SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
 มีอีกชื่อหนึ่งว่า “อาณาจักรแบคทีเรีย”
 ที่รู้จักและสามารถจาแนกสปีชีส์ได้มีประมาณ 5,000 สปีชีส์
ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิตของแบคทีเรีย
 สามารถอยู่ในที่ๆหนาวจัด ร้อนจัด เค็มจัด และมีความเป็นกรดสูงได้
 เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน
 ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและไม่มี โครงสร้างอื่นอีกหลาย
ชนิดเช่นกอลจิบอดี ไมโทรคอนเดรีย มีขนาดเล็กประมาณ 1 – 5
ไมโครเมตร
 ส่วนใหญ่ที่พบมีเซลล์เดียวหรืออาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือ
เป็นสายมีหลายแบบ เช่น แบคทีเยทรงกลม หรือ ค็อกคัส
(Coccus) ทรงแท่งหรือบาซิลลัส(Basillus) ทรงเกลียวหรื
สไปริลลัม(Spirillum)
 ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่บางส่วนก็สร้างเองโดยใช้
พลังงานจากแสง เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย หรือใช้พลังงานจาก
ปฎิกิริยาเคมี เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย
รูปร่าง กลม เรียกว่า coccus
รูปร่างแบบแท่งยาวเรียกว่า bacillus
รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum
การจาแนก BACTERIA อาศัยลักษณะดังนี้
1.ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง
2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้
 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเอง
ไม่ได้
3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น
 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. เนื่องจากดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลายจึงทาให้เกิดการ
หมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการนามาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมือง
ใหญ่
2. ใช้สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล
3. ใช้กาจัดสารเคมีตกค้างจากการเกษตร
4. แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ช่วยเพิ่มไนโตรเจนในดิน
5. ใช้ผลิตสารเคมีเช่น แอซีโตน กรดแลกติก
6. ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น
น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยว และเนยแข็ง
โทษของแบคทีเรีย
เป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น โรคปอด
บวม วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู และโรคแอนแทรกซ์
จากการศึกษาสายวิวัฒนาการของแบคทีเรีย โดยการเปรียบเทียบ
ลาดับเบสของ DNA RNA รวมทั้งองค์ประกอบของผนังเซลล์และเยื่อหุ้ม
เซลล์สามารถจาแนกออกได้2 อาณาจักรย่อย คือ
 ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria)
 ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
Subkingdom Archaebacteria
เป็นเซลล์แบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน
สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นไม่สามารถ
ดารงชีวิตอยู่ได้เช่น ในแหล่งน้าพุร้อน ทะเลที่มีนาเค็มจัด ในบริเวณ
ที่มีความเป็นกรดสูงและบริเวณทะเลลึก เป็นต้น อาร์เคียแบคทีเรีย
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
 กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา(Euryarchaeota) ซึ่งสร้างมีเทนและชอบ
ความเค็มจัด
 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา(Crenarchaeota) ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและ
กรดจัด
กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา
(Euryarchaeota)
กลุ่มครีนาร์เคียโอตา
(Crenarchaeota)
Subkingdom Eubacteria
ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้า อากาศ
อาหาร นม และในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น สามารถพบได้ทั้ง ใน
น้าเค็ม น้าจืด น้ากร่อย ในธารน้าแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้าพุร้อน
เป็นต้น นอกจากนี้ยูแบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซีมในการ
ดารงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาท
สาคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังนี้
 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
 กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
 กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเม
แทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้าย
พืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้
ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์
แบคทีเรีย (purple sulfur bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊ส
ไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่ง
เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp.
ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น
กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทาให้เกิด
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาวประมาณ
0.25 มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่มนี้มีทั้งดารงชีวิตแบบอิสระและบาง
สปีชีส์เป็นสาเหตุของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น
เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปี
ชีส์สามารถผลิตกรดแลกติกได้เช่น Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต
เป็นต้น บางสปีชีส์ เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาทาปฏิชีวนะ เช่น
ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปี
ชีส์ เช่น Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้
ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีและบางชนิดเป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
Lactobacillus sp.
Steptomyces sp.
แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มทึ่ไม่มีผนังเซลล์มี
เพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมันได้แก่ ไมโค
พลาสมา (mycoplasms) เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 0.2-
0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและสืบพันธุ์ได้นอกเซลล์โฮสต์ ส่วน
ใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางสปีชีส์ที่เป็น
สาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
ไมโครพลาสมา(mycoplasma)
ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้มีสารสีเช่น
คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และโฟโคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อ
หุ้มเซลล์พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่ง
น้าจืด น้าเค็ม บางสปีชีส์พบในบ่อน้าพุร้อน และภายใต้น้าแข็งของ
มหาสมุทร เป็นต้น จากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ทาให้นักวิทยาศาสตร์
คาดคะเนได้ว่าไซยาโนแบคทีเรียทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มขึ้น
มากขึ้นในโลกยุคนั้นและก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจ
โดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน
ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศและบางชนิด
สามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น
แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอ
เรีย (Oscillatoria)
Anabaena Nostoc Oscillatoria
1. อาณาจักรมอเนอรามีอีกชื่อหนึ่งว่าอย่างไร
2. ผนังเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราเป็นแบบใด
3. อาณาจักรมอเนอราสามารถจาแนกได้กี่อาณาจักรย่อย
อะไรบ้าง
>> อาณาจักรแบคทีเรีย
>> ผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน
>> 2 อาณาจักรย่อย คือ ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรีย
ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย
4. เซลล์แบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน
สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นไม่
สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อยู่ในซับคิงดอมอะไร
>> Subkingdom Archaebacteria
5. แบคทีเรียกลุ่มใดสร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด
>> กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา(Euryarchaeota)
6. เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการ
เมแทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้คล้ายพืช คือกลุ่มใด
>> กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
7. เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีสารสี
พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย คือ
แบคทีเรียกลุ่มใด
>> ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
8. จงยกตัวอย่างไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบ
นิเวศและบางชนิดสามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศให้
เป็นสารประกอบไนเตรต
>> แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc)
และออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria)
9. แบคทีเรียใดที่นามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลาย
ชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต
>> Lactobacillus sp.
10. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] ของแบคทีเรีย
แบ่งเป็นกี่แบบ
>> Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
>> Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
อาณาจักรมอเนอรา

More Related Content

What's hot

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 

What's hot (20)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 

Viewers also liked

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 

Viewers also liked (13)

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 

Similar to อาณาจักรมอเนอรา

อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -suchada pimchan
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Choom' B't
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliNittaya Jandang
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 

Similar to อาณาจักรมอเนอรา (20)

อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
Plantae kingdom
Plantae kingdomPlantae kingdom
Plantae kingdom
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
4
44
4
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
1
11
1
 
fungi
fungifungi
fungi
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

อาณาจักรมอเนอรา