SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                   ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท




                   ศูนย์ การเรียนที่ 3
               การทางานของเซลล์ ประสาท
                                  อย่ าพึงเบื่อนะ ไปศึกษาการทางาน
                                         ่
                                  ของเซลล์ประสาทกันต่ อเลยนะคะ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   22




                                       บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3
                                การทางานของเซลล์ประสาท
       โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
       1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
       2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง
       3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                 ้
       4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม       ิ
       5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
       6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัตกจกรรมเรียบร้ อยแล้ ว ขอให้ ทุกคนเก็บ
                                                               ิิ
            บัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้ นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม
                                                                                    ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                       ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   23




                                         บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3
                                                ้

                                  การทางานของเซลล์ประสาท

                             กระแสประสาทเกิดขึนได้ อย่ างไร และเกียวข้ อง
                                              ้                   ่
                            กับกระบวนการโซเดียม โพแทสเซียมปั๊ม อย่างไร




                                       การเกิดกระแสประสาท
        ทีมา :mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../NaKpump.jpg 289 x 265 - 11k (3 เมษายน 2550)
          ่

   จุดประสงค์ การเรียนรู้
            1. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดกระแสประสาทได้
            2. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดสารสื่ อประสาทได้
            3. นักเรียนสามารถอธิบายกระบวนการโซเดียม-โพแทสเซียมปั้มได้
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   24




                                    การเกิดกระแสประสาท
           กระแสประสาท จะเกิดขึนได้ เมื่อมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นเซลล์ ประสาท จนถึงระดับหนึ่งที่
                                    ้
 เซลล์ประสาทจะตอบสนอง การเกิดกระแสประสาทเป็ นปฏิกริยาไฟฟาเคมี (electrochemical
                                                                  ิ   ้
 reaction) ซึ่งเป็ นผลทีเ่ กิดจากการเคลือนทีของประจุไฟฟาผ่ านเข้ าออกจากเซลล์ ประสาท เรียก
                                        ่ ่              ้
 กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั้ม ซึ่งมีอยู่ท้งหมด 4 ขั้นตอน คือ
                                                ั
           1. ระยะพัก (resting stage) เป็ นภาวะปกติขณะทียังไม่ ถูกกระตุ้นหรือไม่ มี impulse
                                                            ่
 ผ่าน ซึ่งเรียกว่า Resting stage หรือ Polarization สารละลายภายนอกและภายในเซลล์
 ประสาท จะมีประจุไฟฟาต่ างกัน เรี ยกว่ ามีความต่ างศักย์ ไฟฟา ประมาณ -70 มิลลิโวลต์ โดย
                           ้                                    ้
 ภายนอกเซลล์ มีประจุไฟฟาบวกและภายในเซลล์ มีประจุไฟฟาเป็ นลบ เนื่องจากสารละลาย
                              ้                               ้
 ภายนอกเซลล์ส่วนใหญ่ประกอบด้ วย Na+ และ Cl- ส่ วนภายในเซลล์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้ วย
 K+ และ organic anion ต่ างๆ organic anion นีไม่ สามารถแพร่ ผ่านเยือหุ้มเซลล์ ออกมาได้ (
                                                     ้                  ่
 ไม่ ว่าในภาวะปกติหรือภาวะทีถูกกระตุ้น ) จึงทาให้ ภายในเซลล์ มประจุไฟฟาลบมากกว่าภายนอก
                                 ่                                  ี     ้
 เซลล์ อีกทั้งยังเกิด Na – K pump ขับ Na+ ออกจากเซลล์และดึง K+ เข้ าภายในเซลล์ตลอด
 เป็ นผลให้ มี Na+ ภายนอกเซลล์มากกว่า 10 เท่าของภายในเซลล์และ K+ ภายในเซลล์มากกว่า
 30 เท่าของ K+ ภายนอกเซลล์




                                      ระยะพักของเซลล์ประสาท
              ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../NaKpump.jpg 289 x 265 - 11k
                ่
                     (3 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                             ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท     25




          2. ระยะดีโพลาไรเซชัน ( depolarization ) เมื่อมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นทีเ่ ยือหุ้มเซลล์ ประสาทช่ อง
                                                                                  ่
โซเดียมจะเปิ ดออกทาให้ Na+ จากภายนอกเข้ ามาภายในเซลล์ มากขึน จึงเกิดการเปลียนแปลงประจุ
                                                                      ้                   ่
ทีผวด้ านนอกเป็ นลบ ประจุด้านในเป็ นบวกความต่ างศักย์ จะเปลียนจาก -70 เป็ น +50 มิลลิโวลต์
  ่ ิ                                                              ่
การเปลียนแปลงของประจุทเี่ ยือหุ้มเซลล์ เป็ นผลทาให้ เกิดแอกชั นโพเทนเชี ยล (action potential )
        ่                    ่
หรือ กระแสประสาทขึน   ้
          3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (repolarization) มีการเปิ ดของช่ องโพแทสเซียม ทาให้ K+
เคลือนทีออกจากภายในสู่ ภายนอกเซลล์ ที่เยือหุ้มเซลล์ ด้านนอกจะเกิดการเปลียนแปลง
      ่ ่                                   ่                                       ่
ความต่ างศักย์ไฟฟา จาก +50 เป็ น – 70 มิลลิโวลต์ ทาให้ ภายนอกเซลล์ เกิดการเปลียนแปลงประจุ
                   ้                                                                    ่
เป็ นลบอีกครั้งหนึ่ง




                                  ภาพแสดงระยะ ดีโพลาไรเซชัน และรีโพลาไรเซชัน
                     ทีมา : computer.act.ac.th/.../a_07_m_oub_1a.gif 300 x 462 - 63k
                       ่
                             (3 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   26




          4. ระยะกลับคืนสู่ ระยะพัก ( return to resting stage ) ระยะนียงมี K+ อยู่นอกเซลล์
                                                                      ้ั
 มากกว่าระดับปกติ และ Na+ ยังคงอยู่ภายในเซลล์ ดังนั้น เซลล์ จะต้ องปรับสภาพให้ สภาวะทีมี ่
 Na+ อยู่ภายนอกเซลล์ มากกว่ าภายใน และ K+ จะต้ องอยู่ภายในมากกว่ าภายนอก จึงต้ องอาศัย
 กลไกการเกิดโซเดียม-โพแทสเซียมปั้มเพือขับ 3 Na+ ออกนอกเซลล์ และดึง 2 K+ เข้ ามาภายใน
                                          ่
 เซลล์โดยใช้ 1 ATP ทีได้ จากการสร้ างพลังงานในเซลล์ ประสาทเอง เพือทาให้ ปริมาณไอออน
                        ่                                                ่
 ภายในและภายนอกกลับสู่ สภาพดังเดิม




                        ภาพแสดงขั้นตอนการเกิดกระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั้ม
                   ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../run_in_axon.jpg 600 x 413 - 29k
                     ่
                           (3 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท    27




                                          การเกิดสารสื่อประสาท
            ทีบริเวณลายแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่งกับเดนไดรส์ ของอีกเซลล์หนึ่ง เรียกว่า
              ่
   ไซแนปส์ (synapse) ในขณะทีกระแสประสาทเคลือนทีมาถึงปลายแอกซอนของเซลล์ประสาท
                                ่                  ่ ่
   ตัวแรก ปลายแอกซอนนีจะปล่อยสารเคมี เรียกว่า สารสื่ อประสาท ( neurotransmitter ) เข้ าสู่
                          ้
   บริเวณไซแนปส์ ทาให้ กระแสประสาทผ่ านไซแนปส์ เข้ าสู่ เดนไดรส์ ของเซลล์ประสาทตัวทีสองได้
                                                                                       ่
   สารสื่ อประสาทโดยทัวไปมักจะเป็ น อะซิติลโคลิน (acetycholine) เมื่อกระแสประสาทผ่าน
                       ่
   บริเวณไซแนปส์ ไปแล้ ว อะซิติลโคลินจะถูกย่ อยสลายไปโดยเอนไซม์ อะซิติลโคลิน เอสเตอเรส
   (acetycholinesterase) อย่ างรวดเร็ว เพือให้ เซลล์ ประสาททางานได้ อก อะซิติลโคลินจะถูกปล่ อย
                                          ่                          ี
   ออกมาโดยแอกซอนเท่านั้น เดนไดรส์ ปล่อยสารนีออกมาไม่ ได้ จึงทาให้ กระแสประสาทเคลือนที่
                                                     ้                                   ่
   ไปในทิศทางเดียว




                                    ภาพแสดงการเกิดสารสื่ อประสาท
                      ทีมา : www.bloggang.com/.../picture/1175214366.gif 600 x 430 – 68k
                        ่
                             (3 เมษายน 2550)
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                        ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   28



                                           บัตรคาถามศูนย์ที่ 3
                                     การทางานของเซลล์ประสาท
   คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับอักษร ก ข ค ง ทีเ่ ห็นว่าถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว
                                                                              ่
            1. ต่ อไปนีเ้ ป็ นภาวะของเซลล์ ประสาทปกติที่ยงไม่ ถูกกระตุ้น ยกเว้ นข้ อใด
                                                             ั
                     ก. ภายนอกเซลล์ ประสาทมีประจุไฟฟาบวก   ้
                     ข. ภายนอกเซลล์มีโซเดียมไอออนต่ากว่าภายในเซลล์
                     ค. ภายในเซลล์ มีโพแทสเซียมไอออนสู งกว่ านอกเซลล์
                     ง. ความต่ างศักย์ไฟฟาระหว่าผิวด้ านในและด้ านนอกมีค่าประมาณ
                                                    ้
                          -70 มิลลิโวลต์
            2. กระบวนการใดเรียกว่า โซเดียม- โพแทสเซียมปั้ม
                     ก. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงโซเดียมไอออนให้ สะสมอยู่ภายในเซลล์
                             ่
                     ข. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงโพแทสเซียมไอออนให้ สะสมอยู่นอกเซลล์
                                   ่
                     ค. เยือหุ้มเซลล์ จะส่ งโซเดียมไอออนออกไปนอกเซลล์ ตลอดเวลา
                                 ่
                     ง. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงและขับโซเดียมไอออนให้ สะสมอยู่ภายนอกเซลล์
                                     ่
            3. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ ผลของกระบวนการโซเดียม-โพแทสเซียมปั้ม
                                       ้
                     ก. เยือหุ้มเซลล์ ดึงโปรตีนและกรดนิวคลีอกเข้ าภายในเซลล์
                               ่                               ิ
                     ข. ความเข้ มข้ นของ Na+ ภายนอกสู งกว่ าภายใน
                     ค. ความเข้ มข้ นของ K+ ภายนอกน้ อยกว่าภายใน
                     ง. ผิวด้ านในของเยือหุ้มเซลล์ มีประจุลบ ผิวด้ านนอกมีประจุบวก
                                                  ่
            4. ข้ อใดหมายถึงสารสื่ อประสาท
                     ก. สารเคมีทไซแนป์ ปล่ อยออกมา
                                         ี่
                     ข. สารเคมีทใยประสาทเดนไดรส์ ปล่อยออกมา
                                               ี่
                     ค. สารเคมีทปลายประสาทแอกซอนปล่อยออกมา
                                            ี่
                     ง. เกิดหลังจากระยะดีโพลาไรเซชัน
            5. ข้ อใดต่ อไปนีเ้ ป็ นสารสื่ อประสาท
                     ก. อะซิติลโคลิน
                     ข. ออกซีโตซิน
                     ค. อะซิติลโคลิน เอสเตอเรส
                     ง. ถูกทั้งข้ อ ข และ ค
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท   29




                                           บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1
                                     การทางานของเซลล์ประสาท


                                                 1.   ง
                                                 2.   ค
                                                 3.   ก
                                                 4.   ค
                                                 5.   ก



                        เข้ าใจแล้ว ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป
                       หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะคะ

More Related Content

What's hot

รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองWan Ngamwongwan
 

What's hot (16)

รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3

ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3 (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างเซลล์ประสาท ชุดการสอนที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (20)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 7
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท ศูนย์ การเรียนที่ 3 การทางานของเซลล์ ประสาท อย่ าพึงเบื่อนะ ไปศึกษาการทางาน ่ ของเซลล์ประสาทกันต่ อเลยนะคะ
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 22 บัตรคาสั่งศูนย์ ที่ 3 การทางานของเซลล์ประสาท โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัติตามคาสั่ ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัตกจกรรมเรียบร้ อยแล้ ว ขอให้ ทุกคนเก็บ ิิ บัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้ นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 23 บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3 ้ การทางานของเซลล์ประสาท กระแสประสาทเกิดขึนได้ อย่ างไร และเกียวข้ อง ้ ่ กับกระบวนการโซเดียม โพแทสเซียมปั๊ม อย่างไร การเกิดกระแสประสาท ทีมา :mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../NaKpump.jpg 289 x 265 - 11k (3 เมษายน 2550) ่ จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดกระแสประสาทได้ 2. นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดสารสื่ อประสาทได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายกระบวนการโซเดียม-โพแทสเซียมปั้มได้
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 24 การเกิดกระแสประสาท กระแสประสาท จะเกิดขึนได้ เมื่อมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นเซลล์ ประสาท จนถึงระดับหนึ่งที่ ้ เซลล์ประสาทจะตอบสนอง การเกิดกระแสประสาทเป็ นปฏิกริยาไฟฟาเคมี (electrochemical ิ ้ reaction) ซึ่งเป็ นผลทีเ่ กิดจากการเคลือนทีของประจุไฟฟาผ่ านเข้ าออกจากเซลล์ ประสาท เรียก ่ ่ ้ กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั้ม ซึ่งมีอยู่ท้งหมด 4 ขั้นตอน คือ ั 1. ระยะพัก (resting stage) เป็ นภาวะปกติขณะทียังไม่ ถูกกระตุ้นหรือไม่ มี impulse ่ ผ่าน ซึ่งเรียกว่า Resting stage หรือ Polarization สารละลายภายนอกและภายในเซลล์ ประสาท จะมีประจุไฟฟาต่ างกัน เรี ยกว่ ามีความต่ างศักย์ ไฟฟา ประมาณ -70 มิลลิโวลต์ โดย ้ ้ ภายนอกเซลล์ มีประจุไฟฟาบวกและภายในเซลล์ มีประจุไฟฟาเป็ นลบ เนื่องจากสารละลาย ้ ้ ภายนอกเซลล์ส่วนใหญ่ประกอบด้ วย Na+ และ Cl- ส่ วนภายในเซลล์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้ วย K+ และ organic anion ต่ างๆ organic anion นีไม่ สามารถแพร่ ผ่านเยือหุ้มเซลล์ ออกมาได้ ( ้ ่ ไม่ ว่าในภาวะปกติหรือภาวะทีถูกกระตุ้น ) จึงทาให้ ภายในเซลล์ มประจุไฟฟาลบมากกว่าภายนอก ่ ี ้ เซลล์ อีกทั้งยังเกิด Na – K pump ขับ Na+ ออกจากเซลล์และดึง K+ เข้ าภายในเซลล์ตลอด เป็ นผลให้ มี Na+ ภายนอกเซลล์มากกว่า 10 เท่าของภายในเซลล์และ K+ ภายในเซลล์มากกว่า 30 เท่าของ K+ ภายนอกเซลล์ ระยะพักของเซลล์ประสาท ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../NaKpump.jpg 289 x 265 - 11k ่ (3 เมษายน 2550)
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 25 2. ระยะดีโพลาไรเซชัน ( depolarization ) เมื่อมีสิ่งเร้ ามากระตุ้นทีเ่ ยือหุ้มเซลล์ ประสาทช่ อง ่ โซเดียมจะเปิ ดออกทาให้ Na+ จากภายนอกเข้ ามาภายในเซลล์ มากขึน จึงเกิดการเปลียนแปลงประจุ ้ ่ ทีผวด้ านนอกเป็ นลบ ประจุด้านในเป็ นบวกความต่ างศักย์ จะเปลียนจาก -70 เป็ น +50 มิลลิโวลต์ ่ ิ ่ การเปลียนแปลงของประจุทเี่ ยือหุ้มเซลล์ เป็ นผลทาให้ เกิดแอกชั นโพเทนเชี ยล (action potential ) ่ ่ หรือ กระแสประสาทขึน ้ 3. ระยะรีโพลาไรเซชัน (repolarization) มีการเปิ ดของช่ องโพแทสเซียม ทาให้ K+ เคลือนทีออกจากภายในสู่ ภายนอกเซลล์ ที่เยือหุ้มเซลล์ ด้านนอกจะเกิดการเปลียนแปลง ่ ่ ่ ่ ความต่ างศักย์ไฟฟา จาก +50 เป็ น – 70 มิลลิโวลต์ ทาให้ ภายนอกเซลล์ เกิดการเปลียนแปลงประจุ ้ ่ เป็ นลบอีกครั้งหนึ่ง ภาพแสดงระยะ ดีโพลาไรเซชัน และรีโพลาไรเซชัน ทีมา : computer.act.ac.th/.../a_07_m_oub_1a.gif 300 x 462 - 63k ่ (3 เมษายน 2550)
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 26 4. ระยะกลับคืนสู่ ระยะพัก ( return to resting stage ) ระยะนียงมี K+ อยู่นอกเซลล์ ้ั มากกว่าระดับปกติ และ Na+ ยังคงอยู่ภายในเซลล์ ดังนั้น เซลล์ จะต้ องปรับสภาพให้ สภาวะทีมี ่ Na+ อยู่ภายนอกเซลล์ มากกว่ าภายใน และ K+ จะต้ องอยู่ภายในมากกว่ าภายนอก จึงต้ องอาศัย กลไกการเกิดโซเดียม-โพแทสเซียมปั้มเพือขับ 3 Na+ ออกนอกเซลล์ และดึง 2 K+ เข้ ามาภายใน ่ เซลล์โดยใช้ 1 ATP ทีได้ จากการสร้ างพลังงานในเซลล์ ประสาทเอง เพือทาให้ ปริมาณไอออน ่ ่ ภายในและภายนอกกลับสู่ สภาพดังเดิม ภาพแสดงขั้นตอนการเกิดกระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั้ม ทีมา : mulinet6.li.mahidol.ac.th/.../run_in_axon.jpg 600 x 413 - 29k ่ (3 เมษายน 2550)
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 27 การเกิดสารสื่อประสาท ทีบริเวณลายแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่งกับเดนไดรส์ ของอีกเซลล์หนึ่ง เรียกว่า ่ ไซแนปส์ (synapse) ในขณะทีกระแสประสาทเคลือนทีมาถึงปลายแอกซอนของเซลล์ประสาท ่ ่ ่ ตัวแรก ปลายแอกซอนนีจะปล่อยสารเคมี เรียกว่า สารสื่ อประสาท ( neurotransmitter ) เข้ าสู่ ้ บริเวณไซแนปส์ ทาให้ กระแสประสาทผ่ านไซแนปส์ เข้ าสู่ เดนไดรส์ ของเซลล์ประสาทตัวทีสองได้ ่ สารสื่ อประสาทโดยทัวไปมักจะเป็ น อะซิติลโคลิน (acetycholine) เมื่อกระแสประสาทผ่าน ่ บริเวณไซแนปส์ ไปแล้ ว อะซิติลโคลินจะถูกย่ อยสลายไปโดยเอนไซม์ อะซิติลโคลิน เอสเตอเรส (acetycholinesterase) อย่ างรวดเร็ว เพือให้ เซลล์ ประสาททางานได้ อก อะซิติลโคลินจะถูกปล่ อย ่ ี ออกมาโดยแอกซอนเท่านั้น เดนไดรส์ ปล่อยสารนีออกมาไม่ ได้ จึงทาให้ กระแสประสาทเคลือนที่ ้ ่ ไปในทิศทางเดียว ภาพแสดงการเกิดสารสื่ อประสาท ทีมา : www.bloggang.com/.../picture/1175214366.gif 600 x 430 – 68k ่ (3 เมษายน 2550)
  • 8. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 28 บัตรคาถามศูนย์ที่ 3 การทางานของเซลล์ประสาท คาชี้แจง ให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับอักษร ก ข ค ง ทีเ่ ห็นว่าถูกต้ องทีสุดเพียงข้ อเดียว ่ 1. ต่ อไปนีเ้ ป็ นภาวะของเซลล์ ประสาทปกติที่ยงไม่ ถูกกระตุ้น ยกเว้ นข้ อใด ั ก. ภายนอกเซลล์ ประสาทมีประจุไฟฟาบวก ้ ข. ภายนอกเซลล์มีโซเดียมไอออนต่ากว่าภายในเซลล์ ค. ภายในเซลล์ มีโพแทสเซียมไอออนสู งกว่ านอกเซลล์ ง. ความต่ างศักย์ไฟฟาระหว่าผิวด้ านในและด้ านนอกมีค่าประมาณ ้ -70 มิลลิโวลต์ 2. กระบวนการใดเรียกว่า โซเดียม- โพแทสเซียมปั้ม ก. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงโซเดียมไอออนให้ สะสมอยู่ภายในเซลล์ ่ ข. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงโพแทสเซียมไอออนให้ สะสมอยู่นอกเซลล์ ่ ค. เยือหุ้มเซลล์ จะส่ งโซเดียมไอออนออกไปนอกเซลล์ ตลอดเวลา ่ ง. เยือหุ้มเซลล์ จะดึงและขับโซเดียมไอออนให้ สะสมอยู่ภายนอกเซลล์ ่ 3. ข้ อใดต่ อไปนีไม่ ใช่ ผลของกระบวนการโซเดียม-โพแทสเซียมปั้ม ้ ก. เยือหุ้มเซลล์ ดึงโปรตีนและกรดนิวคลีอกเข้ าภายในเซลล์ ่ ิ ข. ความเข้ มข้ นของ Na+ ภายนอกสู งกว่ าภายใน ค. ความเข้ มข้ นของ K+ ภายนอกน้ อยกว่าภายใน ง. ผิวด้ านในของเยือหุ้มเซลล์ มีประจุลบ ผิวด้ านนอกมีประจุบวก ่ 4. ข้ อใดหมายถึงสารสื่ อประสาท ก. สารเคมีทไซแนป์ ปล่ อยออกมา ี่ ข. สารเคมีทใยประสาทเดนไดรส์ ปล่อยออกมา ี่ ค. สารเคมีทปลายประสาทแอกซอนปล่อยออกมา ี่ ง. เกิดหลังจากระยะดีโพลาไรเซชัน 5. ข้ อใดต่ อไปนีเ้ ป็ นสารสื่ อประสาท ก. อะซิติลโคลิน ข. ออกซีโตซิน ค. อะซิติลโคลิน เอสเตอเรส ง. ถูกทั้งข้ อ ข และ ค
  • 9. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 3 เซลล์ประสาท 29 บัตรเฉลยศูนย์ที่ 1 การทางานของเซลล์ประสาท 1. ง 2. ค 3. ก 4. ค 5. ก เข้ าใจแล้ว ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป หมุนเวียนให้ ครบ 4 ศู นย์การเรียนนะคะ