตามปลายมือปลายเท้า หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
น้าตาลที่สูงนาน ๆ ทาให้
เส้นประสาทเสื่อม เกิดแผลที่
เท้าได้ง่าย เพราะไม่รู้สึก กว่า
จะทราบแผลก็ลุกลามมาก
แผลหายยาก ติดเชื้อง่าย
21-Jul-14 11
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวาน
1. น้าหนักเกิน
2. กรรมพันธุ์
3. เครียดเรื้อรัง
4. อื่นๆ เช่น จากเชื้อโรค หรือ ยาบางอย่าง
(เหล้า) ทาลายตับอ่อนทาให้สร้างอินซูลินไม่ได้
21-Jul-14 12
ทราบได้อย่างไรว่าเป็นเบาหวาน
1. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด เมื่ออดอาหาร อย่างน้อย 8
ชั่งโมง ≥ 126 มก./ดล.
2. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด เมื่อเวลาใดก็ได้ ≥ 200
มก./ดล.
3. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด ที่ 2 ชั่งโมงหลังการดื่ม
น้าตาลกลูโคส ≥ 200 มก./ ดล.
21-Jul-14 13
ผู้ที่ควรตรวจหาโรคเบาหวาน
 ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวานดังข้างต้น
 อายุมากกว่า 40 ปี
 มีญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน
 เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
 คลอดบุตรหนักมากกว่า 4 กก.
21-Jul-14 14
ผู้ที่ควรตรวจหาโรคเบาหวาน
 มีความดันโลหิตสูง
 มีไขมันในเลือดผิดปกติ
 มีโรคหลอดเลือดตีบแข็ง
 มีโรคที่บ่งว่ามีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
21-Jul-14 15
ประเภทของโรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1
• พบในคนอายุ < 30 ปี
• เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
• มีรูปร่างผอม อาจเกิดภาวะหมดสติจาก
น้าตาลในเลือดสูง
• การรักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
21-Jul-14 16
ประเภทของโรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 2
• พบในผู้ที่อายุ > 40 ปี
• เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน และมีการหลั่งอินซูลิน
ลดลง
• มีรูปร่างอ้วน และมีประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
• สามารรักษาด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับ
น้าตาล
21-Jul-14 17
ประเภทของโรคเบาหวาน
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ
• สาเหตุทางกรรมพันธุ์
• โรคของตับอ่อน
• ฮอร์โมนผิดปกติ
• จากยาบางชนิด เช่น ยาสเตียรอยด์
21-Jul-14 18
ประเภทของโรคเบาหวาน
เบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
• ตรวจพบขณะผู้ป่วยตั้งครรภ์ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีประวัติ
เป็นโรคเบาหวานมาก่อน
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนขณะตั้งครรภ์
• การรักษามักต้องใช้อินซูลิน
• หลังคลอดเบาหวานมักหายไป และผู้ป่วยจะมีโอกาส
เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เมื่อมีอายุมากขึ้น
21-Jul-14 19
การป้ องกัน
1. ออกกาลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน อย่างน้อย 3
วัน/สัปดาห์
2. ลดอาหารพวกแป้ ง ไขมัน และน้าตาล เน้นผัก
3. ไม่อ้วน ไม่เครียด
4. งดบุหรี่ แอลกอฮอล์
5. ติดตามความดันโลหิตอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง
6. 35 ปีขึ้นไป ควรรับการคัดกรองเบาหวาน
21-Jul-14 20
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
เบาหวาน
อัมพาต,สมองเสื่อม
โรคหัวใจขาดเลือด
หัวใจวายตายฉับพลัน
ต้อกระจก
จอประสาทตาเสื่อม
ไตวาย
แผลเรื้อรัง,ตัดเท้า
21-Jul-14 21
แผลเรื้อรังจากเบาหวาน
21-Jul-14 22
การดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน
• ควบคุมอาหาร น้าหนัก
• ออกกาลังกายพอควรและต่อเนื่อง
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• รับประทานยาสม่าเสมอ ตรวจเลือดและ
พบแพทย์ตามนัด
21-Jul-14 23
การดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน
• หลีกเลี่ยงการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์
• ดูแลรักษาเท้าให้สะอาดอยู่เสมอ
• มีลูกอมติดตัว
• มีแผลหายช้าควรปรึกษาแพทย์ทันที
21-Jul-14 24
เป้ าหมายการควบคุมโรคเบาหวาน
เป้ าหมาย
1. น้าตาลก่อนอาหาร 90-130 (มก./ดล.)
2. น้าตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง <180 (มก./ดล.)
3. น้าตาลเฉลี่ย HbA1C (%) <7
4. โคเลสเตอรอล <180 (มก./ดล.)
5. เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล > 40 (มก./ดล.)
21-Jul-14 25
เป้ าหมายการควบคุมโรคเบาหวาน
6. แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล <100 (มก./ดล.)
7. ไตรกลีเซอไรด์ <150 (มก./ดล.)
8. ดัชนีมวลกาย <23 (กก/ตรม.)
9. ความดันโลหิต <130/80 (มม.ปรอท)
10. ออกกาลังกาย 150 (นาที/สัปดาห์)
21-Jul-14 26
การป้ องกันการเกิดโรคเบาหวานที่ดีที่สุด
คือ
การควบคุมพฤติกรรมสุขภาพอย่าง
เข้มงวด
21-Jul-14 27
เป็นเบาหวานจะดูแลตัวเองอย่างไร
บันได 5 ขั้นสู่การดูแลตนเอง
เรียนรู้เรื่องเบาหวาน
ควบคุมอาหาร
ออกกาลังกาย
วัดผลการควบคุม
ยาเม็ด & ยาฉีด
21-Jul-14 28
วันเบาหวานโลก
14 พฤศจิกายน 2555
21-Jul-14 29
ช่องทางการติดต่อ…
ติดต่อผ่านทาง facebook:
prachaya56@hotmail.com
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 30

More Related Content

What's hot

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
bird090533
 

What's hot (20)

ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 

Viewers also liked

Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
secret_123
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
Sureerut Physiotherapist
 

Viewers also liked (17)

Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรมคู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 

Similar to Ppt.dm

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
maprang1962
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
54321_
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
beam35734
 

Similar to Ppt.dm (13)

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็นอันตรายจากอาหารมื้อเย็น
อันตรายจากอาหารมื้อเย็น
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 

More from Prachaya Sriswang

โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 

Ppt.dm

Editor's Notes

  1. มีโรคที่บ่งว่ามีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ได้แก่ โรครังไข่มีถุงน้ำหลายถุง ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวแม้ไม่มีอาการของโรคเบาหวานควรตรวจสอบ ถ้าระดับน้ำตาลอยู่ในข่ายสงสัยควรตรวจซ้ำในระยะ 1 ปี