SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์
การทางานของเซลล์ประสาท
การทางานของเซลล์ประสาท
 เอ.แอล ฮอดจ์กิน(A.L.Hodgkin)และ เอ.
เอฟ.(A.F.Huxley) ใช้ ไมโครอิเล็กโทรดเข้า
สอดปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทของหมึก
ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งต่ออยู่กับเครื่องวัดความ
ต่างศักย์ไฟฟ้า ส่วนขั้วของไมโครอิเล็กโทรด
แตะอยู่ที่ผิวของแอกซอน
membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความ
แตกต่างของอิออน ภายใน-นอกเซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติ
มีค่า= -50 ถึง -80
membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยังไม่ถูกกระตุ้น
เรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ -65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้น
เรียกว่า action potential จะมีค่าเป็นบวก +65 มิลลิโวลต์
action potential : การเปลี่ยนแปลง membrane potential
อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้
เกิด depolarization จนถึงระดับthreshold potential
threshold potential
• หมายถึง ระดับของการกระตุ้นที่สามารถทาให้เกิดกระแสประสาทใน
เซลล์ประสาท ความแรงของการกระตุ้นที่สูงกว่าระดับเทรสโฮลต์ มิได้
ทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ได้เร็วแต่อย่างใด
all-or-none
• หมายถึง ถ้ากระตุ้นแรงเพียงพอ ก็จะเกิดการนากระแสประสาทไปโดย
ตลอด แต่ถ้าไม่แรงถึงระดับขีดเริ่มก็จะไม่มีการนากระแสประสาท
เกิดขึ้นเลย
การทางานของเซลล์ประสาท
มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
และโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอก แต่อัตราการแพร่
ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium
pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอกและโพแทสเซียม
จากภายนอกเข้าสู่ภายใน
แผนภูมิวงจรระยะการทางานของเซลล์ประสาท
Polarization
DepolarizationRepolarization
แผนภูมิการทางานของกระแสประสาท
Polarization
 มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
และโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอกแต่อัตราการแพร่
ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
 มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ตคือsodium-potassium
pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอกและ
โพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
 ช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามา
ภายในเซลล์มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุที่ผิวด้าน
นอกเป็นลบ ประจุด้านในเป็นบวก
 การเปลี่ยนแปลงของประจุที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นผลทาให้เกิด
แอกชันโพเทลเชียล หรือ กระแสประสาทขึ้นกระแส
ประสาทส่งไปด้วยความเร็วไม่เกิน 1,000 ครั้ง/วินาที
Depolarization
 มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่
จากภายในออกสู่ภายนอก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ด้านนอกจะเกิด
การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า ทาให้ภายนอกเซลล์
เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกและภายในเซลล์
เปลี่ยนเป็นประจุลบ
Repolarization
ระยะคืนกลับสู่ระยะพัก
• มีกระบวนการแอก
ทีฟทรานสปอร์ต คือ
sodium-potassium
pump ของโซเดียมจาก
ภายในออกสู่ภายนอก
และโพแทสเซียมจาก
ภายนอกเข้าสู่ภายใน
ในอัตราส่วน 3Na+ :
2K+ ต่อ 1 ATP
Na+ แพร่เข้าไปในเซลล์
ช่องโซเดียมเปิด
K+ แพร่ออกนอกเซลล์
ช่องโพแทสเซียมเปิด
แผนภาพสรุป
Synapse
หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท
ด้วยกัน หรือเซลล์ประสาทกับหน่วยปฏิบัติงาน
synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon
ทาหน้าที่หลั่งสารneurotransmitter(สารสื่อประสาท)
 synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์
เป้าหมาย(neuron/effector)
 เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell
 เซลล์เป้าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อ
neurotransmitterของ presynaptic cell)
Synaptic terminal
Synapse
หน้าที่ของซิแนปส์
กระแสประสาทเดินทางเป็นทิศทางเดียวเท่านั้น ไม่ยุ่งเหยิง
สับสน
ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจาย
กระแสประสาทออกทาให้คาสั่งนั้นแผ่กระจายกว้างขวาง
มากขึ้น
ทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆมีทั้งเร่งการ
ทางานหรือรั่งการทางาน ให้มีการตอบสนองที่แน่นอน
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ซิแนปส์มี 2 ประเภท
ไซแนปส์ไฟฟ้า(electeical synapse) เป็นบริเวณ
หรือช่องไซแนปส์ที่มีขนาดเล็กมาก กระแสประสาท
สามารถผ่านข้ามไปได้โดยตรงโดยไฒ๋จาเป็นต้อง
อาศัยสื่อใดๆ พบน้อยมาก เช่น บริเวณปลาย
กล้ามเนื้อเรียบ
ไซแนปส์เคมี(chemical synapse) เป็นบริเวณ
หรือช่องไซแนปส์ที่กระแสประสาทไม่สามารถผ่าน
ได้ ต้องอาศัยสารสื่อประสาทไปกระตุ้นให้เกิด
กระแสประสาท
Electrical synapse
 บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane
เชื่อมต่อกันด้วย gap junction ดังนั้น ion current จากaction
potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้
โดยตรง
Chemical synapse
1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ
ตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าใน
เซลล์ เกิด depolarization
สารสื่อประสาท(neurotransmitter)
สารสื่อประสาท ตาแหน่งที่สร้าง
Acetylcholine CNS,PNS
สร้างจากปลายแอกซอนทั่วไป
Norepinephrine CNS,PNS
Dopamine CNS,PNS
Serotonin CNS
 สารสื่อประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติที่สาคัญได้แก่ acetylcholine (ACh)
และ noradrenaline (norepinephrine, NE) ซึ่งเส้นประสาทที่มี ACh เป็นสาร
สื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท cholinergic และเส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อ
ประสาท เรียกว่า เส้นประสาท adrenergic
 acetylcholine (ACh)
 noradrenaline (norepinephrine, NE)
การทางานของสารสื่อประสาท
• เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยมาจากแอกซอนของเซลล์ประสาท
ก่อนไซแนป์ไปยังเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนป์จะมี
การปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาท
Acetylcholine
Enzyme cholinesterase
Acetic acid + Choline
แผนภาพการสลายสารสื่อประสาท
เซลล์ประสาทที่ปล่อยสารสื่อประสาทแอซีทิลโคลินออก
มาที่ปลายแอกซอน เรียกว่า คอลิเนอจิกนิวรอน
(cholinergic neuron)
สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการทางานของ
ระบบประสาท คือ แอซิทิลโคลิน เอพิเนฟริน นอร์
เอพิเนฟริน โดปามีน เซโรโทนิน แอล-กลูทาเมต แอล-
แอสพาเตต
สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่ยับยั้งการทางานของระบบ
ประสาท คือ GABA ไกลซีน และอะลานีน
สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ซิแนปส์
สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสาร
สื่อประสาททาให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต
ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทปล่อยออกมาน้อย อันมี
ผลทาให้กระแสประสาทส่งไปยังสมองน้อยจึงเกิดอาการสงบ
ไม่วิตก
สารนิโคติน คาแฟอีน แอมเฟตามีน จะไปกระตุ้นให้แอกซอน
ปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทาให้เกิดอาการตื่นตัว หัว
ใจเต้นเร็ว
ยาฆ่าแมลงบางชนิด จะไปยับยั้งการทางานของเอมไซม์ที่จะ
มาสลายสารสื่อประสาท
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทตามลาดับไม่มีการย้อนกลับ
แอกซอน ซิแนปส์
แคลฟต์
เดนไดรต์
ตัวเซลล์
ประสาท
แอกซอนซิแนปส์
แคลฟต์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลล์ประสาท
 พบว่าไมอีลินชีทมีสมบัติฉนวนไฟฟ้ากั้นประจุไฟฟ้าได้ ทาให้
ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผิวนอกและผิวด้านในแตกต่างกันจึงทาให้
เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ประมาณ 60-80 mv การเคลื่อนที่ของ
กระแสประสาทจึงเป็นการกระโดด(saltatory conduction)ระหว่าง
โนดออฟเรนเวียร์ที่อยู่ถัดไป
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์
การเกิดกระแสประสาท

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 

Viewers also liked

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 

Viewers also liked (20)

ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 

More from สุรินทร์ ดีแก้วเกษ (20)

คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
ง 30245 การสร้างงานมัลติมีเดีย
 
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้นหลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
คำอธิบายรายวิชา ง 20250 กระบวนการคิดโดยใช้หุ่นยนต์
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 

การทำงานของเซลล์ประสาท