SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
มีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย สมอง (brain)
ไขสันหลัง (spinal cord) เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) และ
เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่สาคัญ คือ
เซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron)
ทั่วร่างกายมีเซลล์ประสาทประมาณแสนล้านเซลล์ ประกอบด้วย ตัวเซลล์
(cell body หรือ soma) และส่วนที่เป็นแขนงยื่นออกมาจากตัวเซลล์ เรียก
ใยประสาท (nerve fiber) ตัวเซลล์มีลักษณะค่อนข้างกลมเป็นส่วนของไซโทพลาซึม
และนิวเคลียส ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมี
ออร์แกเนลล์ที่สาคัญคือ ไมโทคอนเดรีย ร่างแหเอนโดพลาซึมและกอลจิบอดีจานวนมาก
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse)
เซลล์ประสาทประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ……………………………………………….
node of Ranvier
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 3กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ประเภทของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทมีหลายประเภท ถ้าจาแนกประเภทโดยใช้ขั้วหรือใยประสาทที่ออกจากตัว
เซลล์เป็นเกณฑ์แบ่งได้ 3 แบบ คือ ……………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 4กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
เซลล์ประสาทขั้วเดียวเป็นเซลล์ประสาทสั่งการของสัตว์มีกระดูกสันหลัง เซลล์ประสาทสองขั้วพบ
บริเวณเรตินาของนัยน์ตา หูชั้นใน และบริเวณออลแฟกทอรีบัลบ์ในสมอง ส่วนเซลล์ประสาทหลายขั้วพบใน
สมองและไขสันหลัง
การแบ่งเซลล์ประสาทโดยใช้การทางานเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 3 แบบ คือ
…………………………………………………….. รับความรู้สึกจากอวัยวะต่างๆส่งไปยังสมองและไขสันหลัง
……………………………………………………….นากระแสประสาทจากสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่างๆ
……………………………………
……………………………………
…………………………………….
นากระแสประสาทระหว่าง
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
กับเซลล์ประสาทสั่งการ
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 5กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
เซลล์ประสาท (……………………………………) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง
พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น เปลี่ยนจากสารเคมี ความร้อน และ
ความดันที่มา…………………………….. ให้เป็น……………………………………………………
ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ ………………………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 6กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Dendrite
-………………………………………………………………..
มายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ)
-………………………………….เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและ
สามารถรับข้อมูลได้มากๆก่อนจะส่งข้อมูลไปยังcell body
-คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่
กับความแรงของสัญญาณว่าถึง …………………………..
หรือไม่
-ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูล
โดยตรงทาง …………………………..
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 7กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Cell body
-Cell body …………………………………………………………..
……………………………………………………………………………..
-ประกอบด้วย ………………………….. ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป
-…………………………………………………: การเข้ามารวมกลุ่มกัน
ของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root
ganglion
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 8กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
-…………………………………………………………………
………………………………………….นอกจากนี้ยังทาหน้าที่
ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon
ending หรือจาก axon ending ไป cell body
-Nerve : มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
-มักมี ……………………… ที่เกิดจาก………………..…..
…………………………..หุ้มอยู่ ทาให้การส่งกระแสประสาท
ได้อย่างรวดเร็ว โดยส่งแบบก้าวกระโดดไปตามบริเวณ
รอยต่อของระหว่างเซลล์ชวันน์ (…………………………….)
Axon
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 9กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
- synaptic terminal (axon
ending) : ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่
หลั่ง……………………………………………….
-…………………… : บริเวณที่ synaptic
terminal หรือส่วนปลายของ axon ไป
สัมผัสกับเซลล์เป้าหมา(neuron/effector)
-เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก …………………….
-เซลล์เป้าหมายเรียก …………………………
(จะมีreceptor ต่อ neurotransmitter)
Synaptic terminal
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite
Axon Dendrite
1.นาข้อมูล/สัญญาณ 1.นาข้อมูล/สัญญาณ
2.smooth surface 2.rough surface
3.มี 1 axon/cell 3.
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome
5. 5.ไม่มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก cell
body
6.
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 11กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
-Glia : ทาหน้าที่……………………………….มีจานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า
……………………………………………………………………………………………………………
-………………………………… : glia cell ใน CNS
-………………………………… (ในCNS) และ ……………………………… (ในPNS) :
glial cell ที่เป็น myelin sheath
Supporting cell or glial cells or glia
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 12กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Neuron แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง
1. Sensory neuron ทาหน้าที่……………………………..
………………………………….. (เป็น receptor neuron)
เช่น olfactory nerve cells ……………………………….
……………………………… แล้วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้าในรูปแบบ
ต่างๆเป็น electrical signal ส่งไปยังinterneuron หรือ
motor neuron โดยตรง
2.Interneuron ……………………จาก sensory neuron
หรือ interneuron อื่น และรวบรวมข้อมูล แปลผล
………………………………………….ไปยัง motor neuron
3.Motor neuron …………………………………………จาก
interneuron ไปยัง …………………………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 13กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Membrane potential
-membrane potential : ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่างของอิออนในและนอกเซลล์
(Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า = -50 ถึง
-100 mV (ปกติประมาณ -70 mV)
-สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ
voltmeter หรือ oscilloscope
-membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่
ยังไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 14กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
-Chemically-gated ion channels : เป็นประตูที่เปิด-ปิดเมื่อได้รับการกระตุ้น
จากสารเคมี เช่น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่อ
ion ชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น
-Voltage-gated ion channels : เป็นประตูที่เปิด-ปิดจากการกระตุ้นของ
membrane potential
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
การทางานของเซลล์ประสาท
กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปในใยประสาทได้ด้วย ………………………………..
(eletrochemical reaction) การกระตุ้นต่าสุดที่ทาให้เกิดการตอบสนองในสภาพ
ปกติมีค่าประมาณ …………………………..จึงจะมีผลทาให้เกิดการนากระแสประสาทขึ้น
จากจุดที่กระตุ้นไปจนถึงปลายของแอกซอน การนากระแสประสาทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะเกิด
โดยตลอดในอัตราสม่าเสมอ ไม่สูญหายไป ระหว่างทาง เรียก “………………………..”
คือ ถ้ากระตุ้นด้วยแรงเพียงพอก็จะเกิดการนากระแสความรู้สึกโดยตลอด ………………..
……………………………………………………………
…………………………………………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 16กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทเป็น phospholipid bilayer มีโปรตีนแทรกอยู่ทั่วไปทาให้เกิดเป็น
ช่อง ประจุไฟฟ้าบางชนิดจึงผ่านเข้าออกได้ เช่น…………………………………………………..
……………………………………………………………………. ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ
โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ เนื่องจาก Ca2+ ทาหน้าที่……………………………………………
………………………………แต่เมื่อถูกกระตุ้นระดับ Ca2+ ที่เยื่อหุ้มเซลล์จะลดต่า เปิดโอกาส
ให้ Na+ รั่วเข้าไปภายในเซลล์ได้มากขึ้นเป็นผลให้ศักย์ไฟฟ้าในสภาวะพักของเซลล์ลดต่าลง
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 17กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Action potential หรือ nerve impulse
-การเกิดกระแสประสาท โดย………………………………………………………………………….
………………………………………………………….ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ
threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น
และเป็นแบบ all or none
แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้
1.Resting state
2.Threshold
3.Depolarization
4.Repolarization
5.Hyperpolarizationคุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 18กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ระยะที่ 1 : Resting State
-ทั้ง ……………………………………
…………………………………....ไม่เกิด
การเปลี่ยนแปลงต่อ membrane
potential ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์
ประมาณ ………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 19กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ระยะที่ 2 : Threshold
-สิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้ ……………………….
…………………………………. ถ้าการไหลของ
Na+ เข้าสู่เซลล์มากพอจนถึงระดับ
threshold potential จะกระตุ้น Na+
gate เปิดมากขึ้น และกระตุ้นให้เกิด
………………………….ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์
เปลี่ยนจาก
…………………………..
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 20กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ระยะที่ 3 : Depolarization
-activation gate
ของ ……………………..
……………………………
ดังนั้นการเคลื่อนที่ของ
………………………….
จึงทาให้ภายในเซลล์มี
ประจุเป็นบวกมากขึ้น
จาก
……………………………
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 21กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ระยะที่ 4: Repolarization
………………………….
…………………………….
ทาให้ Na+ไม่สามารถ
เคลื่อนเข้าสู่ภายในเซลล์ได้อีก
ในขณะที่ ………………………………
จึงทาให้ภายในเซลล์มีประจุเป็นลบเพิ่มขึ้น
กลับคืนสู่สภาวะ resting state
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 22กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
ประจุไฟฟ้าเปลี่ยน ……………………………
ระยะที่ 5 : Hyperpolarization หรือ undershoot
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 23กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Na+ channel ปิด แต่ K+ channel ยังเปิดอยู่ (relatively slow gate) จึงทาให้ภายในเซลล์
มีประจุลดลงต่ากว่า resting state (-70mV  -90mV) ซึ่งเป็นระยะที่ป้องกันไม่ให้เกิดการ
ส่งกระแสประสาทในบริเวณนั้นซ้าอีก หลังจากนั้นเซลล์จะกลับสู่สภาวะปกติ โดยการทางานของ
………………………………………………… และพร้อมจะตอบสนองต่อการกระตุ้นลาดับถัดไป
Na–K Pump
กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม (sodium-potassium pump : Na-K pump)
คือ เยื่อหุ้มเซลล์ส่ง Na+ ออกไปนอกเซลล์ ขณะเดียวกันจะดึง K+ ให้อยู่ภายในเซลล์
ใน…………………………………………………… เสมอ เพื่อให้เซลล์ประสาทอยู่ในภาวะปกติ
Na-K pump เป็นกระบวนการแอกทิฟทรานสปอร์ตที่ใช้พลังงานภายในเซลล์
ซึ่งได้มาจากการสลายโมเลกุลของ ATP ที่อยู่ภายในผิวของเซลล์ประสาท
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 24กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
สรุปการเกิด action potential
1.action potential ตาแหน่งที่ 1 ……………………..
……………………….และสามารถกระตุ้นให้บริเวณข้างเคียง
เกิด depolarization และ action potential ต่อ
2.ขณะที่ตาแหน่งที่ 2 เกิด …………………………………
ในตาแหน่งที่ 1 จะเกิด ……………………………..จึงทาให้
ไม่สามารถเกิด action potential ทิศทางย้อนกลับได้
3.หลังจากนั้น ……………………จะเคลื่อนไปสู่ตาแหน่งที่3
และตาแหน่งที่2 จะเกิด …………………………….. และ
ตาแหน่งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ ………………………….ต่อไป
-การเคลื่อนของ action potential บน axon จึง
เคลื่อนไปในทิศทางเดียวคือ…………………………………….
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 25กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Saltatory conduction
ใน axon ที่มี myelin sheath การเกิด action potential จะเกิดระหว่าง
……………………………..หนึ่งไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+
เข้าออกจากเซลล์เกิดได้เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่านั้น เนื่องจากเยื่อไมอีลีนมี
หน้าที่เป็นฉนวนไฟฟ้า ลักษณะนี้เรียก saltatory conduction
ความเร็วในการเคลื่อนของ action potential ไปตาม axon จะขึ้นอยู่กับความกว้าง
ของ axon ……………………….แต่ถ้ามี …………………………………ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่
action potential ก็เคลื่อนได้เร็ว
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 26กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 27
ในการส่งกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลล์หนึ่งไปยังเดนไดรต์ของอีก
เซลล์หนึ่งต้องผ่านไซแนปส์ (synapse) ไซแนปส์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. …………………………………………………..เป็นไซแนปส์ที่ใช้สารเคมีที่เรียกว่า
…………………………………………………. เป็นตัวสื่อสาร ไซแนปส์ชนิดนี้พบได้เกือบ
ทั้งหมดในระบบประสาทของมนุษย์
2. ………………………………………………………….มีโครงสร้างและการทางานที่
ไม่ซับซ้อน โดยเกิดจากการเคลื่อนย้ายกระแสไฟฟ้าระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันผ่านทาง
………………………………..
การถ่ายทอดกระแสประสาท
Electrical synapse
บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกัน
ด้วย ………………………………………..ดังนั้น action potential จึงสามารถเคลื่อนจาก
เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง Presynaptic Postsynaptic
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 28กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
Chemical
synapse
1.action potential ที่ปลาย axon ทาให้ ………………………………
2.ถุงบรรจุ……………………………………………………………………………
………………………………………………………………บริเวณปลาย axon
3.เกิดการ…………………………………สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไป
จับกับตัวรับที่ ……………………………………….ที่ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ถัดไป
4.การจับทาให้ …………………………………………, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด ……………………………..
5.Neurotransmitter ถูกทาลายโดยเอนไซม์ที่จาเพาะ หยุดการส่งกระแสประสาท
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 29กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 30
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 31
สารสื่อประสาทมีหลายชนิด เช่น …………………………………………………พบมากบริเวณ
ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก โดปามีน (dopamine)
เซอโรโตนิน (serotonine) ……………………………………………………………………….
…………………………………………………….
…………………………สารสื่อประสาทเหล่านี้
…………………………………………………ขึ้น
ที่เดนไดรต์แล้วจะ………………………เพื่อไม่ให้
ซึมเข้าไปทาลายเซลล์หรือเนื้อเยื่อ โดยเอนไซม์
เฉพาะกับชนิดของสารสื่อประสาทนั้น เช่น
แอซิติลโคลีนจะถูกทาลายโดย…………………………………………………………………………
สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 32
สารเคมีมีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทดังนี้
1. สารพิษจากจุลินทรีย์บางชนิดไป………………………………………………………………
ทาให้กล้ามเนื้อ ไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต
2. สารนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตามีน จะ……………ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาท
มากเกินไปทาให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
3. ยาระงับประสาททาให้……………………………………………….ทาให้กระแสประสาท
ส่งไปยังสมองน้อย เกิดอาการสงบไม่มีความวิตกกังวล
4. ยาฆ่าแมลงบางชนิด…………………………………………..ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท
5. แอลกอฮอล์ทาให้เกิดความสับสนต่อการคิด ความจา ความตั้งอกตั้งใจทางาน และทา
ให้สมาธิการทางานลดลง

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
bosston Duangtip
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
Biobiome
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
Anissa Aromsawa
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
Pat Pataranutaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 

Viewers also liked

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
Nokko Bio
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
Thanyamon Chat.
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
Thanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
Thanyamon Chat.
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 

Viewers also liked (20)

บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
sense organs
sense organssense organs
sense organs
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 

Similar to ระบบประสาทPart1blank

การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
Wan Ngamwongwan
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
nokbiology
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
juriyaporn
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 

Similar to ระบบประสาทPart1blank (20)

การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 

More from Thanyamon Chat.

structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

ระบบประสาทPart1blank

  • 1. ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 2. เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน มีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) และ เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) ประกอบด้วยหน่วยย่อยที่สาคัญ คือ เซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron) ทั่วร่างกายมีเซลล์ประสาทประมาณแสนล้านเซลล์ ประกอบด้วย ตัวเซลล์ (cell body หรือ soma) และส่วนที่เป็นแขนงยื่นออกมาจากตัวเซลล์ เรียก ใยประสาท (nerve fiber) ตัวเซลล์มีลักษณะค่อนข้างกลมเป็นส่วนของไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมี ออร์แกเนลล์ที่สาคัญคือ ไมโทคอนเดรีย ร่างแหเอนโดพลาซึมและกอลจิบอดีจานวนมาก คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 3. โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse) เซลล์ประสาทประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ………………………………………………. node of Ranvier คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 3กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 4. ประเภทของเซลล์ประสาท เซลล์ประสาทมีหลายประเภท ถ้าจาแนกประเภทโดยใช้ขั้วหรือใยประสาทที่ออกจากตัว เซลล์เป็นเกณฑ์แบ่งได้ 3 แบบ คือ ………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 4กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 5. เซลล์ประสาทขั้วเดียวเป็นเซลล์ประสาทสั่งการของสัตว์มีกระดูกสันหลัง เซลล์ประสาทสองขั้วพบ บริเวณเรตินาของนัยน์ตา หูชั้นใน และบริเวณออลแฟกทอรีบัลบ์ในสมอง ส่วนเซลล์ประสาทหลายขั้วพบใน สมองและไขสันหลัง การแบ่งเซลล์ประสาทโดยใช้การทางานเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 3 แบบ คือ …………………………………………………….. รับความรู้สึกจากอวัยวะต่างๆส่งไปยังสมองและไขสันหลัง ……………………………………………………….นากระแสประสาทจากสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่างๆ …………………………………… …………………………………… ……………………………………. นากระแสประสาทระหว่าง เซลล์ประสาทรับความรู้สึก กับเซลล์ประสาทสั่งการ คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 5กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 6. เซลล์ประสาท (……………………………………) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น เปลี่ยนจากสารเคมี ความร้อน และ ความดันที่มา…………………………….. ให้เป็น…………………………………………………… ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ …………………………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 6กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 7. Dendrite -……………………………………………………………….. มายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ) -………………………………….เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและ สามารถรับข้อมูลได้มากๆก่อนจะส่งข้อมูลไปยังcell body -คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่ กับความแรงของสัญญาณว่าถึง ………………………….. หรือไม่ -ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูล โดยตรงทาง ………………………….. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 7กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 8. Cell body -Cell body ………………………………………………………….. …………………………………………………………………………….. -ประกอบด้วย ………………………….. ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป -…………………………………………………: การเข้ามารวมกลุ่มกัน ของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root ganglion คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 8กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 9. -………………………………………………………………… ………………………………………….นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending ไป cell body -Nerve : มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน -มักมี ……………………… ที่เกิดจาก………………..….. …………………………..หุ้มอยู่ ทาให้การส่งกระแสประสาท ได้อย่างรวดเร็ว โดยส่งแบบก้าวกระโดดไปตามบริเวณ รอยต่อของระหว่างเซลล์ชวันน์ (…………………………….) Axon คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 9กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 10. - synaptic terminal (axon ending) : ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่ หลั่ง………………………………………………. -…………………… : บริเวณที่ synaptic terminal หรือส่วนปลายของ axon ไป สัมผัสกับเซลล์เป้าหมา(neuron/effector) -เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก ……………………. -เซลล์เป้าหมายเรียก ………………………… (จะมีreceptor ต่อ neurotransmitter) Synaptic terminal คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 11. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite Axon Dendrite 1.นาข้อมูล/สัญญาณ 1.นาข้อมูล/สัญญาณ 2.smooth surface 2.rough surface 3.มี 1 axon/cell 3. 4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 5. 5.ไม่มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก cell body 6. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 11กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 12. -Glia : ทาหน้าที่……………………………….มีจานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า …………………………………………………………………………………………………………… -………………………………… : glia cell ใน CNS -………………………………… (ในCNS) และ ……………………………… (ในPNS) : glial cell ที่เป็น myelin sheath Supporting cell or glial cells or glia คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 12กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 13. Neuron แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง 1. Sensory neuron ทาหน้าที่…………………………….. ………………………………….. (เป็น receptor neuron) เช่น olfactory nerve cells ………………………………. ……………………………… แล้วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้าในรูปแบบ ต่างๆเป็น electrical signal ส่งไปยังinterneuron หรือ motor neuron โดยตรง 2.Interneuron ……………………จาก sensory neuron หรือ interneuron อื่น และรวบรวมข้อมูล แปลผล ………………………………………….ไปยัง motor neuron 3.Motor neuron …………………………………………จาก interneuron ไปยัง ……………………………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 13กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 14. Membrane potential -membrane potential : ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออนในและนอกเซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า = -50 ถึง -100 mV (ปกติประมาณ -70 mV) -สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ voltmeter หรือ oscilloscope -membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ ยังไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 14กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 15. -Chemically-gated ion channels : เป็นประตูที่เปิด-ปิดเมื่อได้รับการกระตุ้น จากสารเคมี เช่น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่อ ion ชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น -Voltage-gated ion channels : เป็นประตูที่เปิด-ปิดจากการกระตุ้นของ membrane potential คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 16. การทางานของเซลล์ประสาท กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปในใยประสาทได้ด้วย ……………………………….. (eletrochemical reaction) การกระตุ้นต่าสุดที่ทาให้เกิดการตอบสนองในสภาพ ปกติมีค่าประมาณ …………………………..จึงจะมีผลทาให้เกิดการนากระแสประสาทขึ้น จากจุดที่กระตุ้นไปจนถึงปลายของแอกซอน การนากระแสประสาทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะเกิด โดยตลอดในอัตราสม่าเสมอ ไม่สูญหายไป ระหว่างทาง เรียก “………………………..” คือ ถ้ากระตุ้นด้วยแรงเพียงพอก็จะเกิดการนากระแสความรู้สึกโดยตลอด ……………….. …………………………………………………………… ……………………………………………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 16กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 17. เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทเป็น phospholipid bilayer มีโปรตีนแทรกอยู่ทั่วไปทาให้เกิดเป็น ช่อง ประจุไฟฟ้าบางชนิดจึงผ่านเข้าออกได้ เช่น………………………………………………….. ……………………………………………………………………. ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของ โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ เนื่องจาก Ca2+ ทาหน้าที่…………………………………………… ………………………………แต่เมื่อถูกกระตุ้นระดับ Ca2+ ที่เยื่อหุ้มเซลล์จะลดต่า เปิดโอกาส ให้ Na+ รั่วเข้าไปภายในเซลล์ได้มากขึ้นเป็นผลให้ศักย์ไฟฟ้าในสภาวะพักของเซลล์ลดต่าลง คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 17กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 18. Action potential หรือ nerve impulse -การเกิดกระแสประสาท โดย…………………………………………………………………………. ………………………………………………………….ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential -เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all or none แบ่งเป็น 5 ระยะดังนี้ 1.Resting state 2.Threshold 3.Depolarization 4.Repolarization 5.Hyperpolarizationคุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 18กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 19. ระยะที่ 1 : Resting State -ทั้ง …………………………………… …………………………………....ไม่เกิด การเปลี่ยนแปลงต่อ membrane potential ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์ ประมาณ …………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 19กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 20. ระยะที่ 2 : Threshold -สิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้ ………………………. …………………………………. ถ้าการไหลของ Na+ เข้าสู่เซลล์มากพอจนถึงระดับ threshold potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิดมากขึ้น และกระตุ้นให้เกิด ………………………….ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์ เปลี่ยนจาก ………………………….. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 20กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 21. ระยะที่ 3 : Depolarization -activation gate ของ …………………….. …………………………… ดังนั้นการเคลื่อนที่ของ …………………………. จึงทาให้ภายในเซลล์มี ประจุเป็นบวกมากขึ้น จาก …………………………… คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 21กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 22. ระยะที่ 4: Repolarization …………………………. ……………………………. ทาให้ Na+ไม่สามารถ เคลื่อนเข้าสู่ภายในเซลล์ได้อีก ในขณะที่ ……………………………… จึงทาให้ภายในเซลล์มีประจุเป็นลบเพิ่มขึ้น กลับคืนสู่สภาวะ resting state คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 22กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา ประจุไฟฟ้าเปลี่ยน ……………………………
  • 23. ระยะที่ 5 : Hyperpolarization หรือ undershoot คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 23กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา Na+ channel ปิด แต่ K+ channel ยังเปิดอยู่ (relatively slow gate) จึงทาให้ภายในเซลล์ มีประจุลดลงต่ากว่า resting state (-70mV  -90mV) ซึ่งเป็นระยะที่ป้องกันไม่ให้เกิดการ ส่งกระแสประสาทในบริเวณนั้นซ้าอีก หลังจากนั้นเซลล์จะกลับสู่สภาวะปกติ โดยการทางานของ ………………………………………………… และพร้อมจะตอบสนองต่อการกระตุ้นลาดับถัดไป
  • 24. Na–K Pump กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม (sodium-potassium pump : Na-K pump) คือ เยื่อหุ้มเซลล์ส่ง Na+ ออกไปนอกเซลล์ ขณะเดียวกันจะดึง K+ ให้อยู่ภายในเซลล์ ใน…………………………………………………… เสมอ เพื่อให้เซลล์ประสาทอยู่ในภาวะปกติ Na-K pump เป็นกระบวนการแอกทิฟทรานสปอร์ตที่ใช้พลังงานภายในเซลล์ ซึ่งได้มาจากการสลายโมเลกุลของ ATP ที่อยู่ภายในผิวของเซลล์ประสาท คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 24กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 25. สรุปการเกิด action potential 1.action potential ตาแหน่งที่ 1 …………………….. ……………………….และสามารถกระตุ้นให้บริเวณข้างเคียง เกิด depolarization และ action potential ต่อ 2.ขณะที่ตาแหน่งที่ 2 เกิด ………………………………… ในตาแหน่งที่ 1 จะเกิด ……………………………..จึงทาให้ ไม่สามารถเกิด action potential ทิศทางย้อนกลับได้ 3.หลังจากนั้น ……………………จะเคลื่อนไปสู่ตาแหน่งที่3 และตาแหน่งที่2 จะเกิด …………………………….. และ ตาแหน่งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ ………………………….ต่อไป -การเคลื่อนของ action potential บน axon จึง เคลื่อนไปในทิศทางเดียวคือ……………………………………. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 25กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 26. Saltatory conduction ใน axon ที่มี myelin sheath การเกิด action potential จะเกิดระหว่าง ……………………………..หนึ่งไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้าออกจากเซลล์เกิดได้เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่านั้น เนื่องจากเยื่อไมอีลีนมี หน้าที่เป็นฉนวนไฟฟ้า ลักษณะนี้เรียก saltatory conduction ความเร็วในการเคลื่อนของ action potential ไปตาม axon จะขึ้นอยู่กับความกว้าง ของ axon ……………………….แต่ถ้ามี …………………………………ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้เร็ว คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 26กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 27. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 27 ในการส่งกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลล์หนึ่งไปยังเดนไดรต์ของอีก เซลล์หนึ่งต้องผ่านไซแนปส์ (synapse) ไซแนปส์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. …………………………………………………..เป็นไซแนปส์ที่ใช้สารเคมีที่เรียกว่า …………………………………………………. เป็นตัวสื่อสาร ไซแนปส์ชนิดนี้พบได้เกือบ ทั้งหมดในระบบประสาทของมนุษย์ 2. ………………………………………………………….มีโครงสร้างและการทางานที่ ไม่ซับซ้อน โดยเกิดจากการเคลื่อนย้ายกระแสไฟฟ้าระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันผ่านทาง ……………………………….. การถ่ายทอดกระแสประสาท
  • 28. Electrical synapse บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกัน ด้วย ………………………………………..ดังนั้น action potential จึงสามารถเคลื่อนจาก เซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง Presynaptic Postsynaptic คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 28กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 29. Chemical synapse 1.action potential ที่ปลาย axon ทาให้ ……………………………… 2.ถุงบรรจุ…………………………………………………………………………… ………………………………………………………………บริเวณปลาย axon 3.เกิดการ…………………………………สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไป จับกับตัวรับที่ ……………………………………….ที่ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ถัดไป 4.การจับทาให้ …………………………………………, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด …………………………….. 5.Neurotransmitter ถูกทาลายโดยเอนไซม์ที่จาเพาะ หยุดการส่งกระแสประสาท คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 29กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 31. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 31 สารสื่อประสาทมีหลายชนิด เช่น …………………………………………………พบมากบริเวณ ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก โดปามีน (dopamine) เซอโรโตนิน (serotonine) ………………………………………………………………………. ……………………………………………………. …………………………สารสื่อประสาทเหล่านี้ …………………………………………………ขึ้น ที่เดนไดรต์แล้วจะ………………………เพื่อไม่ให้ ซึมเข้าไปทาลายเซลล์หรือเนื้อเยื่อ โดยเอนไซม์ เฉพาะกับชนิดของสารสื่อประสาทนั้น เช่น แอซิติลโคลีนจะถูกทาลายโดย………………………………………………………………………… สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
  • 32. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 32 สารเคมีมีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทดังนี้ 1. สารพิษจากจุลินทรีย์บางชนิดไป……………………………………………………………… ทาให้กล้ามเนื้อ ไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต 2. สารนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตามีน จะ……………ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาท มากเกินไปทาให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว 3. ยาระงับประสาททาให้……………………………………………….ทาให้กระแสประสาท ส่งไปยังสมองน้อย เกิดอาการสงบไม่มีความวิตกกังวล 4. ยาฆ่าแมลงบางชนิด…………………………………………..ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท 5. แอลกอฮอล์ทาให้เกิดความสับสนต่อการคิด ความจา ความตั้งอกตั้งใจทางาน และทา ให้สมาธิการทางานลดลง