SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดยการใชสมุดสะสมคะแนนในวิชาคอมพิวเตอร
                 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ )
                                     ชื่อผูวิจัย : นายวรกฤต เอกธนารัฐ
                                     โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ )

                                                     บทคัดยอ
          จากผลการจัดการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ในปการศึกษา 2546 ภาค
เรียนที่ 2 โดยการสังเกตดวยตนเองพบวาเมื่อผูสอนมอบหมายงานใหนักเรียนทํา พบวานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ในการทํางานต่ํามาก โดยคิดเปนรอยละ 43 เปอรเซ็นต ของนักเรียนทั้งหมด และมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนในภาคเรียนที่ 2 อยูในระดับต่ํา
          จากปญหาดังกลาวหากปลอยตอไปโดยไมไดรับการแกไข จะสงผลใหการจัดการการเรียนการ
สอนในระดับที่สูงขึ้นไปเกิดปญหา ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดย
การใชสมุดสะสมคะแนนในรายวิชากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ขึ้น
                                      
เพื่อแกปญหาการไมสงงานของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอรของชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4
( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ซึ่งเลื่อนชั้นมาจากชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 77 คน โดยอาศัยสมุดสะสมคะแนน
สติกเกอรรูปคอมพิวเตอร และอุปกรณตาง ๆ ที่ทําเปนรางวัลจูงใจนักเรียน ซึ่งหลังจากศึกษานักเรียนที่จะทํา
การวิจัยและสรางสมุดสะสมคะแนนแลว จึงนําสมุดสะสมคะแนนมอบใหกบนักเรียนที่ทํางานเสร็จเรียบรอย
                                                                        ั
ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาในครั้งแรก และครั้งตอไปจะใหเปนสติกเกอรรูปคอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่ง
หมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะแนนเพื่อแลกของรางวัลตามคะแนนแตมที่ได เชน 10
แตมแลกสมุดได 1 เลม 15 แตมแลกแกว 1 ใบ ฯ เปนตน โดยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทั้งภาค
เรียน ภายหลังจากการเรียนโดยใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางาน ปรากฏวานักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการทํางานสูงขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นคิดเปนรอย
                                             ์
ละ 80 จากเดิมรอยละ 43

                                  ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
         คอมพิวเตอรมความสําคัญตอการดําเนินชีวิตประจําวันของคนในยุคปจจุบันเกือบทุกดาน ไมวาจะเปน
                       ี
ดานเศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรม และการศึกษา ฯ
         คอมพิวเตอรพนฐานตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2527 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) มี
                         ื้
วัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหโรงเรียนมีความพรอมทั้งดานบุคลากรและเครื่องคอมพิวเตอร จัดการเรียนการ
สอนใหแกผูเรียนไดโดยมุงใหนักเรียนไดคุนเคยกับเครื่องคอมพิวเตอรที่เขามามีบทบาทสําคัญในการดํารงชีวิต
ปจจุบัน และสามารถใชคอมพิวเตอรในฐานะเครื่องชวยงานได



  วรกฤต เอกธนารัฐ รร. เทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ต.ปากน้ํา อ. เมือง จ.สมุทรปราการ 10270
                                                           1
จากผลการจัดการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร
      ของ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ของโรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ในปการศึกษา 2546
                       ้
      ภาคเรียนที่ 2 โดยการสังเกตดวยตนเองพบวาเมื่อผูสอนมอบหมายงานใหนักเรียนทํา พบวานักเรียนมี
      ผลสัมฤทธิ์ในการทํางานต่ํามากและมีการทํางานสงตามกําหนดเวลานอยราย โดยคิดเปนรอยละจํานวนนักเรียน
      ที่ทํางานสงทั้งภาคเรียนที่ 2 คิดเปน 43 เปอรเซ็นต โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                     ตารางแสดงรอยละการสงงานของนักเรียน
                                        ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546

           เรื่อง             จํานวนนักเรียนที่      คิดเปนรอยละ          จํานวนนักเรียน        คิดเปนรอยละ
                                  ทําสงงาน                                         ที่
                                                                               ไมสงงาน
1. กระบวนการแกปญหา                      26                   34                   51                  66
2. การคนหาขอมูล                         52                   68                   25                  32
3. โครงงาน                                39                   51                   38                  49
4. ปฏิทิน                                 18                   23                   59                  77
5. อินเตอรเน็ต                           30                   39                   47                  61
             รวม                         165                   43                  220                  57
                   จากขอมูลดังกลาว ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาคเรียนที่ 2 ต่ํามากคืออยูในระดับ รอยละ
       51.61 จากปญหาดังกลาวหากปลอยตอไปโดยไมไดรับการแกไข จะสงผลใหการจัดการการเรียนการสอนใน
       ระดับที่สูงขึ้นไปเกิดปญหา เนื่องมาจากนักเรียนขาดความรับผิดชอบในการทํางาน
                   จากการวิเคราะหปญหาพบวา นักเรียนขาดแรงจูงใจในการทํางาน ผูวจัยพยายามหาวิธแกปญหา
                                                                                     ิ               ี
       หลายวิธี ไมวาจะเปนการวากลาวตักเตือน หรือบทลงโทษแตยงไมไดผลดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจทีจะสราง
                                                                    ั                                    ่
       แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดยการใชสมุดสะสมคะแนน ในรายวิชากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ
                                                                                 
       เทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ขึ้นเพื่อแกปญหาการไมสงงานของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอรของชั้นมัธยมศึกษา
       ปที่ 2 ของโรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ซึ่งขึ้นมาจากชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และแนวการดําเนินการ
       ครั้งนี้ ยังสอดคลองกับหลักการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางอีกดวย

                                             วัตถุประสงคของการวิจย
                                                                  ั
             เพื่อศึกษาผลของการใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการสงงานในวิชา
                                                                           ์
      คอมพิวเตอร
                                                  การตรวจเอกสาร
                1. นําสมุดสะสมคะเเนนและสติกเกอรแตมคะเเนนไปใหผเชี่ยวชาญพิจารณา
                                                                  ู
                2. นํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ
                3. นําสมุดสะสมคะแนนไปทดลองใชกับนักเรียนกลุมเล็ก ( 3 – 5 คน )

                                                          2
4. ปรับปรุงแกไขสมุดสะสมคะแนน
        5. นําสมุดสะสมคะแนนมาใชจริงกับประชากรในภาคเรียนที่ 1
                                            วิธีดําเนินการวิจัย
          ในการดําเนินการวิจัยครั้งนี้มีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. ประชากร
          ประชากรที่ใชในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 (สิทธิไชยอุปถัมภ )
ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 ที่ผูวิจัยรับผิดชอบสอน จํานวน 77 คน ( นักเรียนทั้ง 2 หอง
หองเรียนที่ 1 38 คนและหองเรียนที่ 2 39 คน สวน นักเรียนเขาใหมภาคเรียนที่ 1 ไมไดนํามารวมในการทําวิจัย )
2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
          ในการวิจัยครั้งนี้ ใชสมุดสะสมคะแนนและสติกเกอรแตมคะเเนน ในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ใน
การสงงาน โดยอาศัยของรางวัลเปนตัวเสริมแรง
3. การดําเนินการทดลอง
          นําสมุดสะสมคะแนนไปใชกบการเรียนการสอนโดยนําสมุดสะสมคะแนนมอบใหกับนักเรียนในครั้งแรก
                                      ั
จะมอบเมือนักเรียนทํางานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอย ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาโดยที่เสร็จ 1
           ่
ครั้งจะไดเปน สติกเกอรรูปคอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่งหมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะเเนนเพื่อ
แลกของรางวัลตามคะเเนนแตมที่ถึงเชน 10 แตมเเลกสมุดได 1 เลม 15 แตม แลก แกว 1 ใบ ฯ เปนตน
โดยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทั้งภาคเรียน
4. การวิเคราะหขอมูล
          1.1 เปรียบเทียบรอยละการสงสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสราง
แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงาน
          1.2 วิเคราะหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คามัชฌิมเลขคณิต




                                                     3
ผลการวิจัยและวิจารณ
       ผลการวิจัย
             1. เปรียบเทียบรอยละการสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจ
                  ใฝสัมฤทธิ์ในการสงงาน

                                           ตารางแสดงรอยละการสงงานของนักเรียน
                                              ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547

             เรื่อง               จํานวนนักเรียน     คิดเปนรอยละ    จํานวนนักเรียน    คิดเปนรอยละ
                                     ที่ทําสงงาน                            ที่
                                                                         ไมสงงาน
                                                                             
1. หลักการทํางาน บทบาท ฯ                71                92               6                      8
2. การสื่อสารขอมูล เครือขาย ฯ         57                74               20                    26
3. ยุค                                  63                82               14                    18
4. เลขฐาน                               52                68               25                    32
5. ประมวลผลขอมูล                       65                84               12                    16
              รวม                      308                80               77                    20

                      จากตารางพบวา รอยละการสงงานของนักเรียนสูงถึงรอยละ 80 จากเดิมรอยละ 43

                          ตารางเปรียบเทียบรอยละการสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนน

            รอยละการสงงานของ                ภาคเรียนที่ 2/2546            ภาคเรียนที่ 1/2547
                     นักเรียน                    ( กอนใช )                    ( หลังใช )
               นักเรียนที่ทํางานสง                   43                           80
               นักเรียนที่ไมสงงาน                   57                           20

                2. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 คิดเปนรอยละ 70.09
       จากการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการ
                                                                                               ์
       ทํางานคิดเปนความกาวหนา 70.09 - 51.61 = 18.48
       ผลการวิจารณ
                1. นําแนวทางการพัฒนาไปใชกบสภาพปญหาอืน ๆ ในการจัดการเรียนการสอน โดยนาจะพัฒนาใน
                                               ั          ่
       เรื่องพฤติกรรมของนักเรียนดานตาง ๆ ได


                                                         4
2. ควรเผยแพรผลงานใหครูคนอื่นไดนําไปทดลองใชกับการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นของแตละ
บุคคล

                                                   สรุป
1. สรุปผลการใชนวัตกรรม
               ภายหลังจากการเรียนโดยใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางาน
ปรากฏวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางานสูงขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี
ขึ้น
2. อภิปรายผล
               จากผลการใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการทํางานในวิชา
                                                                  ์
คอมพิวเตอร ปรากฏวานักเรียนมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางานสูง มีความรับผิดชอบมากขึ้น ตลอดจนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และสนุกกับการเรียนการสอนแบบนี้ ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงความกาวหนาในการ
เรียนของนักเรียนพบวา นักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนดีขึ้นตามระยะเวลาและจํานวนกิจกรรมที่เรียน และ
เมื่อสิ้นสุดการเรียนในภาคเรียนนี้นักเรียนทุกคนสามารถที่จะเรียนตอในระดับที่สูงขึ้น ทังนี้อาจเปนเพราะ
                                                                                     ้
นวัตกรรมในการเสริมแรงและแนวการสอนมีลําดับขั้นและกิจกรรมที่เหมาะสม สามารถดึงดูดใหนักเรียนตั้งใจ
เรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบมากขึ้น แตผลการทดลองยังไมเปนที่นาพอใจ และยังมีขอบกพรองในเรื่องของ
                                                                                       
ระยะเวลาการจัดกิจกรรม ซึ่งจะตองมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมบางกิจกรรม ใหมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และ
ไมยากเกินไปที่นกเรียนจะทําเสร็จทันกําหนดเวลา
                   ั

                                             เอกสารอางอิง
รองศาสตราจารย ดร. พันทิพา อุทัยสุข พรอมคณะ. “ เอกสารการสอนชุดวิชา ระบบการเรียนการสอน ” .
สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , 2523
นิยามศัพท
        แรงจูงใจใฝสมฤทธิ์ หมายถึง แรงผลักดันหรือแรงกระตุนภายในที่ทําใหบุคคลมีความมุงมั่นที่จะ
                      ั
กระทําการใด ๆ ไปสูเปาหมายใหสําเร็จใหจงได อยางมีประสิทธิภาพ และเปนแรงขับที่ทําใหการเรียนรูไดผลมาก
ขึ้น
        ลักษณะสําคัญของบุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูง บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงจะมีลกษณะดังนี้
                                                                                              ั
        1. มีความทะเยอทะยาน
        2. ชอบการแขงขันและชอบทํางานทาทาย
        3. ตั้งความหวังหรือเปาหมายไวคอนขางสูงแตก็จะกําหนดเปาหมายไมใหยากเกินไปหรืองายเกินไป
        4. ชอบทํางานแขงกับเวลา
        5. อดทน มุงมั่นทํางานจนกวาจะสําเร็จโดยไมหวั่นไหวตอสิ่งรบกวน
        6. เลือกเพื่อนรวมงานโดยใหความสําคัญกับความสามารถในการทํางานเปนอันดับแรก
        7. สรางผลงานโดยคํานึงถึงคุณภาพมากกวาปริมาณ
        8. สามารถบังคับและควบคุมตัวเองได
                                                    5
9. ทํางานเต็มความสามารถเสมอไมวาผลตอบแทนที่เปนรางวัลหรือสิ่งของจะมากหรือนอยก็ตาม
                                                   
         10. ทํางานเพื่อความเปนเลิศของงานมากกวาความมีชื่อเสียงเทานั้น
         11. ใชดุลยพินิจอยางอิสระ โดยอาศัยขอมูลและประสบการณทไดรับ     ี่
         12. ชอบไดรับผลยอนกลับทันทีเพื่อจะไดรูความกาวหนาของงานที่ทํา
         13. ปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้นอยูเสมอ
         ความสําคัญของแรงจูงใจใฝสมฤทธิ์ั
         จากการศึกษาและวิจัยของนักจิตวิทยาพบวาแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์มีความสําคัญดังนี้
         1. บุคคกลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิสูงมีแนวโนมที่จะประสบความสําเร็จสูงและดวย มาตรฐาน ที่ดีเยี่ยม
                                            ์
              มากกวาผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ต่ําหรือไรแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์
         2. บุคคลทีมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สงประสบความสําเร็จในงานที่เกี่ยวของกับการคํานวณและภาษากับ
                                              ู
              งานที่ตองใชปญญาในการคิดแกปญหามากวาผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ต่ําหรือไรแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์
                              
         3. บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สงสามารถรักษาระดับผลการเรียนที่ดีของตนในระดับมัธยมศึกษาไว
                                                ู
              ไดจนถึงระดับอุดมศึกษา
         4. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์มีความสําคัญตอบุคคลทั้งในดานการศึกษาและอาชีพ เชน ความสําเร็จทางการ
              ศึกษาจากสถาบัน หรือความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ดานการดําเนินชีวิตสวนตัวในสังคม เชน
              การไดแตงงาน หรือการบุคลิกภาพที่ดี ดานการประกอบ กิจกรรมพิเศษ ( เชน การเลนกีฬา หรือ
              การใหบริการแกสังคม ) และดานการประกอบดําเนินชีวิตในครอบครัว เชน การเปนพอแม
              หรือการมีความสัมพันธกบคนใน ครอบครัว
                                          ั
         จากความหมายและความสําคัญของแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ดังกลาวทําใหเห็นไดวาถาผูรียนมีแรงจูงใจใฝ
สัมฤทธิ์สูงยอมสงผลใหผูเรียนมีความมานะและมุงมั่นที่จะศึกษาและเลาเรียนใหประสบความสําเร็จใหจงได
         สมุดสะสมคะแนน หมายถึง สมุดที่สะสมแตมคะเเนนที่มอบใหกับนักเรียนที่ทํางานที่ไดรับ
มอบหมายเสร็จเรียบรอย ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาโดยที่เสร็จ 1 ครั้งจะไดเปน สติกเกอรรูป
คอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่งหมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะเเนนเพื่อแลกของรางวัลตามคะเเน
นแตมที่ถึง เชน 10 แตมแลกสมุดได 1 เลม 15 แตม แลก แกว 1 ใบ เปนตน
         ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หมายถึง ตัวบงบอกวาเมื่อนักเรียนผานการเรียน ทั้งหมดใน
แตละปการศึกษานั้นนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และความสามารถนําความรูนั้นไปใชในการปฏิบัตจริง    ิ
ไดมากนอยเพียงใด ซึ่งการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจะใชการวัดผลการเรียนซึ่งมีเครื่องมือหลาย ๆ
ชนิดมาชวยเชน แบบทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ ฯลฯ




                                     *************************************




                                                      6

More Related Content

What's hot

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานpongtum
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดPapatsorn Tangsermkit
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานTotsaporn Inthanin
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3Khunnawang Khunnawang
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPanatda Maraphong
 

What's hot (20)

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมดโครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
โครงงานกล่องดักไขมันแฮนด์เมด
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to Research 2005 29

ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 

Similar to Research 2005 29 (20)

ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
B math2
B math2B math2
B math2
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
962
962962
962
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 

Research 2005 29

  • 1. การสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดยการใชสมุดสะสมคะแนนในวิชาคอมพิวเตอร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ชื่อผูวิจัย : นายวรกฤต เอกธนารัฐ โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) บทคัดยอ จากผลการจัดการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ในปการศึกษา 2546 ภาค เรียนที่ 2 โดยการสังเกตดวยตนเองพบวาเมื่อผูสอนมอบหมายงานใหนักเรียนทํา พบวานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ในการทํางานต่ํามาก โดยคิดเปนรอยละ 43 เปอรเซ็นต ของนักเรียนทั้งหมด และมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในภาคเรียนที่ 2 อยูในระดับต่ํา จากปญหาดังกลาวหากปลอยตอไปโดยไมไดรับการแกไข จะสงผลใหการจัดการการเรียนการ สอนในระดับที่สูงขึ้นไปเกิดปญหา ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดย การใชสมุดสะสมคะแนนในรายวิชากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ขึ้น  เพื่อแกปญหาการไมสงงานของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอรของชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ซึ่งเลื่อนชั้นมาจากชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 77 คน โดยอาศัยสมุดสะสมคะแนน สติกเกอรรูปคอมพิวเตอร และอุปกรณตาง ๆ ที่ทําเปนรางวัลจูงใจนักเรียน ซึ่งหลังจากศึกษานักเรียนที่จะทํา การวิจัยและสรางสมุดสะสมคะแนนแลว จึงนําสมุดสะสมคะแนนมอบใหกบนักเรียนที่ทํางานเสร็จเรียบรอย ั ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาในครั้งแรก และครั้งตอไปจะใหเปนสติกเกอรรูปคอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่ง หมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะแนนเพื่อแลกของรางวัลตามคะแนนแตมที่ได เชน 10 แตมแลกสมุดได 1 เลม 15 แตมแลกแกว 1 ใบ ฯ เปนตน โดยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทั้งภาค เรียน ภายหลังจากการเรียนโดยใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางาน ปรากฏวานักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการทํางานสูงขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นคิดเปนรอย ์ ละ 80 จากเดิมรอยละ 43 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คอมพิวเตอรมความสําคัญตอการดําเนินชีวิตประจําวันของคนในยุคปจจุบันเกือบทุกดาน ไมวาจะเปน ี ดานเศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรม และการศึกษา ฯ คอมพิวเตอรพนฐานตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2527 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) มี ื้ วัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหโรงเรียนมีความพรอมทั้งดานบุคลากรและเครื่องคอมพิวเตอร จัดการเรียนการ สอนใหแกผูเรียนไดโดยมุงใหนักเรียนไดคุนเคยกับเครื่องคอมพิวเตอรที่เขามามีบทบาทสําคัญในการดํารงชีวิต ปจจุบัน และสามารถใชคอมพิวเตอรในฐานะเครื่องชวยงานได วรกฤต เอกธนารัฐ รร. เทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ต.ปากน้ํา อ. เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 1
  • 2. จากผลการจัดการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ของ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 2 ของโรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ในปการศึกษา 2546 ้ ภาคเรียนที่ 2 โดยการสังเกตดวยตนเองพบวาเมื่อผูสอนมอบหมายงานใหนักเรียนทํา พบวานักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ในการทํางานต่ํามากและมีการทํางานสงตามกําหนดเวลานอยราย โดยคิดเปนรอยละจํานวนนักเรียน ที่ทํางานสงทั้งภาคเรียนที่ 2 คิดเปน 43 เปอรเซ็นต โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตารางแสดงรอยละการสงงานของนักเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2546 เรื่อง จํานวนนักเรียนที่ คิดเปนรอยละ จํานวนนักเรียน คิดเปนรอยละ ทําสงงาน ที่ ไมสงงาน 1. กระบวนการแกปญหา 26 34 51 66 2. การคนหาขอมูล 52 68 25 32 3. โครงงาน 39 51 38 49 4. ปฏิทิน 18 23 59 77 5. อินเตอรเน็ต 30 39 47 61 รวม 165 43 220 57 จากขอมูลดังกลาว ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาคเรียนที่ 2 ต่ํามากคืออยูในระดับ รอยละ 51.61 จากปญหาดังกลาวหากปลอยตอไปโดยไมไดรับการแกไข จะสงผลใหการจัดการการเรียนการสอนใน ระดับที่สูงขึ้นไปเกิดปญหา เนื่องมาจากนักเรียนขาดความรับผิดชอบในการทํางาน จากการวิเคราะหปญหาพบวา นักเรียนขาดแรงจูงใจในการทํางาน ผูวจัยพยายามหาวิธแกปญหา ิ ี หลายวิธี ไมวาจะเปนการวากลาวตักเตือน หรือบทลงโทษแตยงไมไดผลดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจทีจะสราง ั ่ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงานโดยการใชสมุดสะสมคะแนน ในรายวิชากลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ  เทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร ขึ้นเพื่อแกปญหาการไมสงงานของนักเรียนในวิชาคอมพิวเตอรของชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 ของโรงเรียนเทศบาล 4 ( สิทธิไชยอุปถัมภ ) ซึ่งขึ้นมาจากชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และแนวการดําเนินการ ครั้งนี้ ยังสอดคลองกับหลักการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางอีกดวย วัตถุประสงคของการวิจย ั เพื่อศึกษาผลของการใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการสงงานในวิชา ์ คอมพิวเตอร การตรวจเอกสาร 1. นําสมุดสะสมคะเเนนและสติกเกอรแตมคะเเนนไปใหผเชี่ยวชาญพิจารณา ู 2. นํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ 3. นําสมุดสะสมคะแนนไปทดลองใชกับนักเรียนกลุมเล็ก ( 3 – 5 คน ) 2
  • 3. 4. ปรับปรุงแกไขสมุดสะสมคะแนน 5. นําสมุดสะสมคะแนนมาใชจริงกับประชากรในภาคเรียนที่ 1 วิธีดําเนินการวิจัย ในการดําเนินการวิจัยครั้งนี้มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 4 (สิทธิไชยอุปถัมภ ) ที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 ที่ผูวิจัยรับผิดชอบสอน จํานวน 77 คน ( นักเรียนทั้ง 2 หอง หองเรียนที่ 1 38 คนและหองเรียนที่ 2 39 คน สวน นักเรียนเขาใหมภาคเรียนที่ 1 ไมไดนํามารวมในการทําวิจัย ) 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ใชสมุดสะสมคะแนนและสติกเกอรแตมคะเเนน ในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ใน การสงงาน โดยอาศัยของรางวัลเปนตัวเสริมแรง 3. การดําเนินการทดลอง นําสมุดสะสมคะแนนไปใชกบการเรียนการสอนโดยนําสมุดสะสมคะแนนมอบใหกับนักเรียนในครั้งแรก ั จะมอบเมือนักเรียนทํางานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอย ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาโดยที่เสร็จ 1 ่ ครั้งจะไดเปน สติกเกอรรูปคอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่งหมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะเเนนเพื่อ แลกของรางวัลตามคะเเนนแตมที่ถึงเชน 10 แตมเเลกสมุดได 1 เลม 15 แตม แลก แกว 1 ใบ ฯ เปนตน โดยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทั้งภาคเรียน 4. การวิเคราะหขอมูล 1.1 เปรียบเทียบรอยละการสงสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสราง แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการสงงาน 1.2 วิเคราะหคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คามัชฌิมเลขคณิต 3
  • 4. ผลการวิจัยและวิจารณ ผลการวิจัย 1. เปรียบเทียบรอยละการสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ในการสงงาน ตารางแสดงรอยละการสงงานของนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 เรื่อง จํานวนนักเรียน คิดเปนรอยละ จํานวนนักเรียน คิดเปนรอยละ ที่ทําสงงาน ที่ ไมสงงาน  1. หลักการทํางาน บทบาท ฯ 71 92 6 8 2. การสื่อสารขอมูล เครือขาย ฯ 57 74 20 26 3. ยุค 63 82 14 18 4. เลขฐาน 52 68 25 32 5. ประมวลผลขอมูล 65 84 12 16 รวม 308 80 77 20 จากตารางพบวา รอยละการสงงานของนักเรียนสูงถึงรอยละ 80 จากเดิมรอยละ 43 ตารางเปรียบเทียบรอยละการสงงานของนักเรียนกอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนน รอยละการสงงานของ ภาคเรียนที่ 2/2546 ภาคเรียนที่ 1/2547 นักเรียน ( กอนใช ) ( หลังใช ) นักเรียนที่ทํางานสง 43 80 นักเรียนที่ไมสงงาน 57 20 2. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 คิดเปนรอยละ 70.09 จากการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนและหลังใชสมุดสะสมคะแนนในการสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการ ์ ทํางานคิดเปนความกาวหนา 70.09 - 51.61 = 18.48 ผลการวิจารณ 1. นําแนวทางการพัฒนาไปใชกบสภาพปญหาอืน ๆ ในการจัดการเรียนการสอน โดยนาจะพัฒนาใน ั ่ เรื่องพฤติกรรมของนักเรียนดานตาง ๆ ได 4
  • 5. 2. ควรเผยแพรผลงานใหครูคนอื่นไดนําไปทดลองใชกับการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นของแตละ บุคคล สรุป 1. สรุปผลการใชนวัตกรรม ภายหลังจากการเรียนโดยใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางาน ปรากฏวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางานสูงขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี ขึ้น 2. อภิปรายผล จากผลการใชสมุดสะสมคะแนนสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิในการทํางานในวิชา ์ คอมพิวเตอร ปรากฏวานักเรียนมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ในการทํางานสูง มีความรับผิดชอบมากขึ้น ตลอดจนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และสนุกกับการเรียนการสอนแบบนี้ ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงความกาวหนาในการ เรียนของนักเรียนพบวา นักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนดีขึ้นตามระยะเวลาและจํานวนกิจกรรมที่เรียน และ เมื่อสิ้นสุดการเรียนในภาคเรียนนี้นักเรียนทุกคนสามารถที่จะเรียนตอในระดับที่สูงขึ้น ทังนี้อาจเปนเพราะ ้ นวัตกรรมในการเสริมแรงและแนวการสอนมีลําดับขั้นและกิจกรรมที่เหมาะสม สามารถดึงดูดใหนักเรียนตั้งใจ เรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบมากขึ้น แตผลการทดลองยังไมเปนที่นาพอใจ และยังมีขอบกพรองในเรื่องของ  ระยะเวลาการจัดกิจกรรม ซึ่งจะตองมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมบางกิจกรรม ใหมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และ ไมยากเกินไปที่นกเรียนจะทําเสร็จทันกําหนดเวลา ั เอกสารอางอิง รองศาสตราจารย ดร. พันทิพา อุทัยสุข พรอมคณะ. “ เอกสารการสอนชุดวิชา ระบบการเรียนการสอน ” . สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , 2523 นิยามศัพท แรงจูงใจใฝสมฤทธิ์ หมายถึง แรงผลักดันหรือแรงกระตุนภายในที่ทําใหบุคคลมีความมุงมั่นที่จะ ั กระทําการใด ๆ ไปสูเปาหมายใหสําเร็จใหจงได อยางมีประสิทธิภาพ และเปนแรงขับที่ทําใหการเรียนรูไดผลมาก ขึ้น ลักษณะสําคัญของบุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูง บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงจะมีลกษณะดังนี้ ั 1. มีความทะเยอทะยาน 2. ชอบการแขงขันและชอบทํางานทาทาย 3. ตั้งความหวังหรือเปาหมายไวคอนขางสูงแตก็จะกําหนดเปาหมายไมใหยากเกินไปหรืองายเกินไป 4. ชอบทํางานแขงกับเวลา 5. อดทน มุงมั่นทํางานจนกวาจะสําเร็จโดยไมหวั่นไหวตอสิ่งรบกวน 6. เลือกเพื่อนรวมงานโดยใหความสําคัญกับความสามารถในการทํางานเปนอันดับแรก 7. สรางผลงานโดยคํานึงถึงคุณภาพมากกวาปริมาณ 8. สามารถบังคับและควบคุมตัวเองได 5
  • 6. 9. ทํางานเต็มความสามารถเสมอไมวาผลตอบแทนที่เปนรางวัลหรือสิ่งของจะมากหรือนอยก็ตาม  10. ทํางานเพื่อความเปนเลิศของงานมากกวาความมีชื่อเสียงเทานั้น 11. ใชดุลยพินิจอยางอิสระ โดยอาศัยขอมูลและประสบการณทไดรับ ี่ 12. ชอบไดรับผลยอนกลับทันทีเพื่อจะไดรูความกาวหนาของงานที่ทํา 13. ปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้นอยูเสมอ ความสําคัญของแรงจูงใจใฝสมฤทธิ์ั จากการศึกษาและวิจัยของนักจิตวิทยาพบวาแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์มีความสําคัญดังนี้ 1. บุคคกลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิสูงมีแนวโนมที่จะประสบความสําเร็จสูงและดวย มาตรฐาน ที่ดีเยี่ยม ์ มากกวาผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ต่ําหรือไรแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ 2. บุคคลทีมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สงประสบความสําเร็จในงานที่เกี่ยวของกับการคํานวณและภาษากับ ู งานที่ตองใชปญญาในการคิดแกปญหามากวาผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ต่ําหรือไรแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์  3. บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สงสามารถรักษาระดับผลการเรียนที่ดีของตนในระดับมัธยมศึกษาไว ู ไดจนถึงระดับอุดมศึกษา 4. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์มีความสําคัญตอบุคคลทั้งในดานการศึกษาและอาชีพ เชน ความสําเร็จทางการ ศึกษาจากสถาบัน หรือความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ดานการดําเนินชีวิตสวนตัวในสังคม เชน การไดแตงงาน หรือการบุคลิกภาพที่ดี ดานการประกอบ กิจกรรมพิเศษ ( เชน การเลนกีฬา หรือ การใหบริการแกสังคม ) และดานการประกอบดําเนินชีวิตในครอบครัว เชน การเปนพอแม หรือการมีความสัมพันธกบคนใน ครอบครัว ั จากความหมายและความสําคัญของแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ดังกลาวทําใหเห็นไดวาถาผูรียนมีแรงจูงใจใฝ สัมฤทธิ์สูงยอมสงผลใหผูเรียนมีความมานะและมุงมั่นที่จะศึกษาและเลาเรียนใหประสบความสําเร็จใหจงได สมุดสะสมคะแนน หมายถึง สมุดที่สะสมแตมคะเเนนที่มอบใหกับนักเรียนที่ทํางานที่ไดรับ มอบหมายเสร็จเรียบรอย ถูกตองและสงงานครูตามกําหนดเวลาโดยที่เสร็จ 1 ครั้งจะไดเปน สติกเกอรรูป คอมพิวเตอร 1 ใบ ซึ่งหมายถึง 1 คะแนนเพื่อนําไปติดในสมุดไวสะสมคะเเนนเพื่อแลกของรางวัลตามคะเเน นแตมที่ถึง เชน 10 แตมแลกสมุดได 1 เลม 15 แตม แลก แกว 1 ใบ เปนตน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หมายถึง ตัวบงบอกวาเมื่อนักเรียนผานการเรียน ทั้งหมดใน แตละปการศึกษานั้นนักเรียนมีความรู ความเขาใจ และความสามารถนําความรูนั้นไปใชในการปฏิบัตจริง ิ ไดมากนอยเพียงใด ซึ่งการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจะใชการวัดผลการเรียนซึ่งมีเครื่องมือหลาย ๆ ชนิดมาชวยเชน แบบทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ ฯลฯ ************************************* 6