SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แผนบริหารการสอนบทที่ 4
หัวข้อเนื้อหาประจาบท
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
3. การพิจารณาเลือกใช้ยา
4. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาจบบทที่ 4 แล้ว นักศึกษาควรมีความสามารถดังต่อไปนี้
1. อธิบายลักษณะของโรคเบาหวานได้
2. บอกชนิดของยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวานได้
3. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือดได้
4. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของอินซูลินได้
5. บอกอาการข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาได้
6. ให้ค้าแนะน้าในการใช้ยาได้
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ้าบทที่ 4 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
1. มอบหมายงานให้ทบทวนความรู้เรื่องโรคเบาหวานก่อนเข้าชั้นเรียน
2. บรรยายตามเนื้อหา โดยใช้โปรแกรมการน้าเสนอ (power point) ประกอบค้าอธิบาย
3. อภิปรายกรณีศึกษา เรื่อง การใช้ยาของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
4. ร่วมกันสรุปประเด็นส้าคัญของการเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องต้น บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
2. โปรแกรมน้าเสนอ เรื่อง ยารักษาโรคเบาหวาน
3. กรณีศึกษา
วิธีวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
1.1 พฤติกรรมความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1.2 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นของผู้เรียนในระหว่างเรียน
1.3 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการท้ากิจกรรมกลุ่ม
2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 ผลงานกลุ่ม
บทที่ 4
ยารักษาโรคเบาหวาน
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังซึ่งผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาไปตลอดชีวิต ปัจจุบันวิวัฒนาการ
ของการรักษาโรคเบาหวานมีมากขึ้น การเลือกและปรับยาอย่างเหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการควบคุม
โรคเบาหวานให้ถึงเป้าหมายเพิ่มขึ้น ส่งผลช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น แต่ทั้งนี้จะต้องอาศัยความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก
ผู้ป่วยด้วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
1. โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus : DM) เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้้าตาลในเลือดสูง
กว่าปกติ เนื่องจากร่างกายไม่สามารถน้าน้้าตาลไปใช้ได้ตามปกติ การที่ร่างกายจะใช้น้้าตาลกลูโคสได้
จ้าเป็นต้องอาศัยการท้างานของฮอร์โมนอินซูลินซึ่งสร้างจากตับอ่อน ท้าหน้าที่เป็นตัวพาน้้าตาล
กลูโคสเข้าสู่เซลล์ หากร่างกายขาดอินซูลินเนื่องจากตับอ่อนถูกท้าลาย หรือประสิทธิภาพในการ
ท้างานของอินซูลินลดลง จะท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดสูงขึ้นได้
การวินิจฉัยโรคเบาหวานท้าได้โดยตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือด ตามเกณฑ์ขององค์การ
อนามัยโลก จะวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานเมื่อตรวจพบระดับน้้าตาลในเลือดหลังงดอาหาร 8-12 ชั่วโมง
มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หรือพบระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
หรือเมื่อไม่ได้งดอาหารมีค่ามากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้้าและดื่ม
น้้ามาก กินจุแต่น้้าหนักลด อ่อนเพลีย ชาปลายมือและปลายเท้า คันตามร่างกาย เมื่อเป็นแผลแล้ว
หายยาก และหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดได้ อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
อื่นตามมา เช่น ภาวะไตวาย ภาวะกรดจากคีโตนคั่ง (Ketoacidosis) ภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นต้น
2. การรักษาโรคเบาหวาน
การรักษาโรคเบาหวานมีจุดมุ่งหมาย เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยมีอาการจากภาวะน้้าตาลในเลือดสูง
หรือต่้าเกินไป ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรื้อรังจากโรคเบาหวาน และเพื่อให้ผู้ป่วย
เบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ วิธีการรักษาโรคเบาหวานประกอบด้วย
2.1 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่ การควบคุมอาหาร การออกก้าลังกาย การลด
น้้าหนัก และการงดสูบบุหรี่
2.2 การรักษาด้วยยา เพื่อควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด
ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
1. ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด
ยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือด ส่วนใหญ่ใช้ส้าหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นหลัก
ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ตามกลไกการออกฤทธิ์ดังนี้
1.1 ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของอินซูลินจากตับอ่อน แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
1.1.1 ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย (Sulfonylurea) ออกฤทธิ์โดยกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน
จากตับอ่อน ส่งผลให้มีปริมาณอินซูลินในร่างกายเพิ่มมากขึ้น ยาในกลุ่มนี้สามารถแบ่งออกเป็น 3 รุ่น
ได้แก่ ยารุ่นที่หนึ่ง (First generation) เช่น Chlorpropamide ยารุ่นที่สอง (Second generation)
เช่น Glibencamide, Glipizide และยารุ่นที่สาม (Third generation) เช่น Glimepiride,
Glicazide MR เป็นต้น ปัจจุบันยา Chlorpropamide ไม่นิยมใช้ เนื่องจากเป็นยาที่ออกฤทธิ์นานและ
เกิดผลข้างเคียง เช่น ภาวะที่มีการท้างานของแอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (Antidiuratic hormone :
ADH) มากผิดปกติ ท้าให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่้า (Hyponatremia) และยังท้าให้เกิดภาวะ
น้้าตาลในเลือดต่้า (Hypoglycemia) ในผู้ป่วยสูงอายุได้บ่อย
1.1.2 ยากลุ่มออกฤทธิ์เร็วที่ไม่ใช่ซัลโฟนิลยูเรีย (Rapid acting non-sulfonylurea)
เป็นยากลุ่มใหม่ที่โครงสร้างของยาไม่ใช่กลุ่มซัลฟา กลไกการออกฤทธิ์เช่นเดียวกับยากลุ่มซัลโฟนิล
ยูเรีย ประสิทธิภาพของยาใกล้เคียงกัน แต่กระตุ้นที่ต้าแหน่งของตัวรับแตกต่างกัน ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์
ได้เร็วกว่า ท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าน้อยกว่า เนื่องจากมีค่าครึ่งชีวิตสั้น การใช้ยาต้อง
รับประทานยาก่อนอาหารประมาณ 15 นาที เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้พอดีกับมื้ออาหารที่รับประทาน
สามารถเลือกใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาซัลฟา หรือผู้ที่รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา หรือในผู้ป่วย
สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าได้มาก ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Repaglinide และ
Nateglinide
1.2 ยากลุ่มที่ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์โดยท้าให้อินซูลินสามารถ
ท้างานได้ดีขึ้น (insulin sensitizer) โดยยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1.2.1 ยากลุ่มไบกัวไนด์ (Biguanide) ออกฤทธิ์ยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับเป็น
หลัก และยังท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ท้าให้การน้าน้้าตาลเข้าเซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
ข้อดีของยากลุ่มนี้คือไม่ท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า และน้้าหนักตัวไม่ค่อยเพิ่มขึ้น ผลข้างเคียงที่
พบบ่อย เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ไม่สบายท้อง ท้องเสีย แต่อาการเหล่านี้จะดีขึ้นเมื่อใช้ยาติดต่อกันไป
สักระยะ ผลที่ไม่พึงประสงค์ที่ส้าคัญคือ ภาวะกรดแลคติกคั่งในเลือด (Lactic acidosis) ควรหลีกเลี่ยง
การใช้ยาในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต หรือในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ
ล้มเหลว เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Metformin
1.2.2 ยากลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอน (Thiazolidinedione) มีผลท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์
ที่กล้ามเนื้อ เกิดการน้าน้้าตาลเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่ตับ
เพิ่มขึ้น โดยการยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับด้วย ยากลุ่มนี้เป็นยาใหม่ สามารถใช้รักษาเป็นยา
เดี่ยวหรือใช้ร่วมกับยากลุ่มอื่นได้ ผลข้างเคียงของยา เช่น ท้าให้น้้าหนักตัวเพิ่มเนื่องจากการคั่งของน้้า
ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ลดลง และอาจท้าให้เกิดตับอักเสบได้ ดังนั้นผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับ
ยากลุ่มนี้ต้องได้รับการประเมินการท้างานของตับ (Liver function test) ด้วย ยาในกลุ่มนี้ได้แก่
Rosiglitazone และ Pioglitazone
1.3 ยากลุ่มที่ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส (-glucosidase) ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดย
ยับยั้งการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตที่ล้าไส้ โดยมีผลยับยั้งการท้างานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสที่ล้าไส้
ท้าให้ประสิทธิภาพการย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตลดลง จึงมีกลูโคสส้าหรับดูดซึมได้น้อยลง
ส่งผลให้ระดับน้้าตาลในเลือดลดลงได้ ยากลุ่มนี้จึงมีผลในการลดระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร
(Postprandial glucose) เป็นส่วนใหญ่ และยาถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายน้อยมากจึงไม่มีผลต่อการออก
ฤทธิ์ทั่วร่างกาย ผลข้างเคียงที่พบบ่อย เช่น ท้องอืด แน่นท้อง ปวดท้อง ถ่ายเหลว โดยเฉพาะหาก
ได้รับยาในขนาดสูง ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Acarbose และ Voglibose
2. ยาฉีดอินซูลิน
ยาฉีดอินซูลิน ออกฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดโดยการท้าหน้าที่เหมือนกับอินซูลิน
ภายในร่างกาย ส่งผลให้เกิดการยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับ เพิ่มการใช้กลูโคสที่กล้ามเนื้อหรือ
ไขมัน อินซูลินที่ใช้ในปัจจุบันได้มาจากการสังเคราะห์ให้มีโครงสร้างเช่นเดียวกันกับอินซูลินที่ร่างกาย
สร้างขึ้นเรียกว่า ฮิวแมนอินซูลิน (Human insulin) และในระยะหลังมีการดัดแปลงฮิวแมนอินซูลินให้
มีการออกฤทธิ์ตามที่ต้องการเรียกว่า อินซูลินอะนาลอก (Insulin analog) โดยอินซูลินสามารถแบ่ง
ออกเป็น 4 ประเภท ตามระยะเวลาการออกฤทธิ์ได้ดังนี้
2.1 ฮิวแมนอินซูลินที่ออกฤทธิ์สั้น (Short acting หรือ Regular human insulin : RI)
2.2 ฮิวแมนอินซูลินที่ออกฤทธิ์ปานกลาง (Intermediate acting insulin : NPH)
2.3 อินซูลินอะนาลอกที่ออกฤทธิ์เร็ว (Rapid acting insulin analog : RAA) เป็น
อินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจากการดัดแปลงกรดอะมิโนที่สายของฮิวแมนอินซูลิน ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Insulin
lispro และ Insulin aspart
2.4 อินซูลินอะนาลอกที่ออกฤทธิ์นาน (Long acting insulin analog : LAA) เป็น
อินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจากการดัดแปลงกรดอะมิโนที่สายของฮิวแมนอินซูลิน และเพิ่มกรดอะมิโนหรือ
เสริมแต่งสายของอินซูลินด้วยกรดไขมัน ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Insulin glargine และ Insulin detemir
ยาฉีดอินซูลินสามารถใช้ได้ในทุกกรณีที่มีภาวะน้้าตาลในเลือดสูง โดยอาจมีข้อบ่งชี้เฉพาะ
เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ความผิดปกติของตับอ่อน ภาวะกรดคั่งจากคีโตน การตั้งครรภ์ การติด
เชื้อรุนแรง การผ่าตัด โรคตับ โรคไต ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงรุนแรง และในกรณีที่ไม่สามารถควบคุม
ระดับน้้าตาลในเลือดได้ด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับน้้าตาล ผลข้างเคียงและอาการไม่
พึงประสงค์จากการใช้ยา เช่น ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า การแพ้ยา ตาพร่ามัวมากขึ้น อาการบวม และ
น้้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นต้น
การพิจารณาเลือกใช้ยา
1. การเลือกใช้ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด
การเลือกใช้ยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือดกลุ่มใดเป็นยาตัวแรกนั้น จะมีการพิจารณา
จากผู้ป่วยว่ามีสาเหตุความผิดปกติมาจากสิ่งใด ส้าหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลไกการเกิดโรคอาจ
เกิดจากความบกพร่องของตับอ่อนในการหลั่งอินซูลิน (Insulin defeciency) และ/หรือภาวะดื้อต่อ
อินซูลิน (Insulin resistance) ผู้ป่วยเบาหวานที่มีดัชนีมวลกาย (Body mass index) น้อยกว่า 25
กิโลกรัมต่อตารางเมตร ส่วนใหญ่มักเกิดจากความผิดปกติจากการหลั่งอินซูลิน ยาที่ควรเลือกใช้เป็น
อันดับแรกคือยากลุ่มที่กระตุ้นการหลั่งของอินซูลิน เช่น ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย ส่วนผู้ป่วยที่มีดัชนีมวล
กายมากกว่าหรือเท่ากับ 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หรือมีลักษณะอื่นของ Metabolic syndrome
เช่น อ้วนลงพุง, ความดันโลหิตสูง, ปริมาณโคเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นสูง (High density
lipoprotein) ต่้า มักเกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน ควรเลือกใช้ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ลดภาวะดื้อต่อ
อินซูลินเป็นอันดับแรก เช่น ยากลุ่มไบกัวไนด์ ส้าหรับยากลุ่มที่ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ซึ่ง
เป็นยาที่ลดระดับน้้าตาลขณะอดอาหารได้น้อยมาก จึงไม่ควรใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา ยกเว้นระดับ
น้้าตาลขณะอดอาหารไม่เกิน 140 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และยาในกลุ่มออกฤทธิ์เร็วที่ไม่ใช่ซัลโฟนิล
ยูเรียนั้น สามารถใช้เป็นยาตัวแรก หรือยาเดี่ยวในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีระดับ
น้้าตาลในเลือดหลังอาหารสูง และในผู้ที่รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ส่วนยากลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอน
มีข้อมูลว่าสามารถใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษาได้ แต่ยามีราคาแพงจึงไม่แนะน้าให้ใช้เป็นยาตัวแรก
2. การเลือกใช้ยาฉีดอินซูลิน
การเลือกใช้ยาฉีดอินซูลิน ยาฉีดอินซูลินชนิดที่ออกฤทธิ์สั้น มักใช้ส้าหรับผู้ป่วยที่ต้องฉีด
ยาเข้าทางหลอดเลือดด้าหรือชั้นกล้ามเนื้อเพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้เร็วยิ่งขึ้น โดยใช้ในกรณีผู้ที่มีภาวะกรด
คั่งจากคีโตน ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงรุนแรง เช่น ระดับน้้าตาลในเลือดขณะอดอาหารมีค่ามากกว่า
300 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และต้องการควบคุมให้ระดับน้้าตาลลดลงอย่างรวดเร็ว ส่วนยาฉีดอินซูลิน
ชนิดที่ออกฤทธิ์ปานกลาง มักใช้ในกรณีผู้ป่วยที่อาการเบาหวานไม่รุนแรง เช่น การใช้ยาในผู้ป่วย
เบาหวานชนิดที่ 1 บางราย หรือการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยการฉีดยาก่อนนอนร่วมกับ
การใช้ยาเม็ดลดระดับน้้าตาล หรือในผู้ป่วยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ เป็นต้น
อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า (Hypoglycemia) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด มักเป็น
ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยจากการใช้ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์กระตุ้นให้ร่างกายหลั่งอินซูลิน ในระยะแรกอาจมี
อาการเพียงเล็กน้อย เช่น หิว ใจสั่น กระวนกระวาย เหงื่อออก ซึ่งสามารถดูแลตนเองได้ด้วยการ
รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีน้้าตาลที่สามารถดูดซึมได้เร็ว แต่หากปล่อยให้เกิดภาวะน้้าตาลใน
เลือดต่้าเป็นเวลานานไม่ได้รับการแก้ไข จะพบอาการที่รุนแรงขึ้นโดยอาจท้าให้เกิดภาวะสับสน เป็น
ลม ชัก หมดสติ และน้าไปสู่การเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรทราบและสังเกตอาการที่แสดงถึง
ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงหรือต่้าอยู่เสมอ เพื่อจะได้ดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมต่อไป
อาการคลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง ท้องเสีย เบื่ออาหาร ขมในปาก เป็นผลข้างเคียงจากการใช้
ยาเมทฟอร์มิน สามารถลดอาการดังกล่าวโดยให้รับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหาร
ผิวหนังเป็นไตหรือไขมันใต้ผิวหนังฝ่อลงบริเวณที่ฉีดอินซูลิน (Lipodystrophy) เกิดจากการ
ฉีดยาบริเวณเดียวกันซ้้า ๆ แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนต้าแหน่งที่ฉีด
สรุป
จุดมุ่งหมายส้าคัญของการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน คือการควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด
ให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด ซึ่งจะส่งผลให้สามารถลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ ยารักษา
โรคเบาหวานสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ยาชนิดรับประทานหรือยาเม็ดลดระดับน้้าตาล และยา
ชนิดฉีดหรืออินซูลิน กลไกการออกฤทธิ์ที่ส้าคัญของยาชนิดรับประทาน เช่น กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน
ลดภาวะดื้อต่ออินซูลินหรือท้าให้เนื้อเยื่อไวต่ออินซูลิน และยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ที่ใช้ย่อย
คาร์โบไฮเดรต เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรทราบชนิดของยา วิธีการใช้ยา และผลข้างเคียงที่อาจ
เกิดขึ้น เพื่อให้การใช้ยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ทั้งนี้ การรักษาโรคเบาหวานที่จะ
ได้ผลดี นอกจากการใช้ยาดังกล่าวแล้วผู้ป่วยจ้าเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมโดย
การควบคุมอาหาร และการออกก้าลังร่วมด้วย
คาถามทบทวน
1. จงอธิบายสาเหตุ การวินิจฉัย และอาการของโรคเบาหวาน
2. ยาที่ใช้ในการรักษาโรคเบาหวานสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง
3. Glipizide มีกลไกการออกฤทธิ์เพื่อลดระดับน้้าตาลในเลือดอย่างไร
4. Insulin มีกลไกการออกฤทธิ์เพื่อลดระดับน้้าตาลในเลือดอย่างไร
5. จงระบุอาการข้างเคียงที่ส้าคัญของการใช้ Insulin พร้อมบอกแนวทางการดูแลตนเอง
เอกสารอ้างอิง
โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานแห่งชาติ. (2550). 4 Steps to Control Your Diabetes
for Life. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : www.ndep.nih.gov [18 ธันวาคม 2556].
ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล. (ม.ป.ป.). ยารักษาโรคเบาหวาน. เอกสารประกอบการสอน คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธงชัย ประฏิภาณวัตร. (กรกฎาคม-กันยายน 2554). “การเลือกแนวทางการรักษาโรคเบาหวานใน
ภาวะต่าง ๆ.” วารสารอายุรศาสตร์อีสาน. 10 (3) : 19-21.
ส้านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2554). แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.
2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ้ากัด.
เอกลักษณ์ วโนทยาโรจน์. (กรกฎาคม-กันยายน 2554). “แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย
เบาหวานด้วยยาซัลโฟนิลยูเรีย.” วารสารอายุรศาสตร์อีสาน. 10 (3) : 12-18.

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุChutchavarn Wongsaree
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56Supanan Inphlang
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยDr.yababa najra
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...Parun Rutjanathamrong
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนSurapol Imi
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด6 ยาคุมกำเนิด
6 ยาคุมกำเนิด
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
 
Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
 

Similar to บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ pacharapornoiw
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 

Similar to บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
Dm
DmDm
Dm
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน

  • 1. แผนบริหารการสอนบทที่ 4 หัวข้อเนื้อหาประจาบท 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 3. การพิจารณาเลือกใช้ยา 4. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาจบบทที่ 4 แล้ว นักศึกษาควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. อธิบายลักษณะของโรคเบาหวานได้ 2. บอกชนิดของยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวานได้ 3. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือดได้ 4. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของอินซูลินได้ 5. บอกอาการข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาได้ 6. ให้ค้าแนะน้าในการใช้ยาได้ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ้าบทที่ 4 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ 1. มอบหมายงานให้ทบทวนความรู้เรื่องโรคเบาหวานก่อนเข้าชั้นเรียน 2. บรรยายตามเนื้อหา โดยใช้โปรแกรมการน้าเสนอ (power point) ประกอบค้าอธิบาย 3. อภิปรายกรณีศึกษา เรื่อง การใช้ยาของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 4. ร่วมกันสรุปประเด็นส้าคัญของการเรียน สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องต้น บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน 2. โปรแกรมน้าเสนอ เรื่อง ยารักษาโรคเบาหวาน 3. กรณีศึกษา วิธีวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
  • 2. 1.1 พฤติกรรมความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 1.2 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นของผู้เรียนในระหว่างเรียน 1.3 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการท้ากิจกรรมกลุ่ม 2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย 2.1 ผลงานกลุ่ม
  • 3. บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังซึ่งผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาไปตลอดชีวิต ปัจจุบันวิวัฒนาการ ของการรักษาโรคเบาหวานมีมากขึ้น การเลือกและปรับยาอย่างเหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการควบคุม โรคเบาหวานให้ถึงเป้าหมายเพิ่มขึ้น ส่งผลช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น แต่ทั้งนี้จะต้องอาศัยความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก ผู้ป่วยด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 1. โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus : DM) เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้้าตาลในเลือดสูง กว่าปกติ เนื่องจากร่างกายไม่สามารถน้าน้้าตาลไปใช้ได้ตามปกติ การที่ร่างกายจะใช้น้้าตาลกลูโคสได้ จ้าเป็นต้องอาศัยการท้างานของฮอร์โมนอินซูลินซึ่งสร้างจากตับอ่อน ท้าหน้าที่เป็นตัวพาน้้าตาล กลูโคสเข้าสู่เซลล์ หากร่างกายขาดอินซูลินเนื่องจากตับอ่อนถูกท้าลาย หรือประสิทธิภาพในการ ท้างานของอินซูลินลดลง จะท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดสูงขึ้นได้ การวินิจฉัยโรคเบาหวานท้าได้โดยตรวจวัดระดับน้้าตาลในเลือด ตามเกณฑ์ขององค์การ อนามัยโลก จะวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานเมื่อตรวจพบระดับน้้าตาลในเลือดหลังงดอาหาร 8-12 ชั่วโมง มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หรือพบระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง หรือเมื่อไม่ได้งดอาหารมีค่ามากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้้าและดื่ม น้้ามาก กินจุแต่น้้าหนักลด อ่อนเพลีย ชาปลายมือและปลายเท้า คันตามร่างกาย เมื่อเป็นแผลแล้ว หายยาก และหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดได้ อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน อื่นตามมา เช่น ภาวะไตวาย ภาวะกรดจากคีโตนคั่ง (Ketoacidosis) ภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นต้น 2. การรักษาโรคเบาหวาน การรักษาโรคเบาหวานมีจุดมุ่งหมาย เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยมีอาการจากภาวะน้้าตาลในเลือดสูง หรือต่้าเกินไป ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนเฉียบพลันและเรื้อรังจากโรคเบาหวาน และเพื่อให้ผู้ป่วย เบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ วิธีการรักษาโรคเบาหวานประกอบด้วย 2.1 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่ การควบคุมอาหาร การออกก้าลังกาย การลด
  • 4. น้้าหนัก และการงดสูบบุหรี่ 2.2 การรักษาด้วยยา เพื่อควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 1. ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด ยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือด ส่วนใหญ่ใช้ส้าหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นหลัก ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ตามกลไกการออกฤทธิ์ดังนี้ 1.1 ยาที่ออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของอินซูลินจากตับอ่อน แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ 1.1.1 ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย (Sulfonylurea) ออกฤทธิ์โดยกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน จากตับอ่อน ส่งผลให้มีปริมาณอินซูลินในร่างกายเพิ่มมากขึ้น ยาในกลุ่มนี้สามารถแบ่งออกเป็น 3 รุ่น ได้แก่ ยารุ่นที่หนึ่ง (First generation) เช่น Chlorpropamide ยารุ่นที่สอง (Second generation) เช่น Glibencamide, Glipizide และยารุ่นที่สาม (Third generation) เช่น Glimepiride, Glicazide MR เป็นต้น ปัจจุบันยา Chlorpropamide ไม่นิยมใช้ เนื่องจากเป็นยาที่ออกฤทธิ์นานและ เกิดผลข้างเคียง เช่น ภาวะที่มีการท้างานของแอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (Antidiuratic hormone : ADH) มากผิดปกติ ท้าให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่้า (Hyponatremia) และยังท้าให้เกิดภาวะ น้้าตาลในเลือดต่้า (Hypoglycemia) ในผู้ป่วยสูงอายุได้บ่อย 1.1.2 ยากลุ่มออกฤทธิ์เร็วที่ไม่ใช่ซัลโฟนิลยูเรีย (Rapid acting non-sulfonylurea) เป็นยากลุ่มใหม่ที่โครงสร้างของยาไม่ใช่กลุ่มซัลฟา กลไกการออกฤทธิ์เช่นเดียวกับยากลุ่มซัลโฟนิล ยูเรีย ประสิทธิภาพของยาใกล้เคียงกัน แต่กระตุ้นที่ต้าแหน่งของตัวรับแตกต่างกัน ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ ได้เร็วกว่า ท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าน้อยกว่า เนื่องจากมีค่าครึ่งชีวิตสั้น การใช้ยาต้อง รับประทานยาก่อนอาหารประมาณ 15 นาที เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้พอดีกับมื้ออาหารที่รับประทาน สามารถเลือกใช้ยากลุ่มนี้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาซัลฟา หรือผู้ที่รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา หรือในผู้ป่วย สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าได้มาก ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Repaglinide และ Nateglinide 1.2 ยากลุ่มที่ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์โดยท้าให้อินซูลินสามารถ ท้างานได้ดีขึ้น (insulin sensitizer) โดยยาที่มีกลไกการออกฤทธิ์นี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1.2.1 ยากลุ่มไบกัวไนด์ (Biguanide) ออกฤทธิ์ยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับเป็น หลัก และยังท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ท้าให้การน้าน้้าตาลเข้าเซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ข้อดีของยากลุ่มนี้คือไม่ท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า และน้้าหนักตัวไม่ค่อยเพิ่มขึ้น ผลข้างเคียงที่ พบบ่อย เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ไม่สบายท้อง ท้องเสีย แต่อาการเหล่านี้จะดีขึ้นเมื่อใช้ยาติดต่อกันไป
  • 5. สักระยะ ผลที่ไม่พึงประสงค์ที่ส้าคัญคือ ภาวะกรดแลคติกคั่งในเลือด (Lactic acidosis) ควรหลีกเลี่ยง การใช้ยาในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต หรือในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ ล้มเหลว เป็นต้น ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Metformin 1.2.2 ยากลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอน (Thiazolidinedione) มีผลท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ ที่กล้ามเนื้อ เกิดการน้าน้้าตาลเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ที่ตับ เพิ่มขึ้น โดยการยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับด้วย ยากลุ่มนี้เป็นยาใหม่ สามารถใช้รักษาเป็นยา เดี่ยวหรือใช้ร่วมกับยากลุ่มอื่นได้ ผลข้างเคียงของยา เช่น ท้าให้น้้าหนักตัวเพิ่มเนื่องจากการคั่งของน้้า ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ลดลง และอาจท้าให้เกิดตับอักเสบได้ ดังนั้นผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับ ยากลุ่มนี้ต้องได้รับการประเมินการท้างานของตับ (Liver function test) ด้วย ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Rosiglitazone และ Pioglitazone 1.3 ยากลุ่มที่ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส (-glucosidase) ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดย ยับยั้งการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตที่ล้าไส้ โดยมีผลยับยั้งการท้างานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสที่ล้าไส้ ท้าให้ประสิทธิภาพการย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตลดลง จึงมีกลูโคสส้าหรับดูดซึมได้น้อยลง ส่งผลให้ระดับน้้าตาลในเลือดลดลงได้ ยากลุ่มนี้จึงมีผลในการลดระดับน้้าตาลในเลือดหลังอาหาร (Postprandial glucose) เป็นส่วนใหญ่ และยาถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายน้อยมากจึงไม่มีผลต่อการออก ฤทธิ์ทั่วร่างกาย ผลข้างเคียงที่พบบ่อย เช่น ท้องอืด แน่นท้อง ปวดท้อง ถ่ายเหลว โดยเฉพาะหาก ได้รับยาในขนาดสูง ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Acarbose และ Voglibose 2. ยาฉีดอินซูลิน ยาฉีดอินซูลิน ออกฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดโดยการท้าหน้าที่เหมือนกับอินซูลิน ภายในร่างกาย ส่งผลให้เกิดการยับยั้งการสลายไกลโคเจนจากตับ เพิ่มการใช้กลูโคสที่กล้ามเนื้อหรือ ไขมัน อินซูลินที่ใช้ในปัจจุบันได้มาจากการสังเคราะห์ให้มีโครงสร้างเช่นเดียวกันกับอินซูลินที่ร่างกาย สร้างขึ้นเรียกว่า ฮิวแมนอินซูลิน (Human insulin) และในระยะหลังมีการดัดแปลงฮิวแมนอินซูลินให้ มีการออกฤทธิ์ตามที่ต้องการเรียกว่า อินซูลินอะนาลอก (Insulin analog) โดยอินซูลินสามารถแบ่ง ออกเป็น 4 ประเภท ตามระยะเวลาการออกฤทธิ์ได้ดังนี้ 2.1 ฮิวแมนอินซูลินที่ออกฤทธิ์สั้น (Short acting หรือ Regular human insulin : RI) 2.2 ฮิวแมนอินซูลินที่ออกฤทธิ์ปานกลาง (Intermediate acting insulin : NPH) 2.3 อินซูลินอะนาลอกที่ออกฤทธิ์เร็ว (Rapid acting insulin analog : RAA) เป็น อินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจากการดัดแปลงกรดอะมิโนที่สายของฮิวแมนอินซูลิน ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Insulin lispro และ Insulin aspart
  • 6. 2.4 อินซูลินอะนาลอกที่ออกฤทธิ์นาน (Long acting insulin analog : LAA) เป็น อินซูลินรุ่นใหม่ที่เกิดจากการดัดแปลงกรดอะมิโนที่สายของฮิวแมนอินซูลิน และเพิ่มกรดอะมิโนหรือ เสริมแต่งสายของอินซูลินด้วยกรดไขมัน ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Insulin glargine และ Insulin detemir ยาฉีดอินซูลินสามารถใช้ได้ในทุกกรณีที่มีภาวะน้้าตาลในเลือดสูง โดยอาจมีข้อบ่งชี้เฉพาะ เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ความผิดปกติของตับอ่อน ภาวะกรดคั่งจากคีโตน การตั้งครรภ์ การติด เชื้อรุนแรง การผ่าตัด โรคตับ โรคไต ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงรุนแรง และในกรณีที่ไม่สามารถควบคุม ระดับน้้าตาลในเลือดได้ด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ดลดระดับน้้าตาล ผลข้างเคียงและอาการไม่ พึงประสงค์จากการใช้ยา เช่น ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า การแพ้ยา ตาพร่ามัวมากขึ้น อาการบวม และ น้้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นต้น การพิจารณาเลือกใช้ยา 1. การเลือกใช้ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด การเลือกใช้ยาเม็ดลดระดับน้้าตาลในเลือดกลุ่มใดเป็นยาตัวแรกนั้น จะมีการพิจารณา จากผู้ป่วยว่ามีสาเหตุความผิดปกติมาจากสิ่งใด ส้าหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลไกการเกิดโรคอาจ เกิดจากความบกพร่องของตับอ่อนในการหลั่งอินซูลิน (Insulin defeciency) และ/หรือภาวะดื้อต่อ อินซูลิน (Insulin resistance) ผู้ป่วยเบาหวานที่มีดัชนีมวลกาย (Body mass index) น้อยกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ส่วนใหญ่มักเกิดจากความผิดปกติจากการหลั่งอินซูลิน ยาที่ควรเลือกใช้เป็น อันดับแรกคือยากลุ่มที่กระตุ้นการหลั่งของอินซูลิน เช่น ยากลุ่มซัลโฟนิลยูเรีย ส่วนผู้ป่วยที่มีดัชนีมวล กายมากกว่าหรือเท่ากับ 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หรือมีลักษณะอื่นของ Metabolic syndrome เช่น อ้วนลงพุง, ความดันโลหิตสูง, ปริมาณโคเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นสูง (High density lipoprotein) ต่้า มักเกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน ควรเลือกใช้ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ลดภาวะดื้อต่อ อินซูลินเป็นอันดับแรก เช่น ยากลุ่มไบกัวไนด์ ส้าหรับยากลุ่มที่ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ซึ่ง เป็นยาที่ลดระดับน้้าตาลขณะอดอาหารได้น้อยมาก จึงไม่ควรใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษา ยกเว้นระดับ น้้าตาลขณะอดอาหารไม่เกิน 140 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และยาในกลุ่มออกฤทธิ์เร็วที่ไม่ใช่ซัลโฟนิล ยูเรียนั้น สามารถใช้เป็นยาตัวแรก หรือยาเดี่ยวในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีระดับ น้้าตาลในเลือดหลังอาหารสูง และในผู้ที่รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ส่วนยากลุ่มไธอะโซลิดีนไดโอน มีข้อมูลว่าสามารถใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษาได้ แต่ยามีราคาแพงจึงไม่แนะน้าให้ใช้เป็นยาตัวแรก
  • 7. 2. การเลือกใช้ยาฉีดอินซูลิน การเลือกใช้ยาฉีดอินซูลิน ยาฉีดอินซูลินชนิดที่ออกฤทธิ์สั้น มักใช้ส้าหรับผู้ป่วยที่ต้องฉีด ยาเข้าทางหลอดเลือดด้าหรือชั้นกล้ามเนื้อเพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้เร็วยิ่งขึ้น โดยใช้ในกรณีผู้ที่มีภาวะกรด คั่งจากคีโตน ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงรุนแรง เช่น ระดับน้้าตาลในเลือดขณะอดอาหารมีค่ามากกว่า 300 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และต้องการควบคุมให้ระดับน้้าตาลลดลงอย่างรวดเร็ว ส่วนยาฉีดอินซูลิน ชนิดที่ออกฤทธิ์ปานกลาง มักใช้ในกรณีผู้ป่วยที่อาการเบาหวานไม่รุนแรง เช่น การใช้ยาในผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 1 บางราย หรือการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยการฉีดยาก่อนนอนร่วมกับ การใช้ยาเม็ดลดระดับน้้าตาล หรือในผู้ป่วยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ เป็นต้น อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า (Hypoglycemia) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด มักเป็น ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยจากการใช้ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์กระตุ้นให้ร่างกายหลั่งอินซูลิน ในระยะแรกอาจมี อาการเพียงเล็กน้อย เช่น หิว ใจสั่น กระวนกระวาย เหงื่อออก ซึ่งสามารถดูแลตนเองได้ด้วยการ รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีน้้าตาลที่สามารถดูดซึมได้เร็ว แต่หากปล่อยให้เกิดภาวะน้้าตาลใน เลือดต่้าเป็นเวลานานไม่ได้รับการแก้ไข จะพบอาการที่รุนแรงขึ้นโดยอาจท้าให้เกิดภาวะสับสน เป็น ลม ชัก หมดสติ และน้าไปสู่การเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรทราบและสังเกตอาการที่แสดงถึง ภาวะน้้าตาลในเลือดสูงหรือต่้าอยู่เสมอ เพื่อจะได้ดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมต่อไป อาการคลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง ท้องเสีย เบื่ออาหาร ขมในปาก เป็นผลข้างเคียงจากการใช้ ยาเมทฟอร์มิน สามารถลดอาการดังกล่าวโดยให้รับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหาร ผิวหนังเป็นไตหรือไขมันใต้ผิวหนังฝ่อลงบริเวณที่ฉีดอินซูลิน (Lipodystrophy) เกิดจากการ ฉีดยาบริเวณเดียวกันซ้้า ๆ แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนต้าแหน่งที่ฉีด สรุป จุดมุ่งหมายส้าคัญของการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน คือการควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด ให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด ซึ่งจะส่งผลให้สามารถลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ ยารักษา โรคเบาหวานสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ยาชนิดรับประทานหรือยาเม็ดลดระดับน้้าตาล และยา ชนิดฉีดหรืออินซูลิน กลไกการออกฤทธิ์ที่ส้าคัญของยาชนิดรับประทาน เช่น กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ลดภาวะดื้อต่ออินซูลินหรือท้าให้เนื้อเยื่อไวต่ออินซูลิน และยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ที่ใช้ย่อย คาร์โบไฮเดรต เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรทราบชนิดของยา วิธีการใช้ยา และผลข้างเคียงที่อาจ เกิดขึ้น เพื่อให้การใช้ยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ทั้งนี้ การรักษาโรคเบาหวานที่จะ
  • 8. ได้ผลดี นอกจากการใช้ยาดังกล่าวแล้วผู้ป่วยจ้าเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมโดย การควบคุมอาหาร และการออกก้าลังร่วมด้วย คาถามทบทวน 1. จงอธิบายสาเหตุ การวินิจฉัย และอาการของโรคเบาหวาน 2. ยาที่ใช้ในการรักษาโรคเบาหวานสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง 3. Glipizide มีกลไกการออกฤทธิ์เพื่อลดระดับน้้าตาลในเลือดอย่างไร 4. Insulin มีกลไกการออกฤทธิ์เพื่อลดระดับน้้าตาลในเลือดอย่างไร 5. จงระบุอาการข้างเคียงที่ส้าคัญของการใช้ Insulin พร้อมบอกแนวทางการดูแลตนเอง เอกสารอ้างอิง โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานแห่งชาติ. (2550). 4 Steps to Control Your Diabetes for Life. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : www.ndep.nih.gov [18 ธันวาคม 2556]. ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล. (ม.ป.ป.). ยารักษาโรคเบาหวาน. เอกสารประกอบการสอน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธงชัย ประฏิภาณวัตร. (กรกฎาคม-กันยายน 2554). “การเลือกแนวทางการรักษาโรคเบาหวานใน ภาวะต่าง ๆ.” วารสารอายุรศาสตร์อีสาน. 10 (3) : 19-21. ส้านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2554). แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ้ากัด. เอกลักษณ์ วโนทยาโรจน์. (กรกฎาคม-กันยายน 2554). “แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย เบาหวานด้วยยาซัลโฟนิลยูเรีย.” วารสารอายุรศาสตร์อีสาน. 10 (3) : 12-18.