SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
• เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตชั้นต่่า
จนถึงมนุษย์ มีด้วยกันหลายหัวข้อ เช่น ระบบโครงสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อของ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง กลไก การเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง เป็นต้น หัวข้อที่น่าสนใจและควรท่าความเข้าใจมีได้ ดังนี้
• 1. การเคลื่อนไหวของอะมีบา (amoeboid movement) เกิดจากการแปร
สภาพกลับไปมาของ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) ซึ่งมีลักษณะข้นหนืด กับ
เอนโดพลาซึม (endoplasm) ซึ่งมีลักษณะเหลวและไหลได้ โดยการหดและ
คลายของเส้นใยโปรตีนในไซโทพลาซึม คือ ไมโครฟิลาเมนต์
(microfilament) ซึ่งประกอบด้วย แอกทิน (actin) และ ไมโอซิน
(myosin) ท่าให้เกิด เท้าเทียม (pseudopodium) ยื่นออกไปได้ พบใน
โพรติสต์หลายชนิด เช่น อะมีบา (Amoeba) อาร์เซลลา (Arcella) ดิฟฟลู
เกีย (Difflugia) ฟอรามินิเฟอรา (Foraminifera) นอกจากนี้ยังพบใน รา
เมือก (Smile mold) เซลล์อะมีโบไซต์ (Amoebocyte) ของฟองน้่า
เซลล์เม็ดเลือดขาวของมนุษย์ เป็นต้น
amoeboid
• 2. การเคลื่อนไหวโดยใช้แฟลเจลลัม (flagellum) พบในพวกยูกลีนา (Euglena)
เซอราเทียม (Ceratium) วอลวอกซ์ (Volvox) คลามิโดแนส
(Chlamydomonas)
• ทริปพาโนโซมา (Trypanosoma) ฯลฯ
• แฟลเจลลัมโบกพักจากโคนไปสู่ปลาย ทาให้แฟลเจลลัมเคลื่อนไหวแบบลูกคลื่น และ
เกิดแรงผลักให้โพรทิสต์เคลื่อนที่ไปยังทิศต่างๆ ได้
• โครงสร้างภายในประกอบด้วย ไมโครทิวบูล (microtubule) เรียงตัวแบบ 9+2 (
อยู่ตรงแกนกลาง 2 หลอด ล้อมรอบด้วยไมโครทิวบูลที่อยู่กันเป็นคู่เรียงโดยรอบ 9 คู่ )
Flagellum
• 3. การเคลื่อนไหวโดยใช้ซิเลีย (cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium)
• วอร์ติเซลลา (Vorticella) ดิดิเนียม (Didinium) ฯลฯ
• การโบกพัดกลับไปมาของซิเลียคล้ายกรรเชียงเรือ ทาให้โพรทิสต์เคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง
• โครงสร้างภายในประกอบด้วยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9+2 เช่นเดียวกับแฟลเจลลัม
• ** ข้อควรทราบ **
• ตรงส่วนโคนของแฟลเจลลัม หรือซิเลียที่ฝังในเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า
• เบซัลบอดี (basal body) หรือ ไคนีโทโซม (kinetosome) ประกอบด้วยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ
9+0 ( มีไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 หลอดเรียงเป็นวงโดยรอบแกนกลาง ซึ่งไม่มีไมโครทิวบูล )
• หากตัดเบซัลบอดีออกจากเซลล์ จาให้ทาให้แฟลเจลลัม และซิเลยเคลื่อนไหวไม่ได้
cilia
• 4. การเคลื่อนไหวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้
• ฟองน้า (sponge) ในระยะตัวอ่อนมีแฟลเจลลัมหลายเส้นจึงว่ายน้าได้
อย่างอิสระ เมื่อโตเต็มวัยจะมีการเคลื่อนไหวเฉพาะ เซลล์ปอกคอ
(collar cell) โบกพัดน้าและอาหารเข้าสู่ช่องว่างในลาตัว
sponge
• ไฮดรา (hydra) มีการยืดหดตัวทาให้เคลื่อนที่แบบตีลังกาและแบบคลืบ
คลาน
hydra
• แมงกะพรุน (jelly fish) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบ
กระดิ่งและผนังลาตัว ทาให้เกิดการพ่นน้าออกจากลาตัว เกิดแรงดันให้
เคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางที่น้าพ่นออกมา
jelly fish
• พลานาเรีย (planaria) เคลื่อนที่โดยอาศัยการหดและคลายตัวสลับกันของ
กล้ามเนื้อวงกลม (circular muscle) และ กล้ามเนื้อตามยาว
(longitudinal muscle) และมี กล้ามเนื้อยึดระหว่างส่วนบนกับส่วนล่าง
ของลาตัว (dorsoventral muscle) ช่วยทาให้ลาตัวแบนพลิ้วไปในน้า
planaria
• พยาธิตัวกลม (nematodes) เคลื่อนที่โดยอาศัยกล้ามเนื้อ
ตามยาว จึงเคลื่อนไหวเป็นลักษณะงอตัวสลับไปมา บังคับทิศ
ทางการเคลื่อนที่ไม่ได้
nematodes
• ไส้เดือนดิน (earth worm) เคลื่อนที่โดยการหดและคลายตัวสลับกันแบบ
• แอนตาโกนิซึม (antagonism) ของกล้ามเนื้อวงกลม ซึ่งอยู่ชั้นนอก และ
กล้ามนื้อตามยาว ซึ่งอยู่ชั้นในโดยแต่ละปล้องมี เดือย (setae) ช่วยยึดพื้น ทา
ให้การเคลื่อนที่มีทิศทางแน่นอน
earth worm
• หอยฝาเดียว (gastropods) เคลื่อนที่โดยใช้ เท้า (foot) ซึ่งเป็น
กล้ามเนื้อหนาและแบนอยู่ด้านท้อง ส่วน หอยสองฝา (bivalves)
นอกจากเคลื่อนที่โดยใช้เท้าซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยื่นออกมาเพื่อคืบคลานแล้ว
ยังว่ายน้า โดยการปิดเปิดฝาสลับกันอีกด้วย
gastropods
• หมึก (Squid) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบท่อพ่นน้า ซึ่ง
เรียกว่า ไซฟอน (siphon) ทาให้น้าถูกพ่นออกมาเกิดแรงดันให้หมึก
เคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันข้าม
Squid
• ดาวทะเล (sea star) เคลื่อนที่โดยอาศัย ระบบท่อน้า (water vascular system)
กล่าวคือ มีการลาเลียงน้าเข้า มาดรีโพไรต์ (madreporite) แล้วน้าจะไหลไปตามท่อในแต่
ละแฉก ซึ่งมีท่อแยกมากมายตรงส่วนปลายมีกระเปาะกล้ามเนื้อ เรียกว่า แอมพูลลา
• (ampulla) เมื่อหดตัวจะดันน้าเข้าสู่ ทิวบ์ฟิต (tube feet) ให้ยืดตัวออกมา เมื่อคลายตัว
ทิวบ์ฟิตก็หดสั้นการยืด และหอของทิวบ์ฟิตต่อเนื่องกันทาให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้
sea star
• แมลง (insect) เคลื่อนที่โดยการทางานแบบแอนตาโกนิซึมของ
กล้ามเนื้อลายซึ่งพบที่ข้อต่อรยางค์ต่างๆ และบริเวณโคนปีกกับส่วนอก
ดังนี้
รูปแบบ การทางานของกล้ามเนื้อ ปีก
1
2
ชุดในหดตัว ชุดนอกคลายตัว
ชุดในคลายตัว ชุดนอกหดตัว
ตามขวางหดตัว ตามยาวคลายตัว
ตามขวางคลายตัว ตามยาวหดตัว
ขยับสูงขึ้นกดต่่าลง
ขยับสูงขึ้นกดต่่าลง
• 5. การเคลื่อนไหวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีหลากหลายรูปแบบ ดังนี้
• ??? ปลา (fish) มีการเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง มีกล้ามเนื้อยึดติดกับกระดูกสันหลัง
ทางานตรงข้ามกับแอนตาโกนิซึม กล่าวคือ เมื่อกล้ามเนื้อด้านหนึ่งหดตัวอีกด้านก็
จะคลายตัว ทาให้ปลาเคลื่อนที่คล้ายตัวเอส (S) หัวและหางจะสะบัดไปคนละทาง
นอกจากนี้ปลายังมีครีบช่วยทาหน้าที่ ดังนี้
• ครีบอก (pectoral fin) : ช่วยให้เคลื่อนที่ขึ้นลงแนวดิ่ง , เลี้ยวซ้ายและขวา
หยุด
• การเคลื่อนที่
• ครีบหลัง (dorsal fin) : ช่วยไม่ให้ปลาเอียงขวาหรือซ้าย ( ส่วนม้าน้าใช้
เคลื่อนที่โดยตรง )
• ครีบก้น (anal fin) : ช่วยพยุงไม่ให้ส่วนท้องพลิกหงาย
• ครีบหาง (caudal fin) : ช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ( ส่วนม้าน้าใช้ยึดเกาะ )
วาฬ โลมา พยูน ปรับขาหน้าเป็นครีบ ไม่มีขาหลัง มีหางแบน ใช้ตวัดขึ้นลงแนวตั้งฉากกับพื้นน้า ทาให้
เคลื่อนที่ได้ ส่วนพวกเต่าทะเล แมวน้า นกเพนกวินปรับขาหน้า คล้ายใบพายเรียกว่า ฟลิปเปอร์
(flipper) ช่วยให้ว่ายน้าดีขึ้น สาหรับ เป็ดและกบ มีแผ่นหนังบางๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้า เรียกว่า เว็บ
(web) ทาให้โบกพัดน้าดีขึ้น
• นก (bird) เคลื่อนที่ในอากาศได้ เพราะมีการปรับตัว ดังนี้
• โครงสร้างกระดูกกลวงเป็นโพรง เหนียวและแข็ง ช่วยให้น้าหนักตัวน้อย กระดูกอกเป็นเส้นลึกช่วยให้
กล้ามเนื้อยึดเกาะได้ดี และขาคู่หน้าเปลี่ยนเป็นปีกขนาดใหญ่
• มีถุงลม (air sic) 9 ถุงเชื่อมต่อกับปอด ช่วยในการหายใจและระบายความร้อน
• มีขนเป็นแผง (feather) น้าหนักเบา และพยุงอากาศได้ดี มีโปรตีนเคลือบผิวนอก
• ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ลาไส้ใหญ่สั้น ของเสียสะสมน้อยน้าหนักตัวจึงน้อยลง
• การเคลื่อนที่ของนกเกิดจากการทางานแบบแอนตาโกนิซึมของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ดังนี้
กล้ามเนื้อปีก ( ด้านใน ) กล้ามเนื้อกดปีก (ด้านนอก ) ปีก
หดตัว
คลายตัว
คลายตัว
หดตัว
ยกขึ้น
หุบลง
bird
• สัตว์ครึ่งบอกครึ่งน้า ปรับโครงร่างค้าจุนให้แข็งแรงรองรับน้าหนักร่างกายได้
โดยลดจานวนข้อกระดูกสันหลังเหลือเพียง 9 ข้อ กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อยึด
เกาะกระดูกแข็งแรง กระดูกขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้ามาก ช่วยให้ถีบตัวเอง
ให้กระโดดไปได้ไกลๆ
• สัตว์เลื้อยคลาน มีกระดูกสันหลังยาวขึ้น มีกระดูกคอและมีกระดูกซี่โครง
ปลายนิ้วมีเล็บแหลมช่วยให้คลานและปีนป่ายได้ดี การหดและคลายตัวของ
กล้ามเนื้อแบบแอนตาโกนิซึมทาให้ลาตัวสัตว์เลื้อยคลานโค้งงอสะบัดไปมา
คล้ายรูปตัว (S)
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม มีระบบโครงร่างค้าจุนเจริญดีมาก กระดูกแข็งแรง
บริเวณข้อต่อของกระดูกแขน ขา และปลายกระดูกซี่โครงเป็นกระดูกอ่อน มี
กล้ามเนื้อทางานแบบแอนตาโกนิซึม เช่น
• กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ (flexor) และกล้ามเนื้อโพรแทรกเตอร์
(protractor) หดตัวทาให้ขางอและก้าวไปข้างหน้า
• กล้ามเนื้อเอกเทนเซอร์ (extensor) และกล้ามเนื้อรีแทรกเตอร์
(retractor) หดตัวทาให้ขาเหยียดตรง และถีบตัวให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
6. การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ต้องอาศัยการทางาน
ร่วมกันของรับบอวัยวะดังต่อไปนี้
ระบบโครงกระดูก กระดูกมนุษย์มีทั้งหมด 206 ชิ้น
แบ่งออกเป็น
• 1. กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) เป็นโครงกระดูก
แกนกลางของร่างกายมี 80 ชิ้น ได้แก่ ??? กระดูกศีรษะ (skull)
29 ชิ้น
• - กะโหลกสันหลัง (vertebrae) 26 ชิ้น ประกอบด้วย
• - กระดูกสันหลังบริเวณคอ (cervical vertebrae) 7 ชิ้น
• - กระดูกสันหลังบริเวณอก ( thoracic vertebrae) 12 ชิ้น
• - กระดูกสันหลังบริเวณสะเอว (lumbar vertebrae) 5 ชิ้น
• - กระดูกกระเบนเหน็บ (sacrum) 1 ชิ้น
• - กระดูกก้นกบ (coccyx) 1 ชิ้น
• กระดูกซี่โครง (ribs) 24 ชิ้น
• กระดูกอก (sternum) 1 ชิ้น
• 2 . กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) เชื่อมต่อกับ
กระดูกแกนมี 126 ชิ้น ได้แก่ ??? กระดูกแขน (2 ข้างรวม 60 ชิ้น )
ประกอบด้วย
• - กระดูกต้นแขน (humerus) - กระดูกปลายแขนท่อนนอก (radius)
• - กระดูกปลายแขนท่อนใน (ulna) - กระดูกข้อมือ (carpals)
• - กระดูกฝ่ามือ (metacarpals) - กระดูกนิ้วมือ (phalanges)
• - กระดูกขา (2 ข้างรวม 60 ชิ้น ) ประกอบด้วย
• - กระดูกโคนขา (femur) - กระดูกสะบ้า (patella)
• - กระดูกหน้าแข้ง (tibia) - กระดูกน่อง (fibula)
• - กระดูกข้อเท้า (tarsals) - กระดูกฝ่าเท้า (metatarsals)
• - กระดูกนิ้วเท้า (phalanges)
• - กระดูกไหปลาร้า ( clavicle) 2 ชิ้น
• - กระดูกสะบัก (scapula) 2 ชิ้น
• - กระดูกเชิงกราน (pelvic girdle) 2 ชิ้น
• ** ข้อควรทราบ**
• กระดูกของมนุษย์มีโครงสร้างแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
• กระดูกอ่อน (cartilage) ประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน (chondorcyte) สาร
ระหว่างเซลล์และเส้นใย (fiber) ไม่มีเส้นเลือดหล่อเลี้ยง มี 3 ชนิดคือ
• * กระดูกอ่อนไฮอะลีน (hyaline cartilage) มีเส้นใยแทรกอยู่น้อยมาก เช่น
• กระดูกอ่อนที่ผนังกั้นรูจมูก
• * กระดูกอ่อนไฟโบร์ (fibro cartilage) มีเส้นใยคอลลาเจน (collagen fiber)
• แทรกอยู่มาก จึงเหนียวและแข็งแรง เช่น กระดูกอ่อนที่กั้นระหว่างข้อของ กระดูกสันหลัง
• * กระดูกอ่อนอิลาสติก (elastic cartilage) มีเส้นใยอิลาสติก (elastic fiber)
• แทรกอยู่มาก จึงมีความยืดหยุ่น เช่น กระดูกอ่อนที่ใบหู
• กระดูก (bone) ประกอบด้วย เซลล์กระดูก (osteocyte) สารระหว่างเซลล์และ
• เส้นใย มีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ (hydroxyapatite) เสริมให้มีความแข็ง เนื้อกระดูก
ด้านนอกแน่นทึบ มีหลอดเลือดแทรกมาหล่อเลี้ยง ส่วนตรงกลางเป็นโพรง คล้ายฟองน้่า มี
ไขกระดูก (bone marrow) ที่หน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดและ เซลล์เม็ดเลือดขาว
• ข้อต่อของกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ระบบคือ
• 1 ) ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (immovable joint) ท่าหน้าที่ยึดกระดูก เช่น ข้อต่อที่
กะโหลกศีรษะ
• 2 ) ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (movable joint) ท่าให้กระดูกเคลื่อนไหวทิศทางเดียว เช่น
ที่นิ้วมือ นิ้วเท้า หรือ เคลื่อนไหวหลายทิศทาง เช่น หัวไหล่ และสะโพก เป็นต้น
• บริเวณข้อต่อของกระดูกจะไม่สัมผัสกัน เพราะมีน้่า ไขข้อ (synovial fluid) อยู่ ช่วยลด
การเสียดสีของกระดูกขณะเคลื่อนไหว
• กระดูกอาจเชื่อมติดต่อกันด้วย เอ็น (Ligament) ซึ่งมีความเหนียวและช่วยบังคับให้
กระดูกเคลื่อนไหวในวงจ่ากัดและมีเอ็นยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับกระดูกเรียกว่า เท็นดอน
(tendon) ช่วยในการเคลื่อนไหว
• ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อมี หมอนรองกระดูก (intervertebral disc) รองรับ
ช่วยป้องกันการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว
• กระดูกซี่โครง (12 คู่ ) เชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก ( ยกเว้นคู่ที่ 11 และ 12 เป็นซี่สั้นๆ ไม่เชื่อม
กับกระดูกหน้าอก
skeleton
• ระบบกล้ามเนื้อ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยกล้ามเนื้อมากกว่า
500 มัด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
• กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
• เซลล์มีรูปร่างเรียว หัวท้ายแหลม มี 1 นิวเคลียส เห็นเด่นชัด
• อยู่นอกอ่านาจจิตใจ (involuntary muscle)
• การหดและคลานตัวเกิดช้าๆ พบในอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร
• ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ และหลอดเลือด
• กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
• เซลล์มีหลายนิวเคลียส มักแยกเป็น 2 แฉก เรียงติดต่อกับแฉกของเซลล์อื่นๆ ดู
คล้ายร่างแห เห็นเป็นลาย
• อยู่นอกอ่านาจจิตใจ
• ท่างานติดต่อกันตลอดเวลา พบเฉพาะที่หัวใจเท่านั้น
• ระบบกล้ามเนื้อลาย (striated muscle)
• เซลล์มีหลายนิวเคลียส ลักษณะเป็นเส้นใยคล้ายทรงกระบอกยาว
• อยู่ในอานาจจิตใจ (Voluntary muscle) สั่งงานได้โดยการควบคุม
ของระบบประสาทส่วนกลาง
• พบมากที่สุดในร่างกายโดยยึดเกาะกับกระดูก ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวได้
muscle
• เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) มีนิวเคลียสหลายนิวเคลียสติดกับ
เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า ซาร์โคเลมมา (sarcolemma) ภายในไซโทพลา
ซึมของเซลล์เรียกว่า ซาร์โคพลาซึม (sarcoplasm) ประกอบด้วยเส้นใย
ฝอย เรียกว่า ไมโอไฟบริล (myofibril) จานวนมาก และภายในเส้นใย
ฝอยก็ยังประกอบด้วย ไมโอฟิลาเมนต์ (myofilament) ซึ่งมีอยู่ 2
ชนิด คือ
• ฟิลาเมนต์ชนิดหนา (thick filament) ประกอบด้วย ไมโอซิน
(myosin) พันกันเป็นเกลียว ปลายสุดม้วนตัวเป็นก้อนกลม คล้ายตะขอ
และรวมกันเป็นมัด
• ฟิลาเมนต์ชนิดบาง (thin filament) ประกอบด้วยโปรตีนแอกทิน
(actin) เป็นก้อนกลมเรียงต่อกันเป็นสายยาวและพันกันเป็นเกลียว
• การเรียงตัวของไมโอซินและแอกทินขนานกัน ทาให้กล้ามเนื้อเป็นลายยาว
ขาวดาสลับกัน
• การเลื่อนเข้าหากัน หรือการเลื่อนออกจากกันของไมโอซินและแอกทิน
โดยอาศัยพลังงานจาก ATP ทาให้กล้ามเนื้ออีกด้านหนึ่งจะคลายตัว ดังนี้
ชนิดกล้ามเนื้อ การทางาน การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้น
แฟลกเซอร์ (flexor)
เอกซ์เทนเซอร์ (extensor)
โพรแทรกเตอร์
(protractor)
รีแทรกเตอร์ (retractor)
แอบดักเตอร์ (abductor)
แอดดักเตอร์ (adductor)
หดตัว
หดตัว
หดตัว
หดตัว
หดตัว
หดตัว
อาศัยงอเข้า
อาศัยเหยียดออก
อาศัยเคลื่อนไปข้างหน้า
อาศัยเคลื่อนไปข้างหลัง
อาศัยเคลื่อนกางออกไปด้านข้าง
อาศัยหุบเข้าแนบลาตัว
• การเคลื่อนไหวของแขนเกิดจากการหดและคลายตัวของ
กล้ามเนื้อ ดังนี้
กล้ามเนื้อไบเซพ (biceps) กล้ามเนื้อไตรเซฟ (triceps) ลักษณะแขน
หดตัว
คลายตัว
คลายตัว
หดตัว
งอเข้า
เหยียดตรง
filament
• 7. การเคลื่อนไหวของพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
• 7.1 หารเคลื่อนไหวที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโต (growth
movement) ได้แก่
• การเคลื่อนไหวโดยอัตโนวัติ (autonomic movement) เกิดจากฮอร์โมน
ออกซิน
• ซึ่งพบมากบริเวณปลายยอดกระจายไม่เท่ากัน ท่าให้เกิดการยืดตัวไม่เท่ากัน
ปลายยอดพืชจึงเกิดการเคลื่อนไหว 2 รูปแบบ คือ
• การเคลื่อนไหวแบบนิวเทชัน (nutation movement) : ปลายยอดสั่น
เอนโยกไปมา เช่น ปลายยอดถั่ว
• การเคลื่อนไหวไปแบบสไปรัล (spiral movement) : ปลายยอดบิดเป็น
เกลียวโค้งอ้อมพ้นหลัก เช่น ปลายยอดเถาวัลย์
• การเคลื่อนไหวเพื่อตอบสนองสิ่งเร้า (paratonic movement) เกิดจากสิ่ง
เร้าภายนอกกระตุ้นให้ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตกระจายในบริเวณต่างๆ
ไม่เท่ากัน ท่าให้เกิดการเคลื่อนไหว 2 รูปแบบ คือ
1 ) การเคลื่อนไหวแบบนาสติก (nastic movement) : เป็น
การเคลื่อนไหวที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า เช่น
• การหุบบานของดอกไม้เกิดจาก
• กลุ่มเซลล์ด้านในกลีบดอกเจริญเร็วกว่าด้านนอก ท่าให้ดอกไม้บาน เรียกว่า เอพินาสตี
(epinasty)
• กลุ่มเซลล์ด้านนอกกลีบดอกเจริญเร็วกว่าด้านใน ท่าให้ดอกไม้หุบ เรียกว่า ไฮโพนาสตี
(hyponasty)
• การหุบบานของดอกบัว ดอกกระบองเพชร เกิดจากแสงเป็นสิ่งเร้า จึงเรียก โฟโทนาสตี
(photonasty)
• การบานของดอกทิวลิป , ดอกบัวสวรรค์ เกิดจากอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า จึงเรียก เทอร์โมนาสตี
(thermonasty)
2) การเคลื่อนไหวแบบทรอฟิก (tropic movement) : เป็นการ
เคลื่อนไหวที่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า เช่น
รูปแบบการเคลื่อนไหว สิ่งเร้า ตัวอย่าง
โฟโททรอพิซึม
(phototropism)
จีโอทรอพิซึม (geotropism)
เคมอทรอพิซึม
(chemotropism)
ทิกมอทรอพิซึม
(thigmotropism)
ไฮโดรทรอพิซึม
(hydrotropism)
แสง
แรงโน้มถ่วง
สารเคมี
การสัมผัสน้า
การเอนหาแส้งของลาต้น (positive
phototropism)
การงอกของรากหนีแสง (negative
phototropism)
การงอกของรากเข้าหาแรงโน้มถ่วง
(positive geotropism)
การงอกของลาต้นหนีแรงโน้มถ่วง
(negative geotropism)
การงอกของละอองเรณูเข้าหากลูโคส
(positive chemotropism)
การเกาะหลักของมือเกาะองุ่น ตาลึง
พวงชมพู
การงอกของรากเข้าหาน้า
• 7.2 การเคลื่อนไหวที่เกิดจากความแตกต่าง (turgor
movement) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์ ทาให้
แรงดันเต่งเซลล์เปลี่ยนไป มีหลายรูปแบบ เช่น
• sleep movement : พบในพืชตระกูลถั่ว เช่น จามจุรี มะขาม กะถิน ถั่ว
๚ล๚ เนื่องจากก้านใบมีลักษณะพองออกมา เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus)
มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
• กลางคืน เซลล์พัลไวนัสสูญเสียน้่า ท่าให้เซลล์แฟบ ใบจึงหุบและห้อยลง
• กลางวัน เซลล์พัลไวนัส ได้รับน้่าขึ้นมา ท่าให้เซลล์เต่ง ใบจึงกางออก
• contact movement : พบในใบไมยราบ กาบหอยแครง หรือสาหร่ายข้าว
เหนียว
• มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
• guard cell movement : เกิดจากเซลล์คุมมีแรงดันเต่ง ท่าให้
ปากใบเปิด และเมื่อเซลล์คุมสูญเสียน้่า เซลล์จะเหี่ยว ปากใบจึงปิด

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 

Viewers also liked

ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม่Jutharat
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial musclesLisalou82
 
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointsupamitr
 
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...Prachoom Rangkasikorn
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 

Viewers also liked (20)

vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อชนิดของกล้ามเนื้อ
ชนิดของกล้ามเนื้อ
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
Facial muscles
Facial musclesFacial muscles
Facial muscles
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
ชีววิทยา หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.2
 
Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"Training for trainer "Teaching Science in English language"
Training for trainer "Teaching Science in English language"
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
กิจกรรมสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ (Traning for trainer23 24 march 2013)
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)Prajak NaJa
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfRatarporn Ritmaha
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdfบทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
บทที่ 2.1 การเคลื่อนไหวของมนุษย์ ST.pdf
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Skeleton
SkeletonSkeleton
Skeleton
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

  • 2. • เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตชั้นต่่า จนถึงมนุษย์ มีด้วยกันหลายหัวข้อ เช่น ระบบโครงสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อของ สัตว์มีกระดูกสันหลัง กลไก การเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง เป็นต้น หัวข้อที่น่าสนใจและควรท่าความเข้าใจมีได้ ดังนี้ • 1. การเคลื่อนไหวของอะมีบา (amoeboid movement) เกิดจากการแปร สภาพกลับไปมาของ เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) ซึ่งมีลักษณะข้นหนืด กับ เอนโดพลาซึม (endoplasm) ซึ่งมีลักษณะเหลวและไหลได้ โดยการหดและ คลายของเส้นใยโปรตีนในไซโทพลาซึม คือ ไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament) ซึ่งประกอบด้วย แอกทิน (actin) และ ไมโอซิน (myosin) ท่าให้เกิด เท้าเทียม (pseudopodium) ยื่นออกไปได้ พบใน โพรติสต์หลายชนิด เช่น อะมีบา (Amoeba) อาร์เซลลา (Arcella) ดิฟฟลู เกีย (Difflugia) ฟอรามินิเฟอรา (Foraminifera) นอกจากนี้ยังพบใน รา เมือก (Smile mold) เซลล์อะมีโบไซต์ (Amoebocyte) ของฟองน้่า เซลล์เม็ดเลือดขาวของมนุษย์ เป็นต้น
  • 4. • 2. การเคลื่อนไหวโดยใช้แฟลเจลลัม (flagellum) พบในพวกยูกลีนา (Euglena) เซอราเทียม (Ceratium) วอลวอกซ์ (Volvox) คลามิโดแนส (Chlamydomonas) • ทริปพาโนโซมา (Trypanosoma) ฯลฯ • แฟลเจลลัมโบกพักจากโคนไปสู่ปลาย ทาให้แฟลเจลลัมเคลื่อนไหวแบบลูกคลื่น และ เกิดแรงผลักให้โพรทิสต์เคลื่อนที่ไปยังทิศต่างๆ ได้ • โครงสร้างภายในประกอบด้วย ไมโครทิวบูล (microtubule) เรียงตัวแบบ 9+2 ( อยู่ตรงแกนกลาง 2 หลอด ล้อมรอบด้วยไมโครทิวบูลที่อยู่กันเป็นคู่เรียงโดยรอบ 9 คู่ ) Flagellum
  • 5. • 3. การเคลื่อนไหวโดยใช้ซิเลีย (cilia) พบในพวกพารามีเซียม (Paramecium) • วอร์ติเซลลา (Vorticella) ดิดิเนียม (Didinium) ฯลฯ • การโบกพัดกลับไปมาของซิเลียคล้ายกรรเชียงเรือ ทาให้โพรทิสต์เคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง • โครงสร้างภายในประกอบด้วยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9+2 เช่นเดียวกับแฟลเจลลัม • ** ข้อควรทราบ ** • ตรงส่วนโคนของแฟลเจลลัม หรือซิเลียที่ฝังในเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า • เบซัลบอดี (basal body) หรือ ไคนีโทโซม (kinetosome) ประกอบด้วยไมโครทิวบูลเรียงตัวแบบ 9+0 ( มีไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 หลอดเรียงเป็นวงโดยรอบแกนกลาง ซึ่งไม่มีไมโครทิวบูล ) • หากตัดเบซัลบอดีออกจากเซลล์ จาให้ทาให้แฟลเจลลัม และซิเลยเคลื่อนไหวไม่ได้ cilia
  • 6. • 4. การเคลื่อนไหวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ • ฟองน้า (sponge) ในระยะตัวอ่อนมีแฟลเจลลัมหลายเส้นจึงว่ายน้าได้ อย่างอิสระ เมื่อโตเต็มวัยจะมีการเคลื่อนไหวเฉพาะ เซลล์ปอกคอ (collar cell) โบกพัดน้าและอาหารเข้าสู่ช่องว่างในลาตัว sponge
  • 7. • ไฮดรา (hydra) มีการยืดหดตัวทาให้เคลื่อนที่แบบตีลังกาและแบบคลืบ คลาน hydra
  • 8. • แมงกะพรุน (jelly fish) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบ กระดิ่งและผนังลาตัว ทาให้เกิดการพ่นน้าออกจากลาตัว เกิดแรงดันให้ เคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางที่น้าพ่นออกมา jelly fish
  • 9. • พลานาเรีย (planaria) เคลื่อนที่โดยอาศัยการหดและคลายตัวสลับกันของ กล้ามเนื้อวงกลม (circular muscle) และ กล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) และมี กล้ามเนื้อยึดระหว่างส่วนบนกับส่วนล่าง ของลาตัว (dorsoventral muscle) ช่วยทาให้ลาตัวแบนพลิ้วไปในน้า planaria
  • 10. • พยาธิตัวกลม (nematodes) เคลื่อนที่โดยอาศัยกล้ามเนื้อ ตามยาว จึงเคลื่อนไหวเป็นลักษณะงอตัวสลับไปมา บังคับทิศ ทางการเคลื่อนที่ไม่ได้ nematodes
  • 11. • ไส้เดือนดิน (earth worm) เคลื่อนที่โดยการหดและคลายตัวสลับกันแบบ • แอนตาโกนิซึม (antagonism) ของกล้ามเนื้อวงกลม ซึ่งอยู่ชั้นนอก และ กล้ามนื้อตามยาว ซึ่งอยู่ชั้นในโดยแต่ละปล้องมี เดือย (setae) ช่วยยึดพื้น ทา ให้การเคลื่อนที่มีทิศทางแน่นอน earth worm
  • 12. • หอยฝาเดียว (gastropods) เคลื่อนที่โดยใช้ เท้า (foot) ซึ่งเป็น กล้ามเนื้อหนาและแบนอยู่ด้านท้อง ส่วน หอยสองฝา (bivalves) นอกจากเคลื่อนที่โดยใช้เท้าซึ่งเป็นกล้ามเนื้อยื่นออกมาเพื่อคืบคลานแล้ว ยังว่ายน้า โดยการปิดเปิดฝาสลับกันอีกด้วย gastropods
  • 13. • หมึก (Squid) เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบท่อพ่นน้า ซึ่ง เรียกว่า ไซฟอน (siphon) ทาให้น้าถูกพ่นออกมาเกิดแรงดันให้หมึก เคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันข้าม Squid
  • 14. • ดาวทะเล (sea star) เคลื่อนที่โดยอาศัย ระบบท่อน้า (water vascular system) กล่าวคือ มีการลาเลียงน้าเข้า มาดรีโพไรต์ (madreporite) แล้วน้าจะไหลไปตามท่อในแต่ ละแฉก ซึ่งมีท่อแยกมากมายตรงส่วนปลายมีกระเปาะกล้ามเนื้อ เรียกว่า แอมพูลลา • (ampulla) เมื่อหดตัวจะดันน้าเข้าสู่ ทิวบ์ฟิต (tube feet) ให้ยืดตัวออกมา เมื่อคลายตัว ทิวบ์ฟิตก็หดสั้นการยืด และหอของทิวบ์ฟิตต่อเนื่องกันทาให้ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้ sea star
  • 15. • แมลง (insect) เคลื่อนที่โดยการทางานแบบแอนตาโกนิซึมของ กล้ามเนื้อลายซึ่งพบที่ข้อต่อรยางค์ต่างๆ และบริเวณโคนปีกกับส่วนอก ดังนี้ รูปแบบ การทางานของกล้ามเนื้อ ปีก 1 2 ชุดในหดตัว ชุดนอกคลายตัว ชุดในคลายตัว ชุดนอกหดตัว ตามขวางหดตัว ตามยาวคลายตัว ตามขวางคลายตัว ตามยาวหดตัว ขยับสูงขึ้นกดต่่าลง ขยับสูงขึ้นกดต่่าลง
  • 16. • 5. การเคลื่อนไหวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีหลากหลายรูปแบบ ดังนี้ • ??? ปลา (fish) มีการเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง มีกล้ามเนื้อยึดติดกับกระดูกสันหลัง ทางานตรงข้ามกับแอนตาโกนิซึม กล่าวคือ เมื่อกล้ามเนื้อด้านหนึ่งหดตัวอีกด้านก็ จะคลายตัว ทาให้ปลาเคลื่อนที่คล้ายตัวเอส (S) หัวและหางจะสะบัดไปคนละทาง นอกจากนี้ปลายังมีครีบช่วยทาหน้าที่ ดังนี้ • ครีบอก (pectoral fin) : ช่วยให้เคลื่อนที่ขึ้นลงแนวดิ่ง , เลี้ยวซ้ายและขวา หยุด • การเคลื่อนที่ • ครีบหลัง (dorsal fin) : ช่วยไม่ให้ปลาเอียงขวาหรือซ้าย ( ส่วนม้าน้าใช้ เคลื่อนที่โดยตรง ) • ครีบก้น (anal fin) : ช่วยพยุงไม่ให้ส่วนท้องพลิกหงาย • ครีบหาง (caudal fin) : ช่วยให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ( ส่วนม้าน้าใช้ยึดเกาะ )
  • 17. วาฬ โลมา พยูน ปรับขาหน้าเป็นครีบ ไม่มีขาหลัง มีหางแบน ใช้ตวัดขึ้นลงแนวตั้งฉากกับพื้นน้า ทาให้ เคลื่อนที่ได้ ส่วนพวกเต่าทะเล แมวน้า นกเพนกวินปรับขาหน้า คล้ายใบพายเรียกว่า ฟลิปเปอร์ (flipper) ช่วยให้ว่ายน้าดีขึ้น สาหรับ เป็ดและกบ มีแผ่นหนังบางๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้า เรียกว่า เว็บ (web) ทาให้โบกพัดน้าดีขึ้น • นก (bird) เคลื่อนที่ในอากาศได้ เพราะมีการปรับตัว ดังนี้ • โครงสร้างกระดูกกลวงเป็นโพรง เหนียวและแข็ง ช่วยให้น้าหนักตัวน้อย กระดูกอกเป็นเส้นลึกช่วยให้ กล้ามเนื้อยึดเกาะได้ดี และขาคู่หน้าเปลี่ยนเป็นปีกขนาดใหญ่ • มีถุงลม (air sic) 9 ถุงเชื่อมต่อกับปอด ช่วยในการหายใจและระบายความร้อน • มีขนเป็นแผง (feather) น้าหนักเบา และพยุงอากาศได้ดี มีโปรตีนเคลือบผิวนอก • ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ลาไส้ใหญ่สั้น ของเสียสะสมน้อยน้าหนักตัวจึงน้อยลง • การเคลื่อนที่ของนกเกิดจากการทางานแบบแอนตาโกนิซึมของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ดังนี้ กล้ามเนื้อปีก ( ด้านใน ) กล้ามเนื้อกดปีก (ด้านนอก ) ปีก หดตัว คลายตัว คลายตัว หดตัว ยกขึ้น หุบลง
  • 18. bird
  • 19. • สัตว์ครึ่งบอกครึ่งน้า ปรับโครงร่างค้าจุนให้แข็งแรงรองรับน้าหนักร่างกายได้ โดยลดจานวนข้อกระดูกสันหลังเหลือเพียง 9 ข้อ กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อยึด เกาะกระดูกแข็งแรง กระดูกขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้ามาก ช่วยให้ถีบตัวเอง ให้กระโดดไปได้ไกลๆ • สัตว์เลื้อยคลาน มีกระดูกสันหลังยาวขึ้น มีกระดูกคอและมีกระดูกซี่โครง ปลายนิ้วมีเล็บแหลมช่วยให้คลานและปีนป่ายได้ดี การหดและคลายตัวของ กล้ามเนื้อแบบแอนตาโกนิซึมทาให้ลาตัวสัตว์เลื้อยคลานโค้งงอสะบัดไปมา คล้ายรูปตัว (S) • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม มีระบบโครงร่างค้าจุนเจริญดีมาก กระดูกแข็งแรง บริเวณข้อต่อของกระดูกแขน ขา และปลายกระดูกซี่โครงเป็นกระดูกอ่อน มี กล้ามเนื้อทางานแบบแอนตาโกนิซึม เช่น • กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ (flexor) และกล้ามเนื้อโพรแทรกเตอร์ (protractor) หดตัวทาให้ขางอและก้าวไปข้างหน้า • กล้ามเนื้อเอกเทนเซอร์ (extensor) และกล้ามเนื้อรีแทรกเตอร์ (retractor) หดตัวทาให้ขาเหยียดตรง และถีบตัวให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
  • 21. • 1. กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) เป็นโครงกระดูก แกนกลางของร่างกายมี 80 ชิ้น ได้แก่ ??? กระดูกศีรษะ (skull) 29 ชิ้น • - กะโหลกสันหลัง (vertebrae) 26 ชิ้น ประกอบด้วย • - กระดูกสันหลังบริเวณคอ (cervical vertebrae) 7 ชิ้น • - กระดูกสันหลังบริเวณอก ( thoracic vertebrae) 12 ชิ้น • - กระดูกสันหลังบริเวณสะเอว (lumbar vertebrae) 5 ชิ้น • - กระดูกกระเบนเหน็บ (sacrum) 1 ชิ้น • - กระดูกก้นกบ (coccyx) 1 ชิ้น • กระดูกซี่โครง (ribs) 24 ชิ้น • กระดูกอก (sternum) 1 ชิ้น
  • 22. • 2 . กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) เชื่อมต่อกับ กระดูกแกนมี 126 ชิ้น ได้แก่ ??? กระดูกแขน (2 ข้างรวม 60 ชิ้น ) ประกอบด้วย • - กระดูกต้นแขน (humerus) - กระดูกปลายแขนท่อนนอก (radius) • - กระดูกปลายแขนท่อนใน (ulna) - กระดูกข้อมือ (carpals) • - กระดูกฝ่ามือ (metacarpals) - กระดูกนิ้วมือ (phalanges) • - กระดูกขา (2 ข้างรวม 60 ชิ้น ) ประกอบด้วย • - กระดูกโคนขา (femur) - กระดูกสะบ้า (patella) • - กระดูกหน้าแข้ง (tibia) - กระดูกน่อง (fibula) • - กระดูกข้อเท้า (tarsals) - กระดูกฝ่าเท้า (metatarsals) • - กระดูกนิ้วเท้า (phalanges) • - กระดูกไหปลาร้า ( clavicle) 2 ชิ้น • - กระดูกสะบัก (scapula) 2 ชิ้น • - กระดูกเชิงกราน (pelvic girdle) 2 ชิ้น
  • 23. • ** ข้อควรทราบ** • กระดูกของมนุษย์มีโครงสร้างแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • กระดูกอ่อน (cartilage) ประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อน (chondorcyte) สาร ระหว่างเซลล์และเส้นใย (fiber) ไม่มีเส้นเลือดหล่อเลี้ยง มี 3 ชนิดคือ • * กระดูกอ่อนไฮอะลีน (hyaline cartilage) มีเส้นใยแทรกอยู่น้อยมาก เช่น • กระดูกอ่อนที่ผนังกั้นรูจมูก • * กระดูกอ่อนไฟโบร์ (fibro cartilage) มีเส้นใยคอลลาเจน (collagen fiber) • แทรกอยู่มาก จึงเหนียวและแข็งแรง เช่น กระดูกอ่อนที่กั้นระหว่างข้อของ กระดูกสันหลัง • * กระดูกอ่อนอิลาสติก (elastic cartilage) มีเส้นใยอิลาสติก (elastic fiber) • แทรกอยู่มาก จึงมีความยืดหยุ่น เช่น กระดูกอ่อนที่ใบหู • กระดูก (bone) ประกอบด้วย เซลล์กระดูก (osteocyte) สารระหว่างเซลล์และ • เส้นใย มีผลึกไฮดรอกซีอะพาไทต์ (hydroxyapatite) เสริมให้มีความแข็ง เนื้อกระดูก ด้านนอกแน่นทึบ มีหลอดเลือดแทรกมาหล่อเลี้ยง ส่วนตรงกลางเป็นโพรง คล้ายฟองน้่า มี ไขกระดูก (bone marrow) ที่หน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดและ เซลล์เม็ดเลือดขาว
  • 24. • ข้อต่อของกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ระบบคือ • 1 ) ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (immovable joint) ท่าหน้าที่ยึดกระดูก เช่น ข้อต่อที่ กะโหลกศีรษะ • 2 ) ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (movable joint) ท่าให้กระดูกเคลื่อนไหวทิศทางเดียว เช่น ที่นิ้วมือ นิ้วเท้า หรือ เคลื่อนไหวหลายทิศทาง เช่น หัวไหล่ และสะโพก เป็นต้น • บริเวณข้อต่อของกระดูกจะไม่สัมผัสกัน เพราะมีน้่า ไขข้อ (synovial fluid) อยู่ ช่วยลด การเสียดสีของกระดูกขณะเคลื่อนไหว • กระดูกอาจเชื่อมติดต่อกันด้วย เอ็น (Ligament) ซึ่งมีความเหนียวและช่วยบังคับให้ กระดูกเคลื่อนไหวในวงจ่ากัดและมีเอ็นยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับกระดูกเรียกว่า เท็นดอน (tendon) ช่วยในการเคลื่อนไหว • ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อมี หมอนรองกระดูก (intervertebral disc) รองรับ ช่วยป้องกันการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว • กระดูกซี่โครง (12 คู่ ) เชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก ( ยกเว้นคู่ที่ 11 และ 12 เป็นซี่สั้นๆ ไม่เชื่อม กับกระดูกหน้าอก
  • 26. • ระบบกล้ามเนื้อ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยกล้ามเนื้อมากกว่า 500 มัด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ • กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) • เซลล์มีรูปร่างเรียว หัวท้ายแหลม มี 1 นิวเคลียส เห็นเด่นชัด • อยู่นอกอ่านาจจิตใจ (involuntary muscle) • การหดและคลานตัวเกิดช้าๆ พบในอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร • ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ และหลอดเลือด • กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) • เซลล์มีหลายนิวเคลียส มักแยกเป็น 2 แฉก เรียงติดต่อกับแฉกของเซลล์อื่นๆ ดู คล้ายร่างแห เห็นเป็นลาย • อยู่นอกอ่านาจจิตใจ • ท่างานติดต่อกันตลอดเวลา พบเฉพาะที่หัวใจเท่านั้น
  • 27. • ระบบกล้ามเนื้อลาย (striated muscle) • เซลล์มีหลายนิวเคลียส ลักษณะเป็นเส้นใยคล้ายทรงกระบอกยาว • อยู่ในอานาจจิตใจ (Voluntary muscle) สั่งงานได้โดยการควบคุม ของระบบประสาทส่วนกลาง • พบมากที่สุดในร่างกายโดยยึดเกาะกับกระดูก ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวได้ muscle
  • 28. • เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) มีนิวเคลียสหลายนิวเคลียสติดกับ เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า ซาร์โคเลมมา (sarcolemma) ภายในไซโทพลา ซึมของเซลล์เรียกว่า ซาร์โคพลาซึม (sarcoplasm) ประกอบด้วยเส้นใย ฝอย เรียกว่า ไมโอไฟบริล (myofibril) จานวนมาก และภายในเส้นใย ฝอยก็ยังประกอบด้วย ไมโอฟิลาเมนต์ (myofilament) ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ • ฟิลาเมนต์ชนิดหนา (thick filament) ประกอบด้วย ไมโอซิน (myosin) พันกันเป็นเกลียว ปลายสุดม้วนตัวเป็นก้อนกลม คล้ายตะขอ และรวมกันเป็นมัด • ฟิลาเมนต์ชนิดบาง (thin filament) ประกอบด้วยโปรตีนแอกทิน (actin) เป็นก้อนกลมเรียงต่อกันเป็นสายยาวและพันกันเป็นเกลียว • การเรียงตัวของไมโอซินและแอกทินขนานกัน ทาให้กล้ามเนื้อเป็นลายยาว ขาวดาสลับกัน
  • 29. • การเลื่อนเข้าหากัน หรือการเลื่อนออกจากกันของไมโอซินและแอกทิน โดยอาศัยพลังงานจาก ATP ทาให้กล้ามเนื้ออีกด้านหนึ่งจะคลายตัว ดังนี้ ชนิดกล้ามเนื้อ การทางาน การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้น แฟลกเซอร์ (flexor) เอกซ์เทนเซอร์ (extensor) โพรแทรกเตอร์ (protractor) รีแทรกเตอร์ (retractor) แอบดักเตอร์ (abductor) แอดดักเตอร์ (adductor) หดตัว หดตัว หดตัว หดตัว หดตัว หดตัว อาศัยงอเข้า อาศัยเหยียดออก อาศัยเคลื่อนไปข้างหน้า อาศัยเคลื่อนไปข้างหลัง อาศัยเคลื่อนกางออกไปด้านข้าง อาศัยหุบเข้าแนบลาตัว
  • 30. • การเคลื่อนไหวของแขนเกิดจากการหดและคลายตัวของ กล้ามเนื้อ ดังนี้ กล้ามเนื้อไบเซพ (biceps) กล้ามเนื้อไตรเซฟ (triceps) ลักษณะแขน หดตัว คลายตัว คลายตัว หดตัว งอเข้า เหยียดตรง filament
  • 31. • 7. การเคลื่อนไหวของพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • 7.1 หารเคลื่อนไหวที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโต (growth movement) ได้แก่ • การเคลื่อนไหวโดยอัตโนวัติ (autonomic movement) เกิดจากฮอร์โมน ออกซิน • ซึ่งพบมากบริเวณปลายยอดกระจายไม่เท่ากัน ท่าให้เกิดการยืดตัวไม่เท่ากัน ปลายยอดพืชจึงเกิดการเคลื่อนไหว 2 รูปแบบ คือ • การเคลื่อนไหวแบบนิวเทชัน (nutation movement) : ปลายยอดสั่น เอนโยกไปมา เช่น ปลายยอดถั่ว • การเคลื่อนไหวไปแบบสไปรัล (spiral movement) : ปลายยอดบิดเป็น เกลียวโค้งอ้อมพ้นหลัก เช่น ปลายยอดเถาวัลย์ • การเคลื่อนไหวเพื่อตอบสนองสิ่งเร้า (paratonic movement) เกิดจากสิ่ง เร้าภายนอกกระตุ้นให้ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตกระจายในบริเวณต่างๆ ไม่เท่ากัน ท่าให้เกิดการเคลื่อนไหว 2 รูปแบบ คือ
  • 32. 1 ) การเคลื่อนไหวแบบนาสติก (nastic movement) : เป็น การเคลื่อนไหวที่ไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า เช่น • การหุบบานของดอกไม้เกิดจาก • กลุ่มเซลล์ด้านในกลีบดอกเจริญเร็วกว่าด้านนอก ท่าให้ดอกไม้บาน เรียกว่า เอพินาสตี (epinasty) • กลุ่มเซลล์ด้านนอกกลีบดอกเจริญเร็วกว่าด้านใน ท่าให้ดอกไม้หุบ เรียกว่า ไฮโพนาสตี (hyponasty) • การหุบบานของดอกบัว ดอกกระบองเพชร เกิดจากแสงเป็นสิ่งเร้า จึงเรียก โฟโทนาสตี (photonasty) • การบานของดอกทิวลิป , ดอกบัวสวรรค์ เกิดจากอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า จึงเรียก เทอร์โมนาสตี (thermonasty)
  • 33. 2) การเคลื่อนไหวแบบทรอฟิก (tropic movement) : เป็นการ เคลื่อนไหวที่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า เช่น รูปแบบการเคลื่อนไหว สิ่งเร้า ตัวอย่าง โฟโททรอพิซึม (phototropism) จีโอทรอพิซึม (geotropism) เคมอทรอพิซึม (chemotropism) ทิกมอทรอพิซึม (thigmotropism) ไฮโดรทรอพิซึม (hydrotropism) แสง แรงโน้มถ่วง สารเคมี การสัมผัสน้า การเอนหาแส้งของลาต้น (positive phototropism) การงอกของรากหนีแสง (negative phototropism) การงอกของรากเข้าหาแรงโน้มถ่วง (positive geotropism) การงอกของลาต้นหนีแรงโน้มถ่วง (negative geotropism) การงอกของละอองเรณูเข้าหากลูโคส (positive chemotropism) การเกาะหลักของมือเกาะองุ่น ตาลึง พวงชมพู การงอกของรากเข้าหาน้า
  • 34. • 7.2 การเคลื่อนไหวที่เกิดจากความแตกต่าง (turgor movement) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์ ทาให้ แรงดันเต่งเซลล์เปลี่ยนไป มีหลายรูปแบบ เช่น • sleep movement : พบในพืชตระกูลถั่ว เช่น จามจุรี มะขาม กะถิน ถั่ว ๚ล๚ เนื่องจากก้านใบมีลักษณะพองออกมา เรียกว่า พัลไวนัส (pulvinus) มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ • กลางคืน เซลล์พัลไวนัสสูญเสียน้่า ท่าให้เซลล์แฟบ ใบจึงหุบและห้อยลง • กลางวัน เซลล์พัลไวนัส ได้รับน้่าขึ้นมา ท่าให้เซลล์เต่ง ใบจึงกางออก • contact movement : พบในใบไมยราบ กาบหอยแครง หรือสาหร่ายข้าว เหนียว
  • 36. • guard cell movement : เกิดจากเซลล์คุมมีแรงดันเต่ง ท่าให้ ปากใบเปิด และเมื่อเซลล์คุมสูญเสียน้่า เซลล์จะเหี่ยว ปากใบจึงปิด