SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท




              ศูนย์ การเรียนที่ 1
    โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ ประสาท

                                สวัสดีเพือน ๆ เราจะพาไปศึกษา
                                         ่
                             โครงสร้ างและหน้ าทีของเซลล์ประสาท
                                                 ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                     ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   6




                                       บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1
                          โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท
          โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
          1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
          2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง
                                                                       ิ
          3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                    ้
          4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
          5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
          6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                  ิ
               ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
               ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   7




                                         บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1
                                                ้
                             โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท


                เซลล์ประสาทของคนมีโครงสร้ างเหมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร
                                                                   ่




                                             ลักษณะของเซลล์ประสาท
             ทีมา : scienceblogs.com/.../upload/2006/07/neuron.JPG 640 x 403 - 49k
               ่
                     (30 มีนาคม 2550)

    จุดประสงค์ การเรียนรู้
             1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของเซลล์ประสาทได้
             2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของเซลล์ประสาทได้
                                        ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   8




                                      โครงสร้ างของเซลล์ประสาท
            โครงสร้ างของเซลล์ประสาท ประกอบด้ วย
            1. ตัวเซลล์ (cell body) เป็ นทีอยู่ของไซโทพลาซึม นิวเคลียส สารติดสี (Nissl’s body)
                                           ่
               และไมโทคอนเดรีย มีรูปร่ างต่ าง ๆ อาจเป็ นรู ปกลม รู ปไข่ และมีขนาดแตกต่ างกัน
            2. ใยประสาท (nerve fiber) เป็ นส่ วนทีเ่ ป็ นแขนงยืนออกจากตัวเซลล์ แบ่ งเป็ น
                                                                ่
               2 ชนิด คือ เดนไดรส์ เป็ นใยประสาททีมีจานวนมาก มีขนาดสั้ น นากระแสประสาท
                                                         ่
               เข้ าสู่ ตัวเซลล์ และ แอกซอน เป็ นใยประสาททีมีเส้ นเดียว มีความยาวมาก
                                                              ่
               นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่น กล้ามเนือหรือต่ อมต่ าง ๆ
                                                                                 ้




                                 ภาพแสดงโครงสร้ างของเซลล์ประสาท
              ทีมา : scienceblogs.com/.../upload/2006/07/neuron.JPG 640 x 403 - 49k
                ่
                     (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท    9


                                  ลักษณะของใยประสาท
          ใยประสาทแอกซอน และ เดนไดรส์ มีลกษณะเป็ นเส้ นละเอียดบางๆ เหมือนกัน
                                                    ั
แต่ มีขนาดความยาวต่ างกันมาก อาจยาวตั้งแต่ ไขสั นหลังจากปลายเท้า (ประมาณ 1 เมตร)
ซึ่งใยประสาทต่ างชนิดกันมีลักษณะทีสาคัญต่ างกัน ดังนี้
                                       ่
    1. เดนไดรส์ (dendrites) เป็ นส่ วนของเซลล์ ประสาทที่ยนออกไป ส่ วนใหญ่ จะอยู่รอบ ๆ
                                                           ื่
ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะมีเดนไดรต์ (dendrite) ได้ หลายแขนง
     ลักษณะทีสาคัญของ เดนไดรส์ (dendrites) คือ มี นิสเซส บอดี้ (Nissl body) ไมโตคอนเดรีย
                 ่
(mitochondria) และมี นิวโรฟิ ลาเม้ นท์ (neurofilament) รวมกันเป็ นมัด กระจายทัวไป ่
เดนไดรส์ (dendrites) ต่ างจาก แอกซอน คือ ส่ วนมากมักไม่ มปลอกหุ้มและทีปลายมีส่วนทียื่น
                                                              ี                ่      ่
ออกไปเป็ นต่ อมเล็ก ๆ เรียกว่ า หนาม (spine) ซึ่งเป็ นทีสาหรับเชื่อมต่ อกับกิงแอกซอน
                                                        ่                    ่
หรือเดนไดรส์ (dendrites) อืน ๆ ทีเ่ รียกว่า บริเวณไซแนปส์ (synapse)
                                ่
      2. แอกซอน (axon) ส่ วนของใยประสาททีทาหน้ าที่นากระแสประสาทออกจากบริเวณ
                                                ่
เดนไดรต์ ไปสู่ เซลล์ อน ๆ เซลล์ประสาทตัวหนึ่งจะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น
                        ื่
โดยเป็ นส่ วนยืนของเซลล์ ทยาวทาหน้ าทีนากระแสประสาท ออกจากตัวเซลล์
                     ่       ี่            ่
     ลักษณะทีสาคัญของแอกซอน (axon) คือ ไม่ มีนิสเซส บอดี้ (Nissl body) และจุดทีแอกซอน
                   ่                                                                ่
(axon) ออกจากตัวเซลล์ ประสาทมีลกษณะนูนขึน เรียกว่ า แอกซอน ฮิลล็อค (axon hillock)
                                     ั            ้
ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้ นของการเกิดกระแสประสาท และต่ อเนื่องตลอดความยาวของแอกซอน
ปลายแอกซอนจะมีแขนงแตกออกไปมีลกษณะเป็ นตุ่มซึ่งจะไซแนปส์ (synapse)
                                         ั
กับเซลล์ประสาทตัวอืน       ่




                         ภาพแสดงลักษณะของใยประสาท
ที่มา: http://dekmaihiso.web44.net/Neurons_I.html . JPG 640 x 403 - 49k
       (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                          ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท      10




                             แหล่งกาเนิดของเซลล์ประสาท

            เซลล์ต้นกาเนิดประสาท (neural stem cells) เป็ นเซลล์ ทมีคุณสมบัติพเิ ศษซึ่งสามารถ
                                                                 ี่
แบ่ งตัวสร้ างเซลล์ของระบบประสาท ซึ่งได้ แก่ เซลล์ประสาท (neurone) และเซลล์เกลีย
คือ เซลล์แอสโทรไซต์ (astrocyte) และเซลล์โอลิโกเดนโดรไซต์ (oligodendrocyte)
          เซลล์ ต้นกาเนิดประสาทมีบทบาทเป็ นผู้สร้ างเซลล์ ชนิดต่ าง ๆ ดังกล่าวข้ างต้ นในระหว่าง
การเจริญพัฒนาของระบบประสาทของตัวอ่อน (embryo)

               แหล่งสร้ างเซลล์ประสาท คือ
        1. ชั้น subventricular zone (SVZ) ของโพรงสมองส่ วนข้ างทีเ่ รียกว่า lateral ventricles
        2. ชั้น subgranular zone (SGZ) ของสมองส่ วนเดนเตตไจรัส (dentate gyrus)
        3. เซลล์ชวาน (schwann cell) เป็ นเซลล์ ต้นกาเนิดของใยประสาททีมีเยือไมอีลนหุ้ม
                                                                          ่ ่         ิ




                        ภาพแสดงเซลล์ชวานต้ นกาเนิดของเซลล์ประสาท
ที่มา: http://dekmaihiso.web44.net/Neurons_I.html . JPG 640 x 403 - 49k
       (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                        ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท    11




                                    หน้ าที่ของใยประสาท
  ใยประสาท ( nerve fiber ) เป็ นส่ วนทีเ่ ป็ นแขนงยื่นออกจากตัวเซลล์ แบ่ งเป็ น 2 ชนิด คือ
               1. เดนไดรส์ (dendrites) เป็ นใยประสาททีมีจานวนมาก มีขนาดสั้ น นากระแสประสาท
                                                         ่
  เข้ าสู่ ตัวเซลล์
               2. แอกซอน (axon) เป็ นใยประสาททีมีเส้ นเดียว มีความยาวมาก นากระแสประสาท
                                                     ่
  ออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอืน กล้ามเนือหรือต่ อมต่ างๆ ใยประสาทแอกซอนมีเยือบางๆ
                                           ่           ้                                      ่
  ( sheath ) หุ้ม มี 2 ชนิด คือ
               2.1 ใยประสาททีมีเยือหุ้ม (myelinated fiber) เป็ นใยประสาททีมีเยือจากเซลล์ชวาน
                              ่ ่                                            ่ ่
  (schwann cell) หุ้มอยู่ เรี ยกว่ า เยือไมอีลน (myelin sheath) เยือไมอีลินเป็ นสารไขมัน ทาให้
                                         ่     ิ                    ่
  เห็นใยประสาทเป็ นสี ขาว ตรงบริเวณรอยต่ อของชวานเซลล์แต่ ละเซลล์ เรียกว่า โนดออฟเรนเวียร์
  (node of ranvier) ใยประสาททีไม่ มีเยือหุ้ม (non myelinated fiber) มีเยือไมอีลนหุ้มบาง ๆ
                                     ่       ่                                ่         ิ
  หรือไม่ มีเลย
               2.2 ใยประสาทแอกซอนทั้งสองชนิดแตกต่ างกันทีความหนาแน่ นของเยือไมอีลน
                                                               ่                      ่   ิ
  และความเร็วของการเคลือนทีของกระแสประสาท คือ ใยประสาททีมไมอีลนหุ้มจะเคลือนที่
                             ่ ่                                        ่ ี       ิ         ่
  ด้ วยความเร็ว 120 เมตรต่ อวินาที ส่ วนในใยประสาททีไม่ มีไมอีลนหุ้มจะเคลือนที่
                                                            ่         ิ             ่
  ด้ วยความเร็ว 12 เมตรต่ อวินาที เพราะการเคลือนที่ของกระแสประสาทีมเี ยือไมอีลินหุ้ม
                                                   ่                        ่ ่
  จะเคลือนทีแบบกระโดดจากโนดอฟเรนเวียร์ หนึ่งไปยังโนดออฟเรนเวียร์ ทอยู่ถดไป
            ่ ่                                                                 ี่ ั
  ส่ วนการเคลือนทีในใยประสาททีไม่ มีไมอีลนหุ้มจะเคลือนทีแบบต่ อเนื่อง
                   ่ ่                 ่         ิ         ่ ่




                            ภาพแสดงโครงสร้ างของเซลล์ประสาทและใยประสาท
     ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Neuron.htm
       ่
            640 x 403 - 49k (30 มีนาคม 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   12



                                       บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1
                          โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท
  คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
                                   ่         ่
             ลงในกระดาษคาตอบ
           1. ส่ วนใดของเซลล์ประสาททีมีนิวเคลียสและไซโทพลาซึม
                                             ่
                    ก. ตัวเซลล์
                    ข. แอกซอน
                    ค. เดนไดรส์
                    ง. ใยประสาท
           2. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของใยประสาท
                                 ้
                    ก. นากระแสประสาทเข้ าสู่ ตัวเซลล์
                    ข. นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
                    ค. ทาให้ กระแสประสาทเคลือนทีได้ เร็วขึน
                                                  ่ ่     ้
                    ง. ประสานการรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
           3. เยือไมอีลนเป็ นสารประเภทใด
                  ่      ิ
                    ก. ไขมัน
                    ข. โปรตีน
                    ค. นาตาล
                           ้
                    ง. คาร์ โบไฮเดรต
           4. ใยประสาทชนิดใดนากระแสประสาทเข้ าสู่ ตัวเซลล์
                    ก. แอกซอน
                    ข. เดนไดรส์
                    ค. เซลล์ชวาน
                    ง. เยือไมอีลน
                             ่     ิ
           5. Nissl’s body จะพบทีบริเวณใด่
                    ก. ตัวเซลล์
                    ข. แอกซอน
                    ค. เซลล์ชวาน
                    ง. เยือไมอีลน
                               ่     ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   13




                                       บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1

                             โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท

                                            1.   ก
                                            2.   ค
                                            3.   ก
                                            4.   ข
                                            5.   ก




                                 ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียน
                                    ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะคะ

More Related Content

What's hot

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองWan Ngamwongwan
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนองWichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 

What's hot (16)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 

Similar to ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3 (20)

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (20)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ ประสาท สวัสดีเพือน ๆ เราจะพาไปศึกษา ่ โครงสร้ างและหน้ าทีของเซลล์ประสาท ่
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 6 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง ิ 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 7 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 1 ้ โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทของคนมีโครงสร้ างเหมาะสมต่ อการทาหน้ าทีอย่ างไร ่ ลักษณะของเซลล์ประสาท ทีมา : scienceblogs.com/.../upload/2006/07/neuron.JPG 640 x 403 - 49k ่ (30 มีนาคม 2550) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้ างของเซลล์ประสาทได้ 2. นักเรียนสามารถบอกหน้ าทีของเซลล์ประสาทได้ ่
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 8 โครงสร้ างของเซลล์ประสาท โครงสร้ างของเซลล์ประสาท ประกอบด้ วย 1. ตัวเซลล์ (cell body) เป็ นทีอยู่ของไซโทพลาซึม นิวเคลียส สารติดสี (Nissl’s body) ่ และไมโทคอนเดรีย มีรูปร่ างต่ าง ๆ อาจเป็ นรู ปกลม รู ปไข่ และมีขนาดแตกต่ างกัน 2. ใยประสาท (nerve fiber) เป็ นส่ วนทีเ่ ป็ นแขนงยืนออกจากตัวเซลล์ แบ่ งเป็ น ่ 2 ชนิด คือ เดนไดรส์ เป็ นใยประสาททีมีจานวนมาก มีขนาดสั้ น นากระแสประสาท ่ เข้ าสู่ ตัวเซลล์ และ แอกซอน เป็ นใยประสาททีมีเส้ นเดียว มีความยาวมาก ่ นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่น กล้ามเนือหรือต่ อมต่ าง ๆ ้ ภาพแสดงโครงสร้ างของเซลล์ประสาท ทีมา : scienceblogs.com/.../upload/2006/07/neuron.JPG 640 x 403 - 49k ่ (30 มีนาคม 2550)
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 9 ลักษณะของใยประสาท ใยประสาทแอกซอน และ เดนไดรส์ มีลกษณะเป็ นเส้ นละเอียดบางๆ เหมือนกัน ั แต่ มีขนาดความยาวต่ างกันมาก อาจยาวตั้งแต่ ไขสั นหลังจากปลายเท้า (ประมาณ 1 เมตร) ซึ่งใยประสาทต่ างชนิดกันมีลักษณะทีสาคัญต่ างกัน ดังนี้ ่ 1. เดนไดรส์ (dendrites) เป็ นส่ วนของเซลล์ ประสาทที่ยนออกไป ส่ วนใหญ่ จะอยู่รอบ ๆ ื่ ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะมีเดนไดรต์ (dendrite) ได้ หลายแขนง ลักษณะทีสาคัญของ เดนไดรส์ (dendrites) คือ มี นิสเซส บอดี้ (Nissl body) ไมโตคอนเดรีย ่ (mitochondria) และมี นิวโรฟิ ลาเม้ นท์ (neurofilament) รวมกันเป็ นมัด กระจายทัวไป ่ เดนไดรส์ (dendrites) ต่ างจาก แอกซอน คือ ส่ วนมากมักไม่ มปลอกหุ้มและทีปลายมีส่วนทียื่น ี ่ ่ ออกไปเป็ นต่ อมเล็ก ๆ เรียกว่ า หนาม (spine) ซึ่งเป็ นทีสาหรับเชื่อมต่ อกับกิงแอกซอน ่ ่ หรือเดนไดรส์ (dendrites) อืน ๆ ทีเ่ รียกว่า บริเวณไซแนปส์ (synapse) ่ 2. แอกซอน (axon) ส่ วนของใยประสาททีทาหน้ าที่นากระแสประสาทออกจากบริเวณ ่ เดนไดรต์ ไปสู่ เซลล์ อน ๆ เซลล์ประสาทตัวหนึ่งจะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น ื่ โดยเป็ นส่ วนยืนของเซลล์ ทยาวทาหน้ าทีนากระแสประสาท ออกจากตัวเซลล์ ่ ี่ ่ ลักษณะทีสาคัญของแอกซอน (axon) คือ ไม่ มีนิสเซส บอดี้ (Nissl body) และจุดทีแอกซอน ่ ่ (axon) ออกจากตัวเซลล์ ประสาทมีลกษณะนูนขึน เรียกว่ า แอกซอน ฮิลล็อค (axon hillock) ั ้ ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้ นของการเกิดกระแสประสาท และต่ อเนื่องตลอดความยาวของแอกซอน ปลายแอกซอนจะมีแขนงแตกออกไปมีลกษณะเป็ นตุ่มซึ่งจะไซแนปส์ (synapse) ั กับเซลล์ประสาทตัวอืน ่ ภาพแสดงลักษณะของใยประสาท ที่มา: http://dekmaihiso.web44.net/Neurons_I.html . JPG 640 x 403 - 49k (30 มีนาคม 2550)
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 10 แหล่งกาเนิดของเซลล์ประสาท เซลล์ต้นกาเนิดประสาท (neural stem cells) เป็ นเซลล์ ทมีคุณสมบัติพเิ ศษซึ่งสามารถ ี่ แบ่ งตัวสร้ างเซลล์ของระบบประสาท ซึ่งได้ แก่ เซลล์ประสาท (neurone) และเซลล์เกลีย คือ เซลล์แอสโทรไซต์ (astrocyte) และเซลล์โอลิโกเดนโดรไซต์ (oligodendrocyte) เซลล์ ต้นกาเนิดประสาทมีบทบาทเป็ นผู้สร้ างเซลล์ ชนิดต่ าง ๆ ดังกล่าวข้ างต้ นในระหว่าง การเจริญพัฒนาของระบบประสาทของตัวอ่อน (embryo) แหล่งสร้ างเซลล์ประสาท คือ 1. ชั้น subventricular zone (SVZ) ของโพรงสมองส่ วนข้ างทีเ่ รียกว่า lateral ventricles 2. ชั้น subgranular zone (SGZ) ของสมองส่ วนเดนเตตไจรัส (dentate gyrus) 3. เซลล์ชวาน (schwann cell) เป็ นเซลล์ ต้นกาเนิดของใยประสาททีมีเยือไมอีลนหุ้ม ่ ่ ิ ภาพแสดงเซลล์ชวานต้ นกาเนิดของเซลล์ประสาท ที่มา: http://dekmaihiso.web44.net/Neurons_I.html . JPG 640 x 403 - 49k (30 มีนาคม 2550)
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 11 หน้ าที่ของใยประสาท ใยประสาท ( nerve fiber ) เป็ นส่ วนทีเ่ ป็ นแขนงยื่นออกจากตัวเซลล์ แบ่ งเป็ น 2 ชนิด คือ 1. เดนไดรส์ (dendrites) เป็ นใยประสาททีมีจานวนมาก มีขนาดสั้ น นากระแสประสาท ่ เข้ าสู่ ตัวเซลล์ 2. แอกซอน (axon) เป็ นใยประสาททีมีเส้ นเดียว มีความยาวมาก นากระแสประสาท ่ ออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอืน กล้ามเนือหรือต่ อมต่ างๆ ใยประสาทแอกซอนมีเยือบางๆ ่ ้ ่ ( sheath ) หุ้ม มี 2 ชนิด คือ 2.1 ใยประสาททีมีเยือหุ้ม (myelinated fiber) เป็ นใยประสาททีมีเยือจากเซลล์ชวาน ่ ่ ่ ่ (schwann cell) หุ้มอยู่ เรี ยกว่ า เยือไมอีลน (myelin sheath) เยือไมอีลินเป็ นสารไขมัน ทาให้ ่ ิ ่ เห็นใยประสาทเป็ นสี ขาว ตรงบริเวณรอยต่ อของชวานเซลล์แต่ ละเซลล์ เรียกว่า โนดออฟเรนเวียร์ (node of ranvier) ใยประสาททีไม่ มีเยือหุ้ม (non myelinated fiber) มีเยือไมอีลนหุ้มบาง ๆ ่ ่ ่ ิ หรือไม่ มีเลย 2.2 ใยประสาทแอกซอนทั้งสองชนิดแตกต่ างกันทีความหนาแน่ นของเยือไมอีลน ่ ่ ิ และความเร็วของการเคลือนทีของกระแสประสาท คือ ใยประสาททีมไมอีลนหุ้มจะเคลือนที่ ่ ่ ่ ี ิ ่ ด้ วยความเร็ว 120 เมตรต่ อวินาที ส่ วนในใยประสาททีไม่ มีไมอีลนหุ้มจะเคลือนที่ ่ ิ ่ ด้ วยความเร็ว 12 เมตรต่ อวินาที เพราะการเคลือนที่ของกระแสประสาทีมเี ยือไมอีลินหุ้ม ่ ่ ่ จะเคลือนทีแบบกระโดดจากโนดอฟเรนเวียร์ หนึ่งไปยังโนดออฟเรนเวียร์ ทอยู่ถดไป ่ ่ ี่ ั ส่ วนการเคลือนทีในใยประสาททีไม่ มีไมอีลนหุ้มจะเคลือนทีแบบต่ อเนื่อง ่ ่ ่ ิ ่ ่ ภาพแสดงโครงสร้ างของเซลล์ประสาทและใยประสาท ทีมา : http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Neuron.htm ่ 640 x 403 - 49k (30 มีนาคม 2550)
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 12 บัตรคาถามศูนย์ ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท คาชี้แจง ให้ นักเรียนเลือกคาตอบทีถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ่ ่ ลงในกระดาษคาตอบ 1. ส่ วนใดของเซลล์ประสาททีมีนิวเคลียสและไซโทพลาซึม ่ ก. ตัวเซลล์ ข. แอกซอน ค. เดนไดรส์ ง. ใยประสาท 2. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ หน้ าที่ของใยประสาท ้ ก. นากระแสประสาทเข้ าสู่ ตัวเซลล์ ข. นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ ค. ทาให้ กระแสประสาทเคลือนทีได้ เร็วขึน ่ ่ ้ ง. ประสานการรับรู้ และตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า 3. เยือไมอีลนเป็ นสารประเภทใด ่ ิ ก. ไขมัน ข. โปรตีน ค. นาตาล ้ ง. คาร์ โบไฮเดรต 4. ใยประสาทชนิดใดนากระแสประสาทเข้ าสู่ ตัวเซลล์ ก. แอกซอน ข. เดนไดรส์ ค. เซลล์ชวาน ง. เยือไมอีลน ่ ิ 5. Nissl’s body จะพบทีบริเวณใด่ ก. ตัวเซลล์ ข. แอกซอน ค. เซลล์ชวาน ง. เยือไมอีลน ่ ิ
  • 9. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 13 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1 โครงสร้ างและหน้ าที่ของเซลล์ประสาท 1. ก 2. ค 3. ก 4. ข 5. ก ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียน ให้ ครบ 4 ศู นย์ การเรียนนะคะ