SlideShare a Scribd company logo
1 of 109
Download to read offline
ระบบประสาท
(Nervous system)

โดย
นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร
ครู ผ้สอน
ู
โรงเรียนเตรีมอุดมศึกษาน้ อมเกล้ า ปทุมธานี
การตอบสนองของสิงมีชีวิตเซลล์เดียว
พารามีเซียม
มีการตอบสนองต่ อสิ งเร้ าโดยใช้ เส้ นใยประสานงาน
(Coordinating fiber)
การตอบสนองของสิงมีชีวิตเซลล์เดียว
ยูกลีนา
 มี Eyespot

ของแสงได้

เปนบริเวณรับแสงและทิศทาง
็
การตอบสนองของสัตว์ทีไม่มีกระด ูกสันหลัง

ไฮดรา
-

-

มีระบบประสาทแบบร่างแห (Nerve net) เกิดจาก
การเชือมโยงของเซลล์ไม่ได้สมผัสติดกัน กระจายอยู่
ั
รอบตัว เมือกระตนจะทําให้ท ุกส่วนของร่างกายหดตัว
ุ้
พบทีผนังลําไส้ของสัตว์ชนสูง ทําหน้าทีควบค ุมการ
ั
เคลือนไหวแบบ เพอริทลซิส (peristalsis) ของ ผนัง
ั
ลําไส้
ระบบประสาทของไฮดรา
(Nerve net)
Nerve net
ระบบประสาทของพลานาเรีย
-

-

มีปมประสาท 2 ปม อยูทีส่วนหัว เรียกว่า
่
ปม
ประสาทสมอง (cerebral ganglion) ทําหน้าทีเปน
็
สมอง
มี eyespot ทางด้านล่างของสมอง
มีเส้นประสาทด้านข้าง (Lateral nerve cords) และ
เส้นประสาทตามขวาง (Transverse nerve cords) มี

ลักษณะคล้ายขันบันได (ladder type)
ระบบประสาทของพลานาเรีย
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน
-

-

มีสมอง (brain) ประกอบด้วยปมประสาท 2 ปม
มักเรียกว่า ปมประสาทซีรบรัล (cerebral ganglion)
ี
มีปมประสาทใต้คอหอย (subpharyngeal ganglion)
และเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
แยกออกจากเส้นประสาทใต้คอหอยไปตลอดความ
ยาวของลําตัว
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน
ระบบประสาทของอาร์โทรพอด
มีสมองเกิดจากปมประสาท 2 ปม รวมกัน มีเส้นประสาทแยกไป
เลียงล ูกตา (optic nerve) 1 ค ู่ และไปเลียงหนวด (antennary
nerve) 1 ค ู่
 มีปมประสาทใต้หลอดอาหาร (subesophageal ganglion) และ
เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord) ยาวตลอด
ความยาวตัว
 ปล้องอกมีปมประสาทอก (thoracic ganglion) 3 ปม และปล้อง
ท้องมีปมประสาทท้อง (abdominal ganglion) 6 ปม

ระบบประสาทของอาร์โทรพอด
ระบบประสาทของเอไคโนเดิรม
์
 มีระบบประสาทแบบวงแหวน (nerve ring)

อยูรอบ
่

ปาก
 มีแขนงประสาทแยกออกไปเลียงแฉก (radial nerve)
ทําหน้าทีรับสัมผัสและประสาทเชือมต่อกัน
 มี eyespot อยูบริเวณปลายส ุดของแฉกท ุกแฉก
่
ทําหน้าทีรับสัมผัสของสารเคมี
ระบบประสาทของดาวทะเล
ระบบประสาทของพวกมอลลัสก์
 มีปมประสาท

3 ปม ได้แก่
- ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) ทําหน้าที
ควบค ุมอวัยวะตอนบน บริเวณปาก และมัด
กล้ามเนือติดเปลือก
- ปมประสาททีอวัยวะภายใน (visceral ganglion)
ทําหน้าทีควบค ุมอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อย
อาหาร ตับ หัวใจ
ระบบประสาทของพวกมอลลัสก์ (ต่อ)
- ปมประสาททีเท้า (pedal ganglion) ทําหน้าที
ควบค ุมการยืดและหดตัวของกล้ามเนือทีเท้า
ระบบประสาทของหอย
ระบบประสาทของหมึก
ระบบประสาทของสิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ
กระบวนการเกิด

neural tube
กระบวนการเกิด neural tube
กระบวนการเกิด neural tube
เซลล์ประสาท (Neuron)
ประกอบด้วย 2 ส่วนสําคัญ คือ
1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body)
- มีร ูปร่างแบบรูปไข่ รูปกลมหรือเหลียม
ขนาดไม่แน่นอน
- มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในมี RER
รวมกันเปนกลมทําให้มองเห็นเปนเม็ดเล็กๆ
็
ุ่
็
เรียกว่า นิสส์บอดี (nissl body) นอกจากนี
ยังพบ ไรโบโซม ไลโซโซม
2. ใยประสาท (cell process or nerve fiber)
ใยประสาทประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
2.1 เดนไดรต์ (dendrite) เปนส่วนของตัวเซลล์ทียืน
็
ออกมา ทําหน้าทีรับกระแสประสาทจากภายนอกเข้าสูตว
่ ั
เซลล์ประสาท ภายในมีนิสส์บอดี (nissl body) และ ไมโท
คอนเดรีย
2.2 แอกซอน (axon) เปนส่วนของเซลล์ประสาททียืน
็
ออกมา ทําหน้าทีส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยัง
อวัยวะตอบสนอง

1 เซลล์จะมีแอกซอนเพียง 1 แขนงเท่านัน
2. ใยประสาท (nerve

fiber) (ต่อ)

- แอกซอนมักถูกหมด้วยเยือไขมันชนิดลิโพโปรตีน
ุ้
(lipoprotein) เรียกว่า เยือไมอีลิน (myelin sheath)
ซึงเป็ นส่วนหนึงของเซลล์ชวันน์ (Schwann cell)
- บริเวณเยือไมอีลินเป็ นส่วนคอด เรียกว่า โนดออฟ
เรนเวียร์ (node of ranvier)
- แอกซอนทีมีเยือไมอีลินหมจะทําให้การส่งกระแส
ุ้
ประสาทมีลกษณะเป็ นช่วงๆ (saltatory conduction)
ั
ลักษณะของเซลล์ประสาท
ภาพแสดงลักษณะทัวไป
ของเซลล์ประสาท
ภาพแสดงลักษณะทัวไปของเซลล์ประสาท
ภาพแสดงลักษณะของ schwann

cell
ภาพแสดงลักษณะการเกิดของ Schwann

cell
ภาพแสดงลักษณะของ Schwann cell
ภาพแสดงทิศทางการเคลือนทีของกระแสประสาท
ลักษณะการเคลือนทีของกระแสประสาท
เซลล์ประสาทแบ่งตามจํานวนแขนงทีแยกออกจาก
ตัวเซลล์ประสาท
แบ่งเปน 3 ชนิด คือ
็

1. เซลล์ประสาทขัวเดียว
(unipolar neuron หรือ pseudounipolar
เปนเซลล์ประสาทรับความรสึก
็
ู้
(sensory neuron) ทีมีสวนทียืนแยก
่
จากตัวเซลล์เพียง 1 เส้น พบได้ที
ปมประสาทด้านหลังของไขสันหลัง
(dorsal root ganglion) ปมประสาท
ของประสาทสมองคที 5
ู่
(trigeminal ganglion )

neuron)
2. เซลล์ประสาทสองขัว (bipolar neuron )
ส่วนใหญ่เป็ นเซลล์ประสาทรับความรสึก
ู้
(sensory neuron) ทีมีสวนทียืนแยกจาก
่
ตัวเซลล์ 2 ข้าง พบได้ที เซลล์ประสาทบริเวณ
เรตินาในดวงตา เซลล์รบกลินในจมูกและ
ั
เซลล์ของหชนใน
ูั
3. เซลล์ประสาทหลายขัว (multipolar

neuron )

เป็ นเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ของร่างกาย
มีเดนไดรต์แยกออกจากตัวเซลล์หลายอันแต่
มีแอกซอนเพียงอันเดียว พบได้ที เซลล์ประสาท
สังการของสมองและไขสันหลัง (motor neuron)
และเซลล์เพอร์คินเจ (Purkinje cell) ในซีรเบลลัม
ี
ส่วนใหญ่เป็ นเซลล์ประสาทสังการและเซลล์ประสาท
ประสานงาน (motor and association neuron)
เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าทีการทํางาน
แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1. เซลล์ประสาทรับความรสึก (sensory neurons)
ู้
เป็ นเซลล์ประสาทนําเข้า (afferent neuron)
ซึงจะนํากระแสประสาทจากตัวรับความรูสึก
้
(receptors) ในผิวหนังและอวัยวะรับความรูสึกไปยัง
้
สมองและไขสันหลัง
2. เซลล์ประสาทสังการ (motor

neurons)

เป็ นเซลล์ประสาทนําออก (efferent neurons)ทีมี
ใยประสาทแอกซอนยาวกว่าเดนไดรต์โดยอาจยาวถึง 1
เมตร มีหน้าทีส่งกระแสประสาทออกจากไขสันหลังไปยัง
หน่วยปฏิบติงาน (effector organs หรือ motor neurons)
ั
ได้แก่ กล้ามเนือแขนขา ทีอยูห่างไกลจากไขสันหลัง
่
3. เซลล์ประสาทประสานงาน (association
neurons หรือ interneurons)

เปนเซลล์ประสาททีอยูในสมองและไขสันหลัง มี
็
่
หน้าทีเชือมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับความรสึก
ู้
และประสาทสังการ
นิวโรเกลียหรือเกลียเซลล์
(neuroglia or glia cell)
ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดได้แก่
1. แอสโตรเกลียหรือแอสโตรไซด์ (astroglia
astrocytes)

เซลล์พวกนีมีร ูปร่างคล้ายดาว
ทําหน้าทีควบค ุมการซึมผ่านเข้าออก
ของสารเคมีต่างๆ จากเส้นเลือดสู่
เนือเยือประสาท (blood–brain barrier)

or
2. โอลิโกเดนโดรเกลีย (oligodendroglia)
เป็ นเซลล์ขนาดเล็กทําหน้าที
สร้างเยือไมอีลินในระบบประสาท
ส่วนกลาง
3. ไมโครเกลีย (microglia)
ทําหน้าทีเก็บกินสิงแปลกปลอม
หรือเซลล์ทีตายแล้ว
4. เซลล์อีเพนไดมอล (ependymal cells)
เป็ นเซลล์ทีคาดทีผนังของช่องว่าง
ในสมอง ทําหน้าทีเกียวกับการสร้างและ
ด ูดซึมนําไขสันหลัง

5. เซลล์ชวันน์ (Schwann cell)
ทําหน้าทีสร้างปลอกหมเยือไมอีลิน
ุ้
ในระบบประสาทรอบนอก
6. เซลล์เซทแทลไลท์ (satellite

cell)

- เป็ นเซลล์ทีอยูรอบๆ เซลล์ประสาทในปมประสาท
่
ของระบบประสาทรอบนอก ทําหน้าทีช่วยปรับสภาพ
องค์ประกอบทางเคมีภายนอกเซลล์
ลักษณะของ Oligodendrocyte
ภาพแสดงลักษณะของนิวโรเกลีย
ภาพแสดงลักษณะของนิวโรเกลีย
การทํางานของเซลล์ประสาท
การเกิดกระแสประสาท
Action potential

การส่งสัญญาณประสาท (nerve signal)
อาศัยการแพร่ของ action potential ซึงเป็ นการ
เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วของ membrane
potential โดยแต่ละ action potential จะ
เกิดขึนตามขันตอนดังนี
1. Resting membrane potenital

- มีการแพร่ของไอออน (K+, Na+) เข้าและออกจากเซลล์ประสาท
ซึงเยือหมเซลล์จะยอมให้ K+ แพร่ได้ง่ายกว่า Na+ ประมาณ
ุ้
50 – 100 เท่า
- เกิดกระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั ม (Na+- K+ pump)
- ในระยะนีผิวด้านนอกจะมี Na+ มากจึงแสดงเปนประจุบวก
็
ส่วนผิวด้านในมี K+ มากแต่แสดงเปนประจุลบ เนืองจาก
็
ภายใน
เซลล์มีโปรตีนทีแสดงประจุส ุทธิเปนลบ
็
- ความต่างศักย์ไฟฟาระหว่างผิวด้านนอกกับด้านในเท่ากับ -60 ถึง
้
-70 mv
2. Depolarization
- มีการเปลียนศักย์ไฟฟาจากค่า resting membrane
้
potential ทีเปนลบ (-70 mV. ใน cell ขนาดใหญ่
็

หรือ -40 ถึง -60 ใน cell ขนาดเล็ก) ให้มีความเปน
็
ลบลดลง (ความเปนบวกเพิมขึน) ซึงเรียกว่า
็
depolarization
-

Na+ รัวเข้ามาภายในเซลล์ ทําให้ผิวด้านในเซลล์มี
ประจุเป็ นบวก และผิวด้านนอกสูญเสีย Na+ ไป จะ

มี
ประจุเป็ นลบ
3. Repolarization

เป็ นการเปลียนศักย์ไฟฟาจาก depolarization
้
ให้กลับเข้าสูค่า resting membrane potential
่
ปกติ โดยภายในเวลา 0.2 m.sec. หลังจาก cell
membrane มีการเปลียนแปลง permeability ต่อ
Na+ แล้วนัน Na+ channel ก็จะปิ ด และมีการเปิ ด
ของ K+ channel มากกว่าปกติ K+ จะถูกปล่อย
ออกมานอก cell ทําให้ภายใน cell กลับเข้าสู่
negative potential ตามปกติจึงเรียกว่า
repolarization
4. Hyperpolarization
hyperpolarization (หรือเดิมเรียกว่า positive

)

after potential เปนภาวะที membrane potential
็

มีความเปนลบเพิมมากขึนจากระยะพัก ซึงเกิดจาก K+
็
channel ปดอย่างช้าๆ หรือบาง channel ยังคงเปดอยู่ ทํา
ิ
ิ
ให้มีการรัวไหลของ K+ ออกมานอก cell หลังจากช่วง
repolarization
Hyperpolarization

กราฟแสดงการส่งกระแสประสาท
ร ูปแสดงกลไกการส่งกระแสประสาท
ไซแนปส์ (Synapse)
การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่าง
เซลล์ประสาทด้วยกัน หรือเซลล์ประสาท
กับหน่วยปฏิบติการ
ั
 เซลล์ทีทําหน้าทีส่งสัญญาณ เรียกว่า
presynaptic cell
 เซลล์ทีทําหน้าทีรับสัญญาณ เรียกว่า
postsynaptic cell

ไซแนปส์ (Synapse)
ไซแนปส์ทีพบโดยทัวไปมี 2 ประเภท คือ
1.

Electrical synapse
- เปนไซแนปส์ทีทําให้แอกชันโพเทนเชียลเดินทางจาก
็
presynaptic cell ไปยัง postsynaptic
cell โดยผ่านทาง gap junction
- ประโยชน์ คือ การส่งกระแสประสาทจะไม่มีการเสียเวลา
ในการส่งผ่านระหว่างเซลล์ ไม่มีการสูญเสียความแรงของ
สัญญาณ
- พบในระบบประสาทส่วนกลางมักเกียวกับกิจกรรมที
อาศัยความพร้อมเพรียงในการทํางาน การเคลือนไหวทีมี
แบบแผนเฉพาะตัว เช่น การบีบตัวของกล้ามเนือหัวใจ การ
เคลือนไหวของลําไส้
Electrical synapse
2. Chemical synapse
 บริเวณของ Chemical synapse จะมีช่องว่าง

เรียกว่า synaptic cleft แยก presynaptic cell

ออกจาก postsynaptic

cell

 บริเวณปลายแอกซอนจะโปงออก ภายในไซโทพลา
่

ซึมจะมีโครงสร้างเปนถ ุงจํานวนมาก เรียกว่า
็
synaptic vesicles
ภายในบรรจุสารเคมีทีเรียกว่า สารสือประสาท
(neurotransmitter) เปนสารทีหลังเข้าสู่
็
synaptic clef ทําหน้าทีสือสาร พบในสัตว์
ทัวไป
- สารสือประสาททีถ ูกหลังเข้าสู่ synaptic clef
จะถ ูกทําให้หมดฤทธิ โดยเอนไซม์ทีย่อยสารสือ
ประสาท หรืออาจถ ูกด ูดกลับเข้าสู่ presynaptic
terminal เพือนํากลับมาใช้ใหม่ เช่น
Acetylcholine จะถ ูกย่อยโดย
cholinestrease ให้กลายเปน choline และ
็
acetic acid
กลไกการเกิดไซแนปส์ (Synapse)
กลไกการเกิดไซแนปส์ (Synapse)
กลไกการเกิดไซแนปส์ (Synapse)
สมองและไขสันหลัง
(Brain and Spinal cord)
วิวฒนาการ
ั
ของสมอง
วิวฒนาการ
ั
ของสมอง
วิวฒนาการ
ั
ของสมอง
เยือหุ้มสมองและไขสั นหลัง (meninges)
มี 3 ชัน คือ
1. เยือหุ้มสมองชันนอก (dura mater)
เป็ นเยือทีหนาและทนทาน ใกล้กบกะโหลกศีรษะมากทีสุ ด
ั
ภายในมีหลอดเลือดขนาดใหญ่ซึงแตกแขนงออกเป็ น
หลอดเลือดฝอยในเยือเพีย เยือดูราอาจถูกล้อมรอบและ
คําจุนไปด้ วยช่ องเลือดดําขนาดใหญ่ (venous channels)
เรียกว่า dural sinuse ทําหน้ าทีขนส่ งเลือดจากสมอง
ไปยังหัวใจ
2. เยือหุ้มสมองชันกลาง (arachnoid mater)
ทําหน้ าทีกันการกระทบกระเทือนต่ อระบบประสาทกลาง
เยืออะแร็กนอยด์ มลกษณะบาง ใส เชือว่ านําซึมผ่ านไม่ ได้
ีั
ในบริเวณของสมองจะมีเส้ นใยจํานวนมาก เรียกว่ า
อะแร็กนอยด์ ทราบีคูลาร์ (arachnoid trabeculae) ทีผ่ าน
ชันอะแร็กนอยด์ ไปยังช่ องว่ างใต้ เยืออะแร็กนอยด์
(subarachnoid space) เพือเชือมกับเนือเยือของเยือเพีย
เยืออะแร็กนอยด์ และเยือเพียอาจเรียกรวมกันว่ า
"เลปโตเมนิงซ์ " (leptomeninges)
3. เยือเพียหรือเยือหุ้มสมองชันใน (pia mater)
เป็ นเยือทีอยู่ชิดกับสมองและไขสันหลังมากทีสุ ด แนบ
ไปกับกลีบ (gyrus) และร่ อง (sulcus) ของสมอง
ประกอบด้ วยเนือเยือเส้ นใย (fibrous tissue) ทีถูกปกคลุม
ด้ วยแผ่นของเซลล์แบน ๆ นําซึมผ่านไม่ ได้
เยือเพียจะมีหลอดเลือดและหลอดเลือดฝอยที
ทําหน้ าทีเลียงสมอง
ช่ องว่ าง
ช่องว่างใต้เยืออะแร็กนอยด์ (subarachnoid space)
เป็ นช่องว่างทีอยูระหว่างเยืออะแร็กนอยด์และเยือเพีย
่
ภายในมีนาหล่อเลียงสมองไขสันหลัง
ํ
(cerebrospinal fluid , CSF)
เยือหุ้มสมองและไขสั นหลัง (meninges)
เยือหุ้มสมองและไขสั นหลัง (meninges)
เยือหุ้มสมองชันนอก
(dura mater)
ระบบประสาทของสั ตว์ ทีมีกระดูกสั นหลัง
แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน ตามตําแหน่ งทีอยู่ คือ
1. ระบบประสาทส่ วนกลาง ได้ แก่
สมอง (brain)
ไขสั นหลัง (Spinal cord)
2. ระบบประสาทส่ วนปลาย
เส้ นประสาทสมอง 12 คู่ (cranial nerve = CN)
เส้ นประสาทไขสั นหลัง 31 คู่ (spinal nerve)
ปมประสาท (ganglia)
ชีววิทยา (424111) อ.เยาวลักษณ์ น่วมธนัง
ระบบประสาทแบ่ งตามหน้ าที แบ่ งได้ 2 ประเภท คือ
 ระบบประสาทโซมาติก

 ระบบประสาทอัตโนวัติ

ส่ วนประกอบของสมอง
สมองใหญ่ (cerebrum) แบ่ งออกเป็ น 2 ซีก แต่ ละซีกเรียกว่ า
cerebral hemisphere
สมองแต่ ละซีกแบ่ งออกเป็ น 2 ชัน
 ชันนอก (cerebral cortex) เรียกอีกชือว่ า gray matter
 ชันใน (cerebral medulla) เรียกอีกชือว่ า white matter
โครงสร้ างภายในของสมอง
บนสมองมี gyrus มากมาย มี 2 ร่ อง ซึงแบ่ ง
สมองทางด้ านข้ างออกเป็ น 4 lobe มี sulcus อยู่
ระหว่ าง gyrus เมือมองสมองทางด้ านข้ างจะเห็นเป็ น
4 lobe คือ

1. frontal lobe

2. parietal lobe
3. temporal lobe
4. occipital lobe
ซีรีบรัม
เป็ นส่ วนของสมองทีอยู่หน้ าสุ ด
และมีขนาดโตทีสุ ด ผิวด้ านนอก
มีรอยหยักเป็ นร่ อง เรียกว่ า
คลืนสมอง (convolution)
1. ฟรอนทัลโลบ (frontal lobe)
ทําหน้ าทีเกียวกับความจํา ความคิด
และทําให้ เกิดความฉลาดของสิ งมีชีวต
ิ
แต่ ละชนิดเป็ นศูนย์ ควบคุมการทํางาน
ของกล้ ามเนือ
2. เทมเพอรัลโลบ (temporal lobe)
ทําหน้ าทีเกียวกับการดมกลิน
การได้ ยน การพูด การเข้ าใจคําพูด
ิ
และความเข้ าใจเกียวกับการอ่ าน
3. พาเรียทัลโลบ (parietal lobe)

ทําหน้ าทีเกียวกับการรู้ สึกตัว
การเขียน และศูนย์ ควบคุมการรับรู้
ประสาทสั มผัส (sensory area)
4. ออกซิพทัลโลบ (occipital lobe)
ิ

ทําหน้ าทีเกียวกับการมองเห็น
สรุปส่ วนประกอบของสมองส่ วนซีรีบรัม
ฟรอนทัลโลบ
(frontal lobe)
เทมเพอรัลโลบ
(temporal lobe)

พาเรียทัลโลบ
(parietal lobe)
ออกซิพทลโลบ
ิ ั
(occipital lobe)
ทาลามัส

ทําหน้ าทีเป็ นศูนย์ กลางการถ่ ายทอด
ความรู้ สึกไปยังสมองส่ วนต่ าง ๆ เป็ น
Relay stations
ไฮโพทาลามัส
ทําหน้ าทีเป็ นควบคุมการเต้ นของหัวใจ
ความดันเลือด การนอนหลับ อุณหภูมิ
ของร่ างกาย การกินและอารมณ์ ต่าง ๆ
ควบคุมการหลังฮอร์ โมน ADH
เนืองจากมี neurosecretory cell
ออลแฟคทอรี บัลล์ (Olfactory bulb)
เป็ นศูนย์ กลางการรับกลิน เจริญดีใน
ปลา ในสั ตว์ เลียงลูกด้ วยนํานมไม่ เจริญ
เนืองจากศูนย์ กลางการรับกลินอยู่ที
ซีรีบรัม
ออลแฟคทอรี บัลล์
(Olfactory bulb)
สมองส่ วนกลาง
สมองส่ วนกลางจะมีออปติกโลบ
(optic lobe) มีหน้ าทีเกียวข้ องกับการ
ควบคุมการเคลือนไหวของนัยน์ ตา
ทําให้ ลูกนัยน์ ตากลอกไปมาได้ และ
ควบคุมการปิ ดเปิ ดของม่ านตาในเวลา
ทีมีแสงสว่างเข้ ามามากหรือน้ อย
สมองส่ วนท้ าย
ประกอบด้ วย 3 ส่ วนคือ
1. ซีรีเบลรัม (cerebellum)
2. พอนส์ (pons)
3. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
1. ซีรีเบลรัม (cerebellum)
ควบคุมและประสานงานของ
การเคลือนไหวของร่ างกายให้ เป็ นไป
อย่ างราบรืน สละสลวยและเทียงตรง
สามารถทํางานทีต้ องการความ
ละเอียดอ่ อนได้ รวมถึงควบคุม
การทรงตัวของร่ างกาย
2. พอนส์ (pons)
ควบคุมการเคียวการหลังนําลาย
การเคลือนไหวบริเวณใบหน้ า ควบคุม
การหายใจ เป็ นทางผ่านของกระแสประสาท
ระหว่างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัมและระหว่าง
เซรีเบลลัมกับไขสันหลัง
3. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
เป็ นศู นย์ ควบคุมการทํางานของระบบ
ประสาทอัตโนวัตต่างๆ เช่ น การเต้ นของหัวใจ
ิ
การหายใจ การหมุนเวียนเลือด ความดันเลือด
การเคลือนไหวของกล้ามเนือลําไส้ และเป็ น
ศู นย์ ปฏิกริยาสะท้ อนกลับบางอย่ าง เช่ น การไอ
ิ
การจาม การอาเจียน การกลืน
เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve)
ไขสันหลัง
Spinal nerve
โครงสร้าง
ของ
ไขสันหลัง

More Related Content

What's hot

บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยาโจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยาKrupol Phato
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 

What's hot (20)

การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยาโจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
โจทย์รายมาตรฐาน ชีววิทยา
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 

Viewers also liked

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (19)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar to Nervous system

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาทWichai Likitponrak
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 

Similar to Nervous system (20)

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 

More from Bios Logos

Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Bios Logos
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12Bios Logos
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1Bios Logos
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15Bios Logos
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14Bios Logos
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13Bios Logos
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11Bios Logos
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10Bios Logos
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8Bios Logos
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6Bios Logos
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5Bios Logos
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1Bios Logos
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลBios Logos
 

More from Bios Logos (20)

Movement
MovementMovement
Movement
 
Keygatpat1 53
Keygatpat1 53Keygatpat1 53
Keygatpat1 53
 
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
Pat2ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
 
Biology bio12
 Biology bio12 Biology bio12
Biology bio12
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Ig biology bio1
Ig biology bio1Ig biology bio1
Ig biology bio1
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
 
Biology bio14
 Biology bio14 Biology bio14
Biology bio14
 
Biology bio13
 Biology bio13 Biology bio13
Biology bio13
 
Biology bio11
 Biology bio11 Biology bio11
Biology bio11
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 

Nervous system