SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
เบาหว
าน
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
16-Nov-22 1
เบาหวาน
 เป็ นภาวะที่ร่างกายมีน้าตาลในเลือดสูง
กว่าปกติ
 เกิดจากการขาดฮอร ์โมนอินซูลินหรือ
จากการดื้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน
 ทาให้ร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลใน
เลือดไปใช้ได้ตามปกติ
 น้าตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็ นระยะ
เวลานานทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนของ
อวัยวะต่างๆ
16-Nov-22 2
Beta cell ในบริเวณ islet of Langerhans ของตับ
อ่อน สร ้างฮอร์โมน insulin เพื่อทาหน้าที่ลดระดับ
น้าตาลในเลือดโดยเก็บเข ้าเซลล์ ส่วน Alpha cell 3
ตับอ่อน
อินซูลิ
น กลูโคส
16-Nov-22 4
23.0
36.2
36%
15.6
22.5
44%
48.4
58.6
17.4
%
43.0
75.8
43.3%
7.1
15.0
52.6
%
World
2003 = 194million (5.1%)
2025 = 333 million (6.3%)
Increase of 42%
39.3
81.6
52%
Global projections for the diabetes epidemic:
2003–2025
Adapted from IDF Diabetes atlast 2005
Prevalence of DM in Thais
the National Health Survey 1997 & 2004
Population Survey for CHD Risk 2000
1997
DM prevalence = 4.8%
Males = 4.3%
Females = 5.3%
Urban = 6.9%
Males = 6.2%
Females = 7.6%
Rural = 3.8% Males =
3.5% Females = 4.2%
population age >35 yr
2000
= 9.6%
= 9.1%
= 10.0%
= 11.9%
= 11.1%
= 12.6%
= 8.5%
= 8.2 %
= 8.8 %
2004
= 10.8%
=
=
=
=
=
=
=
=
อาการของ
โรคเบาหวาน
16-Nov-22 7
อาการจากภาวะน้าตาล
ในเลือดสูง
อาการ…หิวข้าวหิวน้าฉี่บ่อย น้าหนักลด
ผอมเพลียตาพร่า เป็ นแผลหายช้าและ
ผิวแห้ง
ทาไม
?
 ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะตอน
กลางคืนบ่อย
16-Nov-22 9
 หิวบ่อย กินจุ แต่น้าหนักลด
อ่อนเพลีย
 ร่างกายเอาน้าตาล glucose ไปใช้เป็ น
พลังงานไม่ได้เพราะ Insulin ไม่เพียงพอ
 จึงมีการสลายพลังงานออกจากไขมันและ
กล้ามเนื้อ
16-Nov-22 10
 คอแห้ง กระหายน้า ดื่มน้ามาก
เป็ นผลจากการ
ที่ร่างกาย
สูญเสียน้ามาก
ทางปัสสาวะ
16-Nov-22 11
แผลจะหายยาก มีการติดเชื้อตาม
ผิวหนังเกิดฝี บ่อย
น้าตาลสูงทา
ให้
ความสามารถ
ของเม็ดเลือด
ขาวในการ
กาจัดเชื้อโรค
ลดลง
16-Nov-22 12
 คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อรา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณช่องคลอด
ของผู้ป่ วยเพศหญิง
สาเหตุการ
คัน
 ผิวหนัง
แห้ง
 ผิวหนัง
อักเสบ
16-Nov-22 13
ตาพร่ามัว
ต้องเปลี่ยนแว่นบ่อย การ
ที่ตาพร่ามัว มีสาเหตุ
หลายประการ เช่น อาจ
เป็ นเพราะสายตาเปลี่ยน
เมื่อน้าตาลในเลือดสูง และ
น้าตาลไปคั่งอยู่ในตา หรือ
ตามัว อาจเกิดจากต้อ
กระจก จอตาผิดปกติจาก
โรคเบาหวาน
16-Nov-22 14
ชาตามปลายมือปลายเท้า หย่อน
สมรรถภาพทางเพศ
น้าตาลที่สูงนาน ๆ
ทาให้เส้นประสาท
เสื่อม เกิดแผลที่เท้า
ได้ง่าย เพราะไม่รู ้สึก
กว่าจะทราบแผลก็
ลุกลามมาก แผล
หายยาก ติดเชื้อง่าย
16-Nov-22 15
อาการภาวะน้าตาลในเลือดต่า
เวลาอดอาหาร หลังกินยาลดน้าตาล หรือเสีย
สมดุลอาหารกับยา
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
โรคเบาหวาน
1. น้าหนักเกิน
2. กรรมพันธุ ์
3. เครียดเรื้อรัง
4. อื่นๆ เช่น จากเชื้อโรค หรือ ยา
บางอย่าง (เหล้า) ทาลายตับอ่อน
ทาให้สร้างอินซูลินไม่ได้
16-Nov-22 17
ทราบได้อย่างไรว่าเป็ น
เบาหวาน
1. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด เมื่ออด
อาหาร อย่างน้อย 8 ชั่งโมง ≥ 126 มก./ดล.
2. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด เมื่อเวลาใดก็
ได้≥ 200 มก./ดล.
3. ตรวจระดับน้าตาลในเลือด ที่ 2 ชั่งโมง
หลังการดื่มน้าตาลกลูโคส ≥ 200 มก./ ดล.
16-Nov-22 18
ผู้ที่ควรตรวจหา
โรคเบาหวาน
 ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวาน
ดังข้างต้น
 อายุมากกว่า 40 ปี
 มีญาติสายตรงเป็ น
โรคเบาหวาน
 เคยเป็ นเบาหวานขณะ
ตั้งครรภ์
 คลอดบุตรหนักมากกว่า 4 กก.
16-Nov-22 19
ผู้ที่ควรตรวจหา
โรคเบาหวาน
 มีความดันโลหิตสูง
 มีไขมันในเลือดผิดปกติ
 มีโรคหลอดเลือดตีบแข็ง
 มีโรคที่บ่งว่ามีภาวะดื้อ
ต่ออินซูลิน
16-Nov-22 20
ชนิดของโรคเบาหวาน
1. Type 1 diabetes โรคเบาหวานชนิดที่ 1 :
-cell destruction
2. Type 2 diabetes โรคเบาหวานชนิดที่ 2 :
insulin resistance
3. Other specific types เบาหวานจากสาเหตุ
อื่น ๆ :
MODY, Other endocrine diseases (hyperthyroid,
Cushing’s), Pancreatic disease, etc.
4. Gestational diabetes mellitus เบาหวานในคน
ตั้งครรภ์(GDM)
ประเภทของ
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1
• พบในคนอายุ < 30 ปี
• เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถ
สร้างอินซูลินได้
• มีรูปร่างผอม อาจเกิดภาวะหมด
สติจากน้าตาลในเลือดสูง
• การรักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน
16-Nov-22 22
ประเภทของ
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 2
• พบในผู้ที่อายุ > 40 ปี
• เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน และมีการ
หลั่งอินซูลินลดลง
• มีรูปร่างอ้วน และมีประวัติโรคเบาหวาน
ในครอบครัว
• สามารรักษาด้วยการควบคุมอาหาร
หรือยาเม็ดลดระดับน้าตาล
16-Nov-22 23
ประเภทของ
โรคเบาหวาน
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ
• สาเหตุทางกรรมพันธุ ์
• โรคของตับอ่อน
• ฮอร ์โมนผิดปกติ
• จากยาบางชนิด เช่น ยาส
เตียรอยด์
16-Nov-22 24
ประเภทของ
โรคเบาหวาน
เบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
• ตรวจพบขณะผู้ป่ วยตั้งครรภ์โดยที่
ผู้ป่ วยไม่มีประวัติเป็ นโรคเบาหวานมา
ก่อน
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร ์โมน
ขณะตั้งครรภ์
• การรักษามักต้องใช้อินซูลิน
• หลังคลอดเบาหวานมักหายไป และ
ผู้ป่ วยจะมีโอกาสเป็ นเบาหวานชนิดที่ 2
เมื่อมีอายุมากขึ้น
16-Nov-22 25
ผลแทรกซ้อนจากเบาหวาน 4
ประการหลัก
อวัยวะอื่นๆ ขาด
น้าตาล
ketoacidosis
น้าตาลเกินล้นพิกัด
ไต
น้าตาลใน
ปัสสาวะ
ไตทางานหนัก
ไตวาย
เรื้อรัง
เก็บไขมันเข้าเซล
ไม่ได้
โรคไขมันใน
เลือดสูง
น้าตาลจับโปรตีนและ
ดูดน้า
อาการแทรก
ซ ้อนอื่นๆ
เสียน้าตาลและ
น้า
จา
เด้อ
ภาวะเสมือนอด
อาหาร
น้าตาลดูด
น้า
ไขมันเหลือค้างใน
หลอดเลือด
เกิดโรคที่หลอด
เลือด
26
การป้ องกัน
1. ออกกาลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อ
วัน อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
2. ลดอาหารพวกแป้ ง ไขมัน และน้าตาล
เน้นผัก
3. ไม่อ้วน ไม่เครียด
4. งดบุหรี่ แอลกอฮอล์
5. ติดตามความดันโลหิตอย่างน้อย ปี ละ
2 ครั้ง
6. 35 ปี ขึ้นไป ควรรับการคัดกรอง
เบาหวาน
16-Nov-22 27
ภาวะแทรกซ้อน
เรื้อรัง
เบาหวา
น
อัมพาต,สมอง
เสื่อม
โรคหัวใจขาด
เลือด
หัวใจวายตาย
ฉับพลัน
ต้อกระจก
จอประสาทตา
เสื่อม
ไตวาย
แผลเรื้อรัง
,ตัดเท้า
16-Nov-22 28
บวมเบลอ
มึนงง
ตามัว ต ้อ
หิน
จับเส ้นเลือดจอ
ประสาทตา
จับเซล
ประสาทสมอง
อาการแทรกซ้อนจาก
โรคเบาหวาน
เมื่อน้าตาลค ้างในกระแส
เลือดนานๆ
ผลตามมา
ฉี่บ่อย ไต
เสื่อม ไต
วาย
น้าตาลจับเส ้น
เลือดในไต ท่อ
ไต ไตขับ 29
WBC เสื่อม
ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ
แผลหายช ้าเรื้อรัง
เรื้อรัง
จับเม็ดเลือด
ขาว
อาการแทรกซ้อนจาก
โรคเบาหวาน
จับเส้นเลือดส่วน
ปลาย และปลาย
ประสาท
เชื้อรายีสต์ขึ้น คัน
ตกขาว ในหญิงชรา
เชื้อเพิ่มจานวนใน
ช่องคลอด และระบบ
มึนชาปลาย
ประสาท เกิดแผล
ไม่รู้ตัวแผลฝีกด
ทับขาเน่ารองเท้า
หาย
แบคทีเรียเชื้อราใช ้
น้าตาลได้ดี เจริญเร็ว
กว่าซ่อมแซม
ในเนื้อเยื่อบาดแผล
มีน้าเลือดไปเลี้ยงจึง
พาน้าตาล
30
แผลเรื้อรังจาก
เบาหวาน
16-Nov-22 31
การดูแลตนเองในผู้ป่ วย
เบาหวาน
• ควบคุมอาหาร น้าหนัก
• ออกกาลังกายพอควรและ
ต่อเนื่อง
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• รับประทานยาสม่าเสมอ
ตรวจเลือดและพบแพทย์ตาม
นัด
16-Nov-22 32
การดูแลตนเองในผู้ป่ วย
เบาหวาน
• หลีกเลี่ยงการดื่มสุราหรือ
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
• ดูแลรักษาเท้าให้สะอาดอยู่
เสมอ
• มีลูกอมติดตัว
• มีแผลหายช้าควรปรึกษา
แพทย์ทันที
16-Nov-22 33
เป้ าหมายการควบคุม
โรคเบาหวาน
เป้ าหมาย
1. น้าตาลก่อนอาหาร 90-130 (มก./
ดล.)
2. น้าตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง <180
(มก./ดล.)
3. น้าตาลเฉลี่ย HbA1C (%) <7
4. โคเลสเตอรอล <180 (มก./ดล.)
5. เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล > 40
(มก./ดล.)
16-Nov-22 34
เป้ าหมายการควบคุม
โรคเบาหวาน
6. แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล
<100 (มก./ดล.)
7. ไตรกลีเซอไรด์<150 (มก./
ดล.)
8. ดัชนีมวลกาย <23 (กก/ตรม.)
9. ความดันโลหิต <130/80 (มม.
ปรอท)
10. ออกกาลังกาย 150 (นาที/
16-Nov-22 35
การป้ องกันการเกิด
โรคเบาหวานที่ดีที่สุด
คือ
การควบคุมพฤติกรรม
สุขภาพอย่างเข้มงวด
16-Nov-22 36
เป็ นเบาหวานจะดูแลตัวเอง
อย่างไร
บันได 5 ขั้นสู่การ
ดูแลตนเอง
เรียนรู ้เรื่องเบาหวาน
ควบคุมอาหาร
ออกกาลังกาย
วัดผลการควบคุม
ยาเม็ด & ยาฉีด
16-Nov-22 37
วันเบาหวานโลก
14 พฤศจิกายน
2555
16-Nov-22 38

More Related Content

Similar to DM 65.ppt

ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์supphawan
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจMMBB MM
 
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.pptssuser2f1a7d
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusssuserfd76ce
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus ssuserfd76ce
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusssuserfd76ce
 

Similar to DM 65.ppt (20)

ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
 
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
Diabetes mellitus
Diabetes mellitusDiabetes mellitus
Diabetes mellitus
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 

More from praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfpraphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfpraphan khunti
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docpraphan khunti
 

More from praphan khunti (11)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdfกลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
กลุ่มอาการฉุกเฉิน.pdf
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

DM 65.ppt