SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จัดทาโดย
นางสาว ณัฐกมล ทองปรุง
รหัสนักศึกษา 5841120026 / 01
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
บทที่ 2
การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้
maahalai.com
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา
ลักษณะเครื่องมือวัดทางด้านพุทธิพิสัย
1. ข้อสอบแบบถูก-ผิด (True-false)
2. ข้อสอบแบบจับคู่ (Matching)
3. ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice)
4. ข้อสอบแบบตอบสั้น (Short answer)
5. ข้อสอบแบบความเรียง (Essay)
การใช้เครื่องมือวัดทางด้านพุทธิพิสัย
1. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement test)
2. แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic test)
3. แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาและความถนัด (Intelligence and aptitudetest)
maahalai.com
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการศึกษา
ลักษณะของเครื่องมือวัดจิตพิสัย
1. แบบมาตรวัดประมาณค่า(Rating scale)
2. แบบตรวจสอบรายการ(Checklist)
3. แบบบันทึกพฤติการณ์(Anecdotal record)
การใช้เครื่องมือวัดจิตพิสัย
1. แบบสารวจความสนใจ(Interest inventory)
2. แบบวัดเจตคติ (Attitude test)
maahalai.com
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ขั้นตอนที่ 1. กาหนดความมุ่งหมายของการสอบ
1.1 สอบทาไม เป้าหมายของการสอบ
1.2 สอบอะไร เนื้อหาและน้าหนักความสาคัญ
1.3 สอบอย่างไร วิธีการสอบ ชนิด รูปแบบของแบบสอบ และเวลาที่ใช้
ในขั้นนี้ผู้สอนต้องทาการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเรียนรู้
วิเคราะห์เนื้อหา และกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน
maahalai.com
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบการสร้างแบบสอบ ประกอบด้วย
2.1 วางแผนการทดสอบ
เป็นการวางแผนการวัดผลตลอดทั้งภาคเรียน เช่น การทดสอบก่อน
สอน ระหว่างสอน (สอบย่อย,กลางภาค) หลังสอน (ปลายภาค) ว่าจะมีการ
ทดสอบทั้งหมดกี่ครั้ง แต่ละครั้งวัดอะไร ใช้เวลาเท่าใด
2.2 กาหนดรูปแบบของแบบสอบ
เป็นการกาหนดว่าจะใช้แบบทดสอบรูปแบบใด ชนิดใด
เป็นแบบเขียนตอบ แบบถูกผิด หรือแบบเลือกตอบ เป็นต้น
2.3 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
maahalai.com
ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์
3.1 ร่างข้อสอบ (itemdrafting) โดยวัดเนื้อหาและพฤติกรรมตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร
1. พลอยได้คะแนนกลางภาควิชาการหลักการวัดและประเมินผล 40 คะแนน มีความหมายเหมือนกับข้อใด
ก การวัด
ข การประเมิน
ค การสอบ
ง แบบสอบ
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบ/แบบสอบ
4.1 ตรวจสอบความสอดคล้องและเหมาะสมของข้อสอบด้วยวิธีการเชิงเหตุผล(ความตรงเชิงเนื้อหา)
4.2 นาแบบสอบไปทดลองใช้และตรวจสอบคุณภาพเชิงประจักษ์ (ความยากง่าย อานาจจาแนก ความ
maahalai.com
ความรู้ความจา (Knowledge)
เป็นความสามารถในการระลึกหรือจาเรื่องราวที่เคยเรียนรู้มาแล้วทั้งจากใน
ห้องเรียนและประสบการณ์ทั่วไป จาแนกเป็น
1. ความรู้ในเรื่องเฉพาะ ได้แก่ ศัพท์และนิยามต่างๆ และความจริงเฉพาะ
อย่าง
2. ความรู้ในแนวทางและวิธีการดาเนินงาน ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ
แบบแผน วิธีการ ลาดับขั้นตอน แนวโน้มของเหตุการณ์ การจัดประเภท
หมวดหมู่ เกณฑ์
3. ความรู้ในหลักสากลและนามธรรม ได้แก่ ความรู้ในเรื่องหลักเกณฑ์และ
ข้อสรุปทั่วไป ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
maahalai.com
ความเข้าใจ (Comprehension)
เป็นความสามารถในการเรียนรู้ จา และสื่อสาร ความรู้นั้นออกมา
ได้อย่างถูกต้อง
• การแปลความ (Translation) การบอกความหมายตามนัยของคา
เหตุการณ์ หรือกิจกรรม
• การตีความ (Interpretation) การนาผลการแปลความมา
เปรียบเทียบ เป็นข้อยุติ
• การขยายความ (Extrapolation) เปรียบเทียบ ความหมายของคา
เหตุการณ์ หรือกิจกรรม ให้กว้างไกลออกไปจากเดิม
maahalai.com
การนาไปใช้ (Application)
ความสามารถในการนาความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่ไปใช้ใน
การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ใหม่
maahalai.com
การวิเคราะห์ (Analysis)
เป็นความสามารถในการแยกแยะองค์รวมของสิ่งต่างๆ
ออกเป็นส่วนประกอบย่อยๆ ประกอบด้วย
maahalai.com
การสังเคราะห์ (Synthesis)
ความสามารถในการผสมผสานส่วนประกอบย่อยเข้า
ด้วยกันเป็นองค์รวมใหม่ที่กลมกลืนอย่างมีความหมาย
maahalai.com
การประเมิน (Evaluation)
ความสามารถในการตีค่าหรือตัดสินคุณค่าของสิ่งต่างๆ ตาม
เกณฑ์หรือมาตรฐาน ที่กาหนดไว้ ประกอบด้วย
maahalai.com
การสร้างเครื่องมือวัดด้านจิตพิสัย
จิตพิสัย หมายถึง ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคลที่
มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งสามารถแสดงออกในรูปของความเชื่อ
ความรู้สึก และเจตนาที่จะกระทาที่มีต่อบุคคล วัตถุสิ่งของ
สถาบันฯลฯ แบ่งได้เป็นหลายระดับ ดังนี้
maahalai.com
การแสดงออกถึงคุณลักษณะด้านจิตพิสัย แสดงออกได้ 3 ทางคือ
1. ทางความคิด คือ การแสดงออกของความรู้สึกผ่านทาง ความคิด
และความเชื่อ
2. ทางความรู้สึก คือ การแสดงออกของความรู้สึกโดยตรงอย่าง
ชัดเจน เช่น มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
3. ทางการกระทา คือ การแสดงออกซึ่งเจตนารมย์ที่จะกระทา ผ่าน
ทางการปฏิบัติ เช่น เข้าเรียนตรงเวลา
maahalai.com
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะด้านจิตพิสัย
• กาหนดคุณลักษณะที่ต้องการวัด
• กาหนดตัวบ่งชี้ถึงคุณลักษณะที่ต้องการวัด
• กาหนดวิธีการวัดและสร้างเครื่องมือ
• กาหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายผลการวัด
เครื่องมือวัดด้านจิตพิสัย
maahalai.com
1. แบบสังเกต (Observation form) เป็นเครื่องมือที่สามารถวัดได้ตรง กับ
สภาพความเป็นจริงมากที่สุด เป็นวิธีการวัดที่ให้ผู้อื่นประเมิน แบ่งออกได้
เป็น 2 รูปแบบคือ
1.1 แบบสังเกตที่มีโครงสร้าง (structured observation form) เป็น
แบบสังเกตที่ประกอบด้วยรายการข้อคาถามแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1.1.1 แบบตรวจสอบรายการ (check-list) จะประกอบด้วย รายการที่
ให้ผู้สังเกตระบุเพียงสองทางเลือกเช่น มีหรือไม่มี เกิดหรือไม่เกิด ใช่หรือ
ไม่ใช่ รวมทั้งการระบุความถี่ของการวัด
เครื่องมือวัดด้านจิตพิสัย
maahalai.com
1.2 แบบสังเกตที่ไม่มีโครงสร้าง(unstructured observation form) เป็นแบบสังเกตที่มีแต่หัวข้อ ไม่มี
รายละเอียด ข้อมูลที่ได้จะตรง หรือไม่ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความชานาญของผู้สังเกตกาหนด
จุดมุ่งหมายของการสังเกต
พิจารณาจากจุดมุ่งหมายการเรียนรู้และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ว่า ต้องการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน
ในด้านใด เช่น ความสุขในการเรียน
• กาหนดกรอบเนื้อหาหรือประเด็นที่ต้องการสังเกต
กาหนดรายละเอียดที่ต้องการสังเกตว่ามีอะไรบ้างเช่น ความสุขใน การเรียน มีตัวบ่งชี้คือ สีหน้ายิ้มแย้ม
แจ่มใส เข้าเรียนสม่าเสมอ ตั้งใจฟัง สิ่งที่ครูสอน
• กาหนดรูปแบบของการสังเกต
แบบสังเกตที่มีโครงสร้างหรือไม่มีโครงสร้าง
• เขียนรายการสังเกตและตรวจสอบคุณภาพ
รายการที่สังเกตต้องครอบคลุมประเด็นที่ต้องการสังเกต
2. มาตรวัดความสนใจ (Interesting Test)
maahalai.com
เป็นเครื่องมือที่ให้ผู้ตอบประเมินตนเอง ประกอบด้วยข้อความที่
แสดงถึงกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งที่มุ่งประเมิน โดยการวัดความสนใจจะ
พิจารณาจากความถี่ของการเกิดพฤติกรรมดังกล่าว
3. แบบสอบถามความคิดเห็น
maahalai.com
เป็ นแบบสอบถามที่ให้ผู้ตอบประเมินตนเอง ประกอบด้วยข้อ
คาถามที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการถาม ลักษณะของคาถาม มี 2
รูปแบบคือ
1) คาถามปลายปิด จะมีข้อคาถามและคาตอบให้ผู้ตอบได้เลือกตอบ
ตามความเป็นจริง
2) คาถามปลายเปิด จะมีเพียงข้อคาถามแล้วให้
4. แบบวัดเจตคติ
maahalai.com
เป็ นเครื่องมือที่ให้ผู้ตอบประเมินตนเองประกอบด้วยข้อความที่
แสดงถึงความรู้สึกต่อสิ่งที่มุ่งวัด โดยข้อความจะประกอบด้วย
ข้อความทางบวกและทางลบต่อสิ่งที่มุ่งวัดนั้นๆ แล้วให้ผู้ตอบแสดง
ความรู้สึกต่อข้อความแต่ละข้อว่าอยู่ในระดับใด ใน 5 ระดับ คือเห็น
ด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
5. แบบสัมภาษณ์
maahalai.com
เป็นเครื่องมือที่เหมาะสาหรับใช้เก็บข้อมูลเชิงลึกและใช้สา
หรับเก็บข้อมูลกับกลุ่มที่ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ โดย
แบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ขั้นตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์
maahalai.com
• กาหนดจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณ์
• กาหนดกรอบเนื้อหาหรือประเด็นของการสัมภาษณ์
• การเขียนหัวข้อที่สัมภาษณ์
• การตรวจสอบคุณภาพและการปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือวัดด้านทักษะพิสัย
maahalai.com
ทักษะพิสัย (Psychomotor domain) เป็นความสามารถของ
ผู้เรียนในการใช้กล้ามเนื้อเพื่อการเคลื่อนไหวต่างๆ ได้อย่าง
คล่องแคล่ว ว่องไว การวัดทักษะพิสัยจะวัดใน 2 ส่วนดังนี้
1. วัดกระบวนการทางาน (process)
2. วัดผลผลิต (product)
เกณฑ์การให้คะแนน (Rubric Scoring)
maahalai.com
เป็นแนวทางการให้คะแนนที่จะแยกแยะระดับต่างๆ ของความสาเร็จในการ
เรียน หรือการปฏิบัติของผู้เรียนได้อย่างชัดเจนจากดีมากไปจนถึงต้อง
ปรับปรุงแก้ไข เกณฑ์การให้คะแนนมี 2 วิธี คือ
1. เกณฑ์การให้คะแนนในภาพรวม (Holistic Scoring) คือ แนวทางการให้
คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน โดยแบ่งตามคุณภาพออกเป็น
กองหรือกาหนดระดับความผิดพลาด ซึ่งจะมีคาอธิบายลักษณะของงานใน
แต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน ส่วนใหญ่ประกอบด้วย 3-6 ระดับ
maahalai.com
2.เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Scoring)
คือ แนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละส่วนของ
งาน ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องกาหนดแนวทางให้คะแนน โดยมี
คานิยามหรือคาอธิบายลักษณะของงานในส่วนนั้นๆ ในแต่
ระระดับไว้อย่างชัดเจน

More Related Content

What's hot

โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมPhajon Kamta
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 

What's hot (20)

โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 

Similar to บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้

บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยบทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยืnattakamon thongprung
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 

Similar to บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ (20)

บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยบทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้