SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ระบบประสาทรอบนอก
 Peripheral nervous system



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
เส้นประสาทสมองของคน

                      สมองทุกส่วนมี
                      เส้นประสาทสมองแยก
                      ออกมาเป็นคู่ๆ เพื่อรับ
                      สัญญานความรู้สึก และ
                      ออกคาสั่งควบคุมหน่วย
                      ปฏิบัติงานดังภาพ
                                  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
คาถามน่าคิด.......

- เส้นประสาทสมองคู่ใดบ้างเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึก           คู่ที่ 1 ,2 และ 8

- คูใดบ้างเป็นเส้นประสาทสั่งการ
    ่                                 คู่ที่ 3 , 4 , 6 , 11 และ 12

- คูใดบ้างเป็นเส้นประสาทผสม
    ่                                คู่ที่ 5 7 9 และ 10

- ขณะที่อ่านหนังสือเส้นประสาทคู่ใดที่ทางานเกี่ยวข้องโดยตรง      คู่ที่ 2, 3, 4และ 6

- การรับรูรสอาหารเป็นหน้าที่ของเส้นประสาทสมองคู่ใด
          ้                                                  คู่ที่ 7 และ 9
                                                                      ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เส้นประสาทไขสันหลัง
            ไขสันหลังประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ
บริเวณเนื้อสีเทามีตัวเซลล์ประสาทหนาแน่น ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยเนื้อสีขาว
ซึ่งเป็นบริเวณที่มีใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตรงกลางของไขสันหลัง
บรรจุอยู่




                                   ภาพโครงสร้างภาคตัดขวางของไขสันหลัง   ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ไขสันหลัง (spinal cord) เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจาก
เมดัลลาออบลองกาตาอยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรก
จนถึงกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2 และมีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง
    ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไป
แล้ว จะเรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลัง
และเจาะน้าบริเวณไขสันหลังจึงทากันต่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา
           เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป็นเส้นประสาทผสม
(mixed never)

                                                                            ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่

เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่
เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่
เส้นประสาทบริเวณอว (lumbar never) 5 คู่
เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ(sacral never)5 คู่
เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal never) 1 คู่

                                    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เนื้อสีเทาของไขสันหลัง ซึ่งมีลักษณะคล้ายอักษร H หรือปีกผีเสื้อ
ซึ่งมีด้วยกัน 4 ปีก 2 ปีกบนเรียกว่า ดอร์ซลฮอร์น (dorsal horn)
                                          ั
2 ปีกล่างเรียกว่า เวนทรัลฮอร์น (ventral horn) เส้นประสาทที่
แยกออกมาจากไขสันหลังเรียกว่า เส้นประสาทไขสันหลัง

 เส้นประสาทไขสันหลังส่วนที่อยู่ใกล้กับไขสันหลัง จะแยกเป็นรากบน (dorsal
root) ซึ่งมีปมประสาทอยู่ด้วย ส่วนรากล่าง(Ventral root) ไม่มีปมประสาท อยู่ต่อ
กับเวนทรัลฮอร์น


                                                                    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เนือสีเทา (gray matter)
     ้
       อยู่ทางด้านใน มีลักษณะเป็นรูปผีเสื้อเป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทและ
ใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ส่วนตรงกลางของไขสันหลัง บริเวณเนื้อสีเทาจะมี
ช่องในไขสันหลัง เรียกว่า ช่องกลวงตรงกลางไขสันหลัง (central
canal) เป็นที่อยู่ของ น้าเลียงสมองและไขสันหลัง (cerebo-spinal fluid)
                            ้



                                                                  ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ส่วนของไขสันหลังสีเทาที่ยื่นไปข้างหลัง เรียกว่า ปีกบน
(posterior gray horn) จะมีแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
จากอวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ เข้าสู่ปีกบนทาง รากบน (dorsal
root) ของเส้นประสาทไขสันหลัง

    ส่วนไขสันหลังสีเทาที่ยื่นออกมาข้างหน้าเรียกว่า ปีกล่าง(anterior gray horn)
เป็นที่อยู่ของ เซลล์ประสาทสังการ (motor neuron ) นากระแสประสาทออกทาง
                              ่
รากล่าง (ventral root) ของเส้นประสาทไขสันหลัง


                                                                       ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เนือสีขาว (white matter )
       ้
                  เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอก เป็นพวกใยประสาทที่
    มีเยื่อไมอีลินหุ้มอยู่หนาแน่น จึงมีสีขาวทาหน้าที่เป็น
    ทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างไขสันสันหลังกับ
    สมอง กลุ่มเส้นประสาทแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
         1. กลุ่มเส้นประสาทนากระแสประสาทเข้าสู่
    สมอง (ascending tract )
    2. กลุ่มเส้นประสาทสั่งการจากสมองผ่านไขสันหลังไปยัง
    อวัยวะตอบสนองต่าง ๆ (descending tract )
                                                      http://www.atlantainjurylawblog.com/spinal-cord-injury-spinal-cord-
                                                      injury-trials-and-explanation-of-muscle-spasticity.html
                                                      http://www.prokop.co.uk/Research/LAYMAN/4-reflex-circuit.html
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
นักเรียนศึกษาภาพที่ 8-24 การทดลองส่งกระแสประสาทของเส้นประสาทไขสัน
หลังของกบ (แบบเรียนสสวท. ชีววิทยา เล่ม 3 หน้า 47 )
ก.เส้นประสาทไขสันหลังที่ไปยังขากบ
ข.ตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลังระหว่างจุด 1 กับ 2
ค.ตัดรากบนของเส้นประสาทไขสันหลังระหว่างจุด 3 กับ 4



                                                              ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
เอาเข็มแทงขาหลัง = กบหดขาหนี
                                   เอาเข็มแทงขาหลัง = กบไม่หดขาหนี
                                   เอาเข็มแทงจุดที่ 2 = กบหดขาหนี

 เอาเข็มแทงขาหลัง = กบไม่หดขาหนี
 เอาเข็มแทงจุดที่ 3 = กบหดขาหนี                    ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
-นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ อย่างไร
 1) เมื่อใช้เข็มแทงที่ขาหลังกบ ปรากฏว่ากบหดขาหนี แสดงว่า กบสามารถที่จะรับความรู้สึกที่ถูกเข็มแทง
 และตอบสนองความรู้สึกได้ การตอบสนองนีไม่ต้องผ่านการควบคุมจากสมอง
                                            ้
2) เมื่อตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลัง แล้วเอาเข็มแทงที่ขาหลัง ปรากฏว่า กบไม่หดขาหนี แต่ถ้าเอาเข็มเขี่ยที่ปลายรากส่วน
ตรงจุดที่ถูกตัด(จุดที่ 2)ปรากฏว่ากบกระตุกขาได้ แสดงว่ารากล่างมีหน้าทีนากระแสประสาทจากไขสันหลังแล้วส่งไปยังหน่วย
                                                                     ่
ปฏิบัติงาน คือ บริเวณที่มีการตอบสนอง

3) เมื่อตัดรากบนของเส้นประสาทไขสันหลัง แล้วเอาเข็มแทงขาหลังพบว่ากบไม่กระตุกขา แต่เมื่อเอาเข็มแทงตรงจุดที่ถูกตัด(จุดที่ 3)
ปรากฏว่ากบกระตุกขาได้ แสดงว่ารากบนมีหน้าที่นากระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกเข้าสู่ไขสันหลัง

       4) เมื่อใช้เข็มแทง (สิ่งเร้า) ที่ผิวหนังขากบ (หน่วยรับความรู้สึก) จะเกิดกระแสประสาทเคลื่อนทีไปยังรากบนเข้าสู่ไขสันหลัง
                                                                                                   ่
แล้วผ่านรากล่างไปยังเส้นประสาทไขสันหลังและกระตุนกล้ามเนื้อขากบซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้หดตัว ทาให้กบหดขาหนี
                                                      ้

                                                                                                         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเข้าและออกจากไขสันหลัง
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
กลุมเส้นประสาทนากระแสประสาทเข้าสูสมอง (ascending tract )
     ่                                  ่
       แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ เช่น นากระแสประสาทจากกล้ามเนื้อเข้าสู่ไขสันหลังและสมองนากระแส
ประสาท รับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส ความดัน ไปสู่สมองส่วนที่ทาหน้าที่นั้นๆ นากระแสประสาท
เกี่ยวกับความรู้สึกเจ็บและอุณหภูมิจากอวัยวะ รับสัมผัสต่าง ๆ เข้าสู่สมอง

กลุมเส้นประสาทสังการจากสมองผ่านไขสันหลังไปยังอวัยวะตอบสนองต่างๆ (descending tract )
   ่               ่
ได้แก่ กลุ่มเส้นประสาทที่นาคาสั่งจากสมองโดยเฉพาะจากซีรีบัลคอร์เทกซ์(cerebral cortex) ลงมาตาม
ไขสันหลังไปสู่กล้ามเนื้อมัดต่าง ๆ ซึ่งอยู่ในอานาจจิตใจ (voluntary muscle ) ทั่วร่างกาย

    เส้นประสาทไขสันหลังแต่ละเส้นประกอบด้วยมัดเส้นใยประสาทหลาย ๆ มัด และมัดเส้นใยประสาท
ประกอบด้วยใยประสาทจานวนมาก
    มัดเส้นใยประสาทมีทั้งเส้นใย ประสาทสั่งการและใยประสาทรับความรู้สึก ดั้งนั้น
เส้นประสาทไขสันหลังจึงเป็นเส้นประสาทผสม (mixed nerve) ทั้งหมด
                                                                               ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
The End………
      …….สวัสดี.......

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

Viewers also liked

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
Wan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
bosston Duangtip
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Wan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
Wan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

หู
หูหู
หู
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 

Similar to ไขสันหลัง

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
auttapornkotsuk
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 

Similar to ไขสันหลัง (20)

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 

More from Wan Ngamwongwan

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

ไขสันหลัง

  • 1. ระบบประสาทรอบนอก Peripheral nervous system ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. เส้นประสาทสมองของคน สมองทุกส่วนมี เส้นประสาทสมองแยก ออกมาเป็นคู่ๆ เพื่อรับ สัญญานความรู้สึก และ ออกคาสั่งควบคุมหน่วย ปฏิบัติงานดังภาพ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. คาถามน่าคิด....... - เส้นประสาทสมองคู่ใดบ้างเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึก คู่ที่ 1 ,2 และ 8 - คูใดบ้างเป็นเส้นประสาทสั่งการ ่ คู่ที่ 3 , 4 , 6 , 11 และ 12 - คูใดบ้างเป็นเส้นประสาทผสม ่ คู่ที่ 5 7 9 และ 10 - ขณะที่อ่านหนังสือเส้นประสาทคู่ใดที่ทางานเกี่ยวข้องโดยตรง คู่ที่ 2, 3, 4และ 6 - การรับรูรสอาหารเป็นหน้าที่ของเส้นประสาทสมองคู่ใด ้ คู่ที่ 7 และ 9 ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. เส้นประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ บริเวณเนื้อสีเทามีตัวเซลล์ประสาทหนาแน่น ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยเนื้อสีขาว ซึ่งเป็นบริเวณที่มีใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตรงกลางของไขสันหลัง บรรจุอยู่ ภาพโครงสร้างภาคตัดขวางของไขสันหลัง ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. ไขสันหลัง (spinal cord) เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจาก เมดัลลาออบลองกาตาอยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรก จนถึงกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2 และมีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไป แล้ว จะเรียวเล็กจนมีลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่บริเวณไขสันหลัง และเจาะน้าบริเวณไขสันหลังจึงทากันต่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป็นเส้นประสาทผสม (mixed never) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่ เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่ เส้นประสาทบริเวณอว (lumbar never) 5 คู่ เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ(sacral never)5 คู่ เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal never) 1 คู่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. เนื้อสีเทาของไขสันหลัง ซึ่งมีลักษณะคล้ายอักษร H หรือปีกผีเสื้อ ซึ่งมีด้วยกัน 4 ปีก 2 ปีกบนเรียกว่า ดอร์ซลฮอร์น (dorsal horn) ั 2 ปีกล่างเรียกว่า เวนทรัลฮอร์น (ventral horn) เส้นประสาทที่ แยกออกมาจากไขสันหลังเรียกว่า เส้นประสาทไขสันหลัง เส้นประสาทไขสันหลังส่วนที่อยู่ใกล้กับไขสันหลัง จะแยกเป็นรากบน (dorsal root) ซึ่งมีปมประสาทอยู่ด้วย ส่วนรากล่าง(Ventral root) ไม่มีปมประสาท อยู่ต่อ กับเวนทรัลฮอร์น ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. เนือสีเทา (gray matter) ้ อยู่ทางด้านใน มีลักษณะเป็นรูปผีเสื้อเป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทและ ใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ส่วนตรงกลางของไขสันหลัง บริเวณเนื้อสีเทาจะมี ช่องในไขสันหลัง เรียกว่า ช่องกลวงตรงกลางไขสันหลัง (central canal) เป็นที่อยู่ของ น้าเลียงสมองและไขสันหลัง (cerebo-spinal fluid) ้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 9. ส่วนของไขสันหลังสีเทาที่ยื่นไปข้างหลัง เรียกว่า ปีกบน (posterior gray horn) จะมีแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก จากอวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ เข้าสู่ปีกบนทาง รากบน (dorsal root) ของเส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนไขสันหลังสีเทาที่ยื่นออกมาข้างหน้าเรียกว่า ปีกล่าง(anterior gray horn) เป็นที่อยู่ของ เซลล์ประสาทสังการ (motor neuron ) นากระแสประสาทออกทาง ่ รากล่าง (ventral root) ของเส้นประสาทไขสันหลัง ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. เนือสีขาว (white matter ) ้ เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอก เป็นพวกใยประสาทที่ มีเยื่อไมอีลินหุ้มอยู่หนาแน่น จึงมีสีขาวทาหน้าที่เป็น ทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างไขสันสันหลังกับ สมอง กลุ่มเส้นประสาทแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. กลุ่มเส้นประสาทนากระแสประสาทเข้าสู่ สมอง (ascending tract ) 2. กลุ่มเส้นประสาทสั่งการจากสมองผ่านไขสันหลังไปยัง อวัยวะตอบสนองต่าง ๆ (descending tract ) http://www.atlantainjurylawblog.com/spinal-cord-injury-spinal-cord- injury-trials-and-explanation-of-muscle-spasticity.html http://www.prokop.co.uk/Research/LAYMAN/4-reflex-circuit.html ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. นักเรียนศึกษาภาพที่ 8-24 การทดลองส่งกระแสประสาทของเส้นประสาทไขสัน หลังของกบ (แบบเรียนสสวท. ชีววิทยา เล่ม 3 หน้า 47 ) ก.เส้นประสาทไขสันหลังที่ไปยังขากบ ข.ตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลังระหว่างจุด 1 กับ 2 ค.ตัดรากบนของเส้นประสาทไขสันหลังระหว่างจุด 3 กับ 4 ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. เอาเข็มแทงขาหลัง = กบหดขาหนี เอาเข็มแทงขาหลัง = กบไม่หดขาหนี เอาเข็มแทงจุดที่ 2 = กบหดขาหนี เอาเข็มแทงขาหลัง = กบไม่หดขาหนี เอาเข็มแทงจุดที่ 3 = กบหดขาหนี ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. -นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ อย่างไร 1) เมื่อใช้เข็มแทงที่ขาหลังกบ ปรากฏว่ากบหดขาหนี แสดงว่า กบสามารถที่จะรับความรู้สึกที่ถูกเข็มแทง และตอบสนองความรู้สึกได้ การตอบสนองนีไม่ต้องผ่านการควบคุมจากสมอง ้ 2) เมื่อตัดรากล่างของเส้นประสาทไขสันหลัง แล้วเอาเข็มแทงที่ขาหลัง ปรากฏว่า กบไม่หดขาหนี แต่ถ้าเอาเข็มเขี่ยที่ปลายรากส่วน ตรงจุดที่ถูกตัด(จุดที่ 2)ปรากฏว่ากบกระตุกขาได้ แสดงว่ารากล่างมีหน้าทีนากระแสประสาทจากไขสันหลังแล้วส่งไปยังหน่วย ่ ปฏิบัติงาน คือ บริเวณที่มีการตอบสนอง 3) เมื่อตัดรากบนของเส้นประสาทไขสันหลัง แล้วเอาเข็มแทงขาหลังพบว่ากบไม่กระตุกขา แต่เมื่อเอาเข็มแทงตรงจุดที่ถูกตัด(จุดที่ 3) ปรากฏว่ากบกระตุกขาได้ แสดงว่ารากบนมีหน้าที่นากระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกเข้าสู่ไขสันหลัง 4) เมื่อใช้เข็มแทง (สิ่งเร้า) ที่ผิวหนังขากบ (หน่วยรับความรู้สึก) จะเกิดกระแสประสาทเคลื่อนทีไปยังรากบนเข้าสู่ไขสันหลัง ่ แล้วผ่านรากล่างไปยังเส้นประสาทไขสันหลังและกระตุนกล้ามเนื้อขากบซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานให้หดตัว ทาให้กบหดขาหนี ้ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. กลุมเส้นประสาทนากระแสประสาทเข้าสูสมอง (ascending tract ) ่ ่ แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ เช่น นากระแสประสาทจากกล้ามเนื้อเข้าสู่ไขสันหลังและสมองนากระแส ประสาท รับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส ความดัน ไปสู่สมองส่วนที่ทาหน้าที่นั้นๆ นากระแสประสาท เกี่ยวกับความรู้สึกเจ็บและอุณหภูมิจากอวัยวะ รับสัมผัสต่าง ๆ เข้าสู่สมอง กลุมเส้นประสาทสังการจากสมองผ่านไขสันหลังไปยังอวัยวะตอบสนองต่างๆ (descending tract ) ่ ่ ได้แก่ กลุ่มเส้นประสาทที่นาคาสั่งจากสมองโดยเฉพาะจากซีรีบัลคอร์เทกซ์(cerebral cortex) ลงมาตาม ไขสันหลังไปสู่กล้ามเนื้อมัดต่าง ๆ ซึ่งอยู่ในอานาจจิตใจ (voluntary muscle ) ทั่วร่างกาย เส้นประสาทไขสันหลังแต่ละเส้นประกอบด้วยมัดเส้นใยประสาทหลาย ๆ มัด และมัดเส้นใยประสาท ประกอบด้วยใยประสาทจานวนมาก มัดเส้นใยประสาทมีทั้งเส้นใย ประสาทสั่งการและใยประสาทรับความรู้สึก ดั้งนั้น เส้นประสาทไขสันหลังจึงเป็นเส้นประสาทผสม (mixed nerve) ทั้งหมด ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. The End……… …….สวัสดี....... ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี