SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
พืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6 (ว30264) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
เสนอ
คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิก
น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ เลขที่ 1
น.ส. พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ เลขที่ 11
น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน เลขที่ 19
นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์ เลขที่ 24
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
คานา
งานนาเสนอนี้ได้จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลของพืชที่มีความเกี่ยวข้องกันคืออยู่ในวงศ์เดียวกัน
เพื่อสืบค้นศึกษาลักษณะโดยรวมและสรรพคุณของพืชนั้นๆซึ่งสืบเนื่องต่อพันธุกรรมที่มีอิทธิพลต่อ
ลักษณะ รวมถึงสภาพโดยปัจจัยอื่นๆของพันธุ์ไม้ที่เลือกมานาเสนอ
สารบัญ
1. มะลิลา
2. มะกอกเผือก
3. ไคร้เครือ
4. มะลิภูหลวง
5. มะลิวัลย์
6. อวบดา
7. มะลิหลวง
8. มะลิขน
9. มะลุลี
10. หอมหมื่นลี้
11. พระขรรค์ไชยศรี
12. มะลิก้านแดง
มะลิลา
 ชื่อพื้นเมือง : มะลิลา
 ชื่ออื่น : มะลิ, มะลิลา (ทั่วไป), มะลิซ้อน (ภาคกลาง), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน), มะลิป้อม (ภาคเหนือ), ข้าวแตก (เงี้ยว-
แม่ฮ่องสอน), เตียมูน (ละว้า-เชียงใหม่)
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum Sambac (L.) Aiton
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือต่ากว่าไม้พุ่ม สูง 1 -1 1 เมตร ใบจัดตรงข้ามเป็นคู่ ๆ ใบสีเขียวแก่ แผ่นใบค่อนข้างมนกลมรูปวงรี ก้านใบสั้นมาก ใบกว้าง 4-5 ซ.ม.
ยาว 6-9 ซ.ม. ดอกช่อหรือเดี่ยว ถ้าเป็นช่อมี 3-4 ดอก ตรงกลางบานก่อน (cymose type) ดอกสีขาวกลิ่นหอมมาก ผล เป็นผลสด
 แหล่งที่พบ : ดอกมะลิที่ถิ่นกาเนิดในประเทศแถบเอเชีย เช่น อินเดีย และคาบสมุทรอาระเบีย
 ประโยชน์ : ใบ, ราก ทายาหยอดตา
ดอกแก่ เข้ายาหอม แก้หืด บารุงหัวใจ
ราก ฝนรับประทาน แก้ร้อนใน, เสียดท้อง รักษาหลอดลมอักเสบ ขับประจาเดือน
ใบ ตาให้ละเอียด ผสมกับน้ามะพร้าวใหม่ๆ นาไปลนไฟ ทารักษาแผล ฝีพุพอง แก้ไข้ ขับน้านม
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
มะกอกเผือก
 ชื่อพื้นเมือง : มะกอกเผือก
 ชื่ออื่น : กอกดอน, กอกผี, กอกปีศาจ, มะกอกโคก, กอกเขมร
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schrebera swietenides Roxb.
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มะกอกเผือก เป็นไม้ต้น ผลัดใบ สูง 7-15 เมตร ใบมะกอกเผือก เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 7-9 ใบ รูปไข่ กว้าง 2-
4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกมะกอกเผือก สีเหลืองอมน้าตาล กลิ่นหอมอ่อนๆ
ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5-7 แฉก ผลมะกอกเผือก เป็นผลแห้ง ทรงกลม เปลือกแข็ง สี
น้าตาลอ่อนก้นป่องเล็กน้อย กว้าง 4 ซม. ยาว 5-6.5 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกจากด้านล่างเป็น 2 ซีก
 แหล่งที่พบ : พบในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สูงจากระดับน้าทะเล 250-800 เมตร
 ประโยชน์ : ผล รสเปรี้ยวเย็น ดับพิษไข้ แก้ไข้กาฬ ไข้หวัด แก้ร้อนในกระหายน้า
ราก รสเย็น ถอนพิษสาแดง
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
ไคร้เครือ
 ชื่อพื้นเมือง : ไคร้เครือ
 ชื่ออื่น ๆ : ไคเครือ , ไคเคือ, ไคร้เครือ, รังไคร้เครือ ( ไทย )
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aristolochia sp.
 วงศ์ : Oleaceae
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นพรรณไม้เถา ขนาดเล็ก เกลี้ยง มียางสีขาว ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ปลายแหลม โคนเว้า ก้านยาว ดอกช่อใหญ่
 แหล่งที่พบ : เป็นพรรณไม้ที่เกิดขึ้นตามป่าชื้นและป่าโปร่งทั่ว ๆไป ถิ่นกาเนิดอยู่ทางภาคเหนือและภาค ตะวันออก และคงมีบ้างทางภาคอื่นอีกด้วย
 ประโยชน์ : ราก จะมีรสขมขื่นปร่า ใช้รักษาอาการเป็นไข้จับสั่นไข้คลั่งเพ้อ รักษาโรคพิษไข้ ไข้เชื่อมซึม พิษกาฬ เป็นยาชู เป็นยาชูกาลังและเป็นยาเจริญอาหาร
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
มะลิภูหลวง
 ชื่อพื้นเมือง : มะลิภูหลวง
 ชื่ออื่น : -
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum decipiens
 วงศ์ : OLEACEAE
 แหล่งที่พบ : เป็นมะลิพื้นเมืองของไทยกระจายอยูบนพื้นที่สูง
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้รอเลื้อยขนาดเล็ก เลื้อยได้ไกล 2-3 เมตร แตกกิ่งจานวนมาก ใบเดี่ยวรูปรี ยาว 7-10 เซนติเมตร มองเห็นเส้นใบย่อย
ชัดเจน ช่อดอกออกที่ปลายยอด ยาว 5-8 เซนติเมตร มีดอกย่อย 10-30 ดอก กลีบดอกสีขาว มี 7-8 กลีบ เมื่อบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2
เซนติเมตร
 ประโยชน์ : ดอกมีกลิ่นหอมทาให้ผ่อนคลาย
 ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
มะลิวัลย์
 ชื่อพื้นเมือง : มะลิวัลย์
 ชื่ออื่น : มะลิย่าน, มะลิเถื่อน, ลิ, เสี้ยวต้น, ไลไก่, ดอกเสี้ยว, ใส้ไก่, เขี้ยวงู
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum elongatum (Bergius) Willd.
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้เลื้อย เจริญได้ไกล 2-3 เมตร ลาต้นเป็นเถาขนาดเล็ก แตกยอด
จานวนมาก ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน รูปใบหอก ยาว 4-7 เซนติเมตร ดอกเป็นช่อ ออกที่ซอกใบใกล้
ปลายยอด มี 2-5 ดอก กลีบเลี้ยงเป็นซี่แหลมเรียวยาว โคนกลีบดอกเป็นหลอด สีขาว ยาว 1
เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 7-10 กลีบ กลีบแคบเรียวแหลม ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3
เซนติเมตร ผลกลมรี เมื่อแก่สีม่วงอมดา
 แหล่งที่พบ : พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย กระจายพันธุ์จนถึงไทย พม่า มาเลเซีย และเวียดนาม ใน
ไทยพบได้ทุกภาค
 ประโยชน์ : ดอก รสหอมเย็น บารุงหัวใจ บารุงครรภ์รักษา แก้ไข้ตัวร้อน
ราก รสจืดเย็น ถอนพิษยาเมาเบื่อ ถอนพิษไข้ ถอนพิษอักเสบต่างๆ
 ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
อวบดา
 ชื่อพื้นเมือง : อวบดา
 ชื่ออื่น : เกลื่อน (สุราษฎร์ธานี), ตาไชใบใหญ่ (ตรัง), โว่โพ้
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Linociera ramiflora Wall.ex G. Don
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นอวบดา เป็นไม้ต้น สูง 5-10 เมตร ผิวลาต้นเกลี้ยง ใบอวบดา เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3-
5 ซม. ยาว 8-18 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 2.5-3.5 ซม. ดอกอวบดา สีขาว ออกเป็นช่อ
ตามซอกใบ ดอกย่อยขนาด 0.3-0.7 ซม. กลีบรองดอกและกลีบดอกอย่างละ 4 กลีบ เกสรผู้ 2 อัน ผลอวบดา เป็นผลสด รูปไข่ขนาดประมาณ 1 ซม.
เมื่อสุกสีม่วงดา
 แหล่งที่พบ : จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทุกภาค บริเวณป่าดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 450-800
ม.
 ประโยชน์ : ราก เป็นยารักษาโรคมุตกิด โรคระดูขาวของสตรี ช่วยรักษาภาวะมีบุตรยากในสตรีเนื่องจากรอบเดือนผิดปกติ ต้มน้าอมช่วยให้ฟันทน
เคี้ยวอมเพื่ออดบุหรี่
 ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
มะลิหลวง
ชื่อพื้นเมือง : มะลิหลวง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum laurifolium
ชื่อเรียกอื่น : Angel’s wing jasmine, Confederate jasmine, Star jasmine
ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปหอกหรือรูปรี แผ่นใบหนาเป็นมัน โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอก
ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 6 กลีบ สีแดง กลีบดอก 9-12 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบ
แผ่แบน ดอกตูมสีแดง เมื่อบาน สีขาว
แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิด ปาปัวนิวกินี
ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับ
ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
มะลิขน
 ชื่อพื้นเมือง : มะลิขน
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum craibianum
 ชื่อเรียกอื่น : -
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะ : ไม้เลื้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้าตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่กลับหรือขอบขนานแกมรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-10 ซม. โคน
ใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 4-8 มม. ดอกสีขาวนวล มีกลิ่นหอมจาง ออกเป็นช่อสั้นตามยอดหรือซอกใบ
จานวน 3-5 ดอก ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบประดับเป็นเส้น กลีบรองดอกเป็นถ้วยตื้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็น
หลอด ยาว 2 ซม. ปลายแยกเป็น 6-8 แฉก กว้าง 0.2 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. เกสรผู้ 2 อัน
 แหล่งที่พบ : พบเฉพาะทางในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามชายป่าดิบและบริเวณป่า
โปร่ง
 ประโยชน์ : นิยมปลูกตามบ้านเป็นไม้ประดับและไม้มงคล ให้ดอกเกือบตลอดปี
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
มะลุลี
 ชื่อพื้นเมือง : มะลุลี
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum pubescens Willd.
 ชื่อเรียกอื่น : มะลิซ่อม มะลิเลื้อย
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านมีขนนุ่มสีน้าตาล ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ หรือ 3 ใบ ใบย่อยรูปรีแกมไข่ ขนาดกว้าง 3-3.5 ซม.
ยาว 5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือกิ่งด้านข้าง ช่อค่อนข้างแน่น กลีบรองดอก สีเขียว 5 กลีบ รูปขอบขนานแคบปลายแหลม มี
ขนนุ่มสีน้าตาลคลุม กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2 ซม. ตอนปลายแยกเป็น 6-8 กลีบ ยาว 2 ซม. ดอกไม่มีกลิ่นหอม
 แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่
ความสูงระดับน้าทะเลจนถึง 200 ม. ปลูกได้ทั่วไป
 ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับได้ดี
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
หอมหมื่นลี้
 ชื่อพื้นเมือง : หอมหมื่นลี้
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Osmanthus fragrans Lour.
 ชื่อเรียกอื่น : สารภีอ่างกา สารภีฝรั่ง
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1-7 เมตร กิ่งก้านสีน้าตาลอ่อน ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม รูปหอกหรือรีแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-5
ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง เกลี้ยง ดอก สีขาว ออกเป็นกลุ่มตาม ซอกใบ
กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐานเป็นหลอด ยาว 3-5 มม. ปลายกลีบแผ่มนกลม เกสรผู้ 2
อัน ติดอยู่ด้านในกลีบดอก เกสรเมีย 1 อัน ปลายแยกเป็น 2 แฉก ผล เป็นผลสด ผลแก่สีม่วงดา รูปรี ยาว 1-2 ซม.
 แหล่งที่พบ : พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบตามป่าดิบเขาทางภาคเหนือที่ดอยอินทนนท์ ที่ระดับความสูง
2,400-2,565 เมตร
 ประโยชน์ : ดอกมีกลิ่นหอมเย็น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
พระขรรค์ไชยศรี
 ชื่อพื้นเมือง : พระขรรค์ไชยศรี
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Myxopyrum smilacifolium (Wall) Blume subsp. Smilacifolium
 ชื่อเรียกอื่น : ฝนแสนห่า, เหล็กเหลี่ยม
 ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
 ลักษณะ :ไม้เถาเลื้อย กิ่งก้านเรียบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรี ดอกออกเป็นช่อที่ง่าม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกย่อยมีก้านสั้นมาก วง
กลีบเลี้ยงเป็นพูรูปรี วงกลีบดอกรูประฆัง เชื่อมกันเป็นหลอด พูกลีบรูปช้อนช่อแยกแขนงออกดอกที่ซอกใบ ดอกย่อยจานวนมาก กลีบดอกสี
เหลือง ผลสดแบบมีเนื้อนุ่ม เรียบเกลี้ยง รูปทรงกลม เมื่อสุกสีส้ม มี 2 เมล็ด
 แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 ประโยชน์ : ลาต้นและใบ แช่น้า ทาแก้อาการชาตามแขนขาทั้งห้า ผสมเปลือกต้นตูมกาขาวและผักบุ้งร้วมทั้งต้น ต้มน้าดื่ม แก้มะเร็งตับ แต่ต้อง
ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม เนื่องจากเป็นยาอันตราย หากใช้มากเกินไป จะทาให้เหงื่อออกมากจนอาจถึงตายได้ เถา รสเมาเบื่อ ขับเหงื่อ ดับร้อน
ขับพิษไข้ ขับพิษร้อนภายใน เป็นยาอันตราย ใช้มากทาให้เหงื่อออกมาก หนาวสั่น ตัวซีด เหี่ยวตาย
 ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
มะลิก้านแดง
ชื่อพื้นเมือง : มะลิก้านแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum grandiflorum Linn.
ชื่อเรียกอื่น : จะขาน จัสมิน พุทธชาด สถาน มะลิก้านยาว มะลิเขียว
ชื่อวงศ์ : OLEACEAE
ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านสีเขียว ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบออกตรงข้ามเป็นคู่ ก้านใบแผ่ออกเป็นครีบแคบๆ ใบ
ย่อยมี 5-9 ใบ รูปรีแกมสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบย่อยปลายก้าน มีขนาดใหญ่ที่สุด ขนาดกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม.
ดอกสีขาวแกมม่วง ด้านหลังกลีบมีสีชมพูอมม่วง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง หรือกิ่งด้านข้าง ช่อดอกไม่แน่น กลีบรองดอกสีเขียว 5
กลีบ รูปขอบขนานแคบปลายแหลม กลีบดอกตอนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-2.5 ซม. ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบ
แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดในประเทศอินเดีย ในประเทศไทยปลูกเป็นไม้ประดับ ปลูกได้ทั่วไป
ประโยชน์ : เป็นไม้ดอกหอม สามารถนาไปสกัดทาน้าหอมได้
ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
บรรณานุกรม
1. www.wikiwand.com
2. www.medthai.com
3. www.qsbg.org
4. https://www.samunpri.com
5. http://www.thaitreeflowers.com
6. http://thaiherbal.org/240/240
7. http://www.komchadluek.net/news/agricultural/219995
กิตติกรรมประกาศ
งานนาเสนอนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยการได้รับความอนุเคราะห์ การสนับสนุนและการแนะนาจากหลายๆส่วนจาก คุณครู วิชัย
ลิขิตพรรักษ์ ซึ่งเป็นการนาสู่ความสาเร็จของงานนาเสนอชิ้นนี้ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณอย่างสูงยิ่ง
ขอขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และผู้ปกครองที่ช่วยสนับสนุนงานนาเสนอนี้ของทางคณะผู้จัดทา
ขอขอบคุณเพื่อนๆนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 ที่ช่วยเสนอแนะและเป็นที่ปรึกษานาการจัดทางานนาเสนอชิ้นนี้
ขึ้นมา

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 

Similar to Plant ser 77_60_2 (20)

Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab complete
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Sweet
SweetSweet
Sweet
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 77_60_2

  • 2. เสนอ คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ สมาชิก น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ เลขที่ 1 น.ส. พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ เลขที่ 11 น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน เลขที่ 19 นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์ เลขที่ 24 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
  • 3.
  • 5. สารบัญ 1. มะลิลา 2. มะกอกเผือก 3. ไคร้เครือ 4. มะลิภูหลวง 5. มะลิวัลย์ 6. อวบดา 7. มะลิหลวง 8. มะลิขน 9. มะลุลี 10. หอมหมื่นลี้ 11. พระขรรค์ไชยศรี 12. มะลิก้านแดง
  • 6. มะลิลา  ชื่อพื้นเมือง : มะลิลา  ชื่ออื่น : มะลิ, มะลิลา (ทั่วไป), มะลิซ้อน (ภาคกลาง), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน), มะลิป้อม (ภาคเหนือ), ข้าวแตก (เงี้ยว- แม่ฮ่องสอน), เตียมูน (ละว้า-เชียงใหม่)  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum Sambac (L.) Aiton  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือต่ากว่าไม้พุ่ม สูง 1 -1 1 เมตร ใบจัดตรงข้ามเป็นคู่ ๆ ใบสีเขียวแก่ แผ่นใบค่อนข้างมนกลมรูปวงรี ก้านใบสั้นมาก ใบกว้าง 4-5 ซ.ม. ยาว 6-9 ซ.ม. ดอกช่อหรือเดี่ยว ถ้าเป็นช่อมี 3-4 ดอก ตรงกลางบานก่อน (cymose type) ดอกสีขาวกลิ่นหอมมาก ผล เป็นผลสด  แหล่งที่พบ : ดอกมะลิที่ถิ่นกาเนิดในประเทศแถบเอเชีย เช่น อินเดีย และคาบสมุทรอาระเบีย  ประโยชน์ : ใบ, ราก ทายาหยอดตา ดอกแก่ เข้ายาหอม แก้หืด บารุงหัวใจ ราก ฝนรับประทาน แก้ร้อนใน, เสียดท้อง รักษาหลอดลมอักเสบ ขับประจาเดือน ใบ ตาให้ละเอียด ผสมกับน้ามะพร้าวใหม่ๆ นาไปลนไฟ ทารักษาแผล ฝีพุพอง แก้ไข้ ขับน้านม  ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
  • 7. มะกอกเผือก  ชื่อพื้นเมือง : มะกอกเผือก  ชื่ออื่น : กอกดอน, กอกผี, กอกปีศาจ, มะกอกโคก, กอกเขมร  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schrebera swietenides Roxb.  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มะกอกเผือก เป็นไม้ต้น ผลัดใบ สูง 7-15 เมตร ใบมะกอกเผือก เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 7-9 ใบ รูปไข่ กว้าง 2- 4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร โคนใบมนหรือสอบเรียว ปลาบใบแหลม แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกมะกอกเผือก สีเหลืองอมน้าตาล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอกเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5-7 แฉก ผลมะกอกเผือก เป็นผลแห้ง ทรงกลม เปลือกแข็ง สี น้าตาลอ่อนก้นป่องเล็กน้อย กว้าง 4 ซม. ยาว 5-6.5 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกจากด้านล่างเป็น 2 ซีก  แหล่งที่พบ : พบในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สูงจากระดับน้าทะเล 250-800 เมตร  ประโยชน์ : ผล รสเปรี้ยวเย็น ดับพิษไข้ แก้ไข้กาฬ ไข้หวัด แก้ร้อนในกระหายน้า ราก รสเย็น ถอนพิษสาแดง  ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
  • 8. ไคร้เครือ  ชื่อพื้นเมือง : ไคร้เครือ  ชื่ออื่น ๆ : ไคเครือ , ไคเคือ, ไคร้เครือ, รังไคร้เครือ ( ไทย )  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aristolochia sp.  วงศ์ : Oleaceae  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นพรรณไม้เถา ขนาดเล็ก เกลี้ยง มียางสีขาว ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ปลายแหลม โคนเว้า ก้านยาว ดอกช่อใหญ่  แหล่งที่พบ : เป็นพรรณไม้ที่เกิดขึ้นตามป่าชื้นและป่าโปร่งทั่ว ๆไป ถิ่นกาเนิดอยู่ทางภาคเหนือและภาค ตะวันออก และคงมีบ้างทางภาคอื่นอีกด้วย  ประโยชน์ : ราก จะมีรสขมขื่นปร่า ใช้รักษาอาการเป็นไข้จับสั่นไข้คลั่งเพ้อ รักษาโรคพิษไข้ ไข้เชื่อมซึม พิษกาฬ เป็นยาชู เป็นยาชูกาลังและเป็นยาเจริญอาหาร  ผู้รับผิดชอบ : น.ส.พรรษมนต์ ศรีวิไลเจริญ
  • 9. มะลิภูหลวง  ชื่อพื้นเมือง : มะลิภูหลวง  ชื่ออื่น : -  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum decipiens  วงศ์ : OLEACEAE  แหล่งที่พบ : เป็นมะลิพื้นเมืองของไทยกระจายอยูบนพื้นที่สูง  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้รอเลื้อยขนาดเล็ก เลื้อยได้ไกล 2-3 เมตร แตกกิ่งจานวนมาก ใบเดี่ยวรูปรี ยาว 7-10 เซนติเมตร มองเห็นเส้นใบย่อย ชัดเจน ช่อดอกออกที่ปลายยอด ยาว 5-8 เซนติเมตร มีดอกย่อย 10-30 ดอก กลีบดอกสีขาว มี 7-8 กลีบ เมื่อบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 เซนติเมตร  ประโยชน์ : ดอกมีกลิ่นหอมทาให้ผ่อนคลาย  ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
  • 10. มะลิวัลย์  ชื่อพื้นเมือง : มะลิวัลย์  ชื่ออื่น : มะลิย่าน, มะลิเถื่อน, ลิ, เสี้ยวต้น, ไลไก่, ดอกเสี้ยว, ใส้ไก่, เขี้ยวงู  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum elongatum (Bergius) Willd.  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้เลื้อย เจริญได้ไกล 2-3 เมตร ลาต้นเป็นเถาขนาดเล็ก แตกยอด จานวนมาก ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน รูปใบหอก ยาว 4-7 เซนติเมตร ดอกเป็นช่อ ออกที่ซอกใบใกล้ ปลายยอด มี 2-5 ดอก กลีบเลี้ยงเป็นซี่แหลมเรียวยาว โคนกลีบดอกเป็นหลอด สีขาว ยาว 1 เซนติเมตร ปลายแยกเป็น 7-10 กลีบ กลีบแคบเรียวแหลม ดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 เซนติเมตร ผลกลมรี เมื่อแก่สีม่วงอมดา  แหล่งที่พบ : พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย กระจายพันธุ์จนถึงไทย พม่า มาเลเซีย และเวียดนาม ใน ไทยพบได้ทุกภาค  ประโยชน์ : ดอก รสหอมเย็น บารุงหัวใจ บารุงครรภ์รักษา แก้ไข้ตัวร้อน ราก รสจืดเย็น ถอนพิษยาเมาเบื่อ ถอนพิษไข้ ถอนพิษอักเสบต่างๆ  ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
  • 11. อวบดา  ชื่อพื้นเมือง : อวบดา  ชื่ออื่น : เกลื่อน (สุราษฎร์ธานี), ตาไชใบใหญ่ (ตรัง), โว่โพ้  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Linociera ramiflora Wall.ex G. Don  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นอวบดา เป็นไม้ต้น สูง 5-10 เมตร ผิวลาต้นเกลี้ยง ใบอวบดา เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 3- 5 ซม. ยาว 8-18 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 2.5-3.5 ซม. ดอกอวบดา สีขาว ออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ดอกย่อยขนาด 0.3-0.7 ซม. กลีบรองดอกและกลีบดอกอย่างละ 4 กลีบ เกสรผู้ 2 อัน ผลอวบดา เป็นผลสด รูปไข่ขนาดประมาณ 1 ซม. เมื่อสุกสีม่วงดา  แหล่งที่พบ : จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบทุกภาค บริเวณป่าดิบและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 450-800 ม.  ประโยชน์ : ราก เป็นยารักษาโรคมุตกิด โรคระดูขาวของสตรี ช่วยรักษาภาวะมีบุตรยากในสตรีเนื่องจากรอบเดือนผิดปกติ ต้มน้าอมช่วยให้ฟันทน เคี้ยวอมเพื่ออดบุหรี่  ผู้รับผิดชอบ : นาย จิรัฏฐ์ งามสกุลรุ่งโรจน์
  • 12. มะลิหลวง ชื่อพื้นเมือง : มะลิหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum laurifolium ชื่อเรียกอื่น : Angel’s wing jasmine, Confederate jasmine, Star jasmine ชื่อวงศ์ : OLEACEAE ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปหอกหรือรูปรี แผ่นใบหนาเป็นมัน โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 6 กลีบ สีแดง กลีบดอก 9-12 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบ แผ่แบน ดอกตูมสีแดง เมื่อบาน สีขาว แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิด ปาปัวนิวกินี ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับ ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
  • 13. มะลิขน  ชื่อพื้นเมือง : มะลิขน  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum craibianum  ชื่อเรียกอื่น : -  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะ : ไม้เลื้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้าตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่กลับหรือขอบขนานแกมรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-10 ซม. โคน ใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบยาว 4-8 มม. ดอกสีขาวนวล มีกลิ่นหอมจาง ออกเป็นช่อสั้นตามยอดหรือซอกใบ จานวน 3-5 ดอก ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบประดับเป็นเส้น กลีบรองดอกเป็นถ้วยตื้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็น หลอด ยาว 2 ซม. ปลายแยกเป็น 6-8 แฉก กว้าง 0.2 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. เกสรผู้ 2 อัน  แหล่งที่พบ : พบเฉพาะทางในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามชายป่าดิบและบริเวณป่า โปร่ง  ประโยชน์ : นิยมปลูกตามบ้านเป็นไม้ประดับและไม้มงคล ให้ดอกเกือบตลอดปี  ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
  • 14. มะลุลี  ชื่อพื้นเมือง : มะลุลี  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum pubescens Willd.  ชื่อเรียกอื่น : มะลิซ่อม มะลิเลื้อย  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านมีขนนุ่มสีน้าตาล ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ หรือ 3 ใบ ใบย่อยรูปรีแกมไข่ ขนาดกว้าง 3-3.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือกิ่งด้านข้าง ช่อค่อนข้างแน่น กลีบรองดอก สีเขียว 5 กลีบ รูปขอบขนานแคบปลายแหลม มี ขนนุ่มสีน้าตาลคลุม กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2 ซม. ตอนปลายแยกเป็น 6-8 กลีบ ยาว 2 ซม. ดอกไม่มีกลิ่นหอม  แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ ความสูงระดับน้าทะเลจนถึง 200 ม. ปลูกได้ทั่วไป  ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับได้ดี  ผู้รับผิดชอบ : น.ส. จัสมีน ซอหิรัญ
  • 15. หอมหมื่นลี้  ชื่อพื้นเมือง : หอมหมื่นลี้  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Osmanthus fragrans Lour.  ชื่อเรียกอื่น : สารภีอ่างกา สารภีฝรั่ง  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1-7 เมตร กิ่งก้านสีน้าตาลอ่อน ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม รูปหอกหรือรีแกมขอบขนาน กว้าง 1.5-5 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง เกลี้ยง ดอก สีขาว ออกเป็นกลุ่มตาม ซอกใบ กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ เชื่อมติดกันที่ฐานเป็นหลอด ยาว 3-5 มม. ปลายกลีบแผ่มนกลม เกสรผู้ 2 อัน ติดอยู่ด้านในกลีบดอก เกสรเมีย 1 อัน ปลายแยกเป็น 2 แฉก ผล เป็นผลสด ผลแก่สีม่วงดา รูปรี ยาว 1-2 ซม.  แหล่งที่พบ : พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบตามป่าดิบเขาทางภาคเหนือที่ดอยอินทนนท์ ที่ระดับความสูง 2,400-2,565 เมตร  ประโยชน์ : ดอกมีกลิ่นหอมเย็น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ  ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
  • 16. พระขรรค์ไชยศรี  ชื่อพื้นเมือง : พระขรรค์ไชยศรี  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Myxopyrum smilacifolium (Wall) Blume subsp. Smilacifolium  ชื่อเรียกอื่น : ฝนแสนห่า, เหล็กเหลี่ยม  ชื่อวงศ์ : OLEACEAE  ลักษณะ :ไม้เถาเลื้อย กิ่งก้านเรียบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรี ดอกออกเป็นช่อที่ง่าม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกย่อยมีก้านสั้นมาก วง กลีบเลี้ยงเป็นพูรูปรี วงกลีบดอกรูประฆัง เชื่อมกันเป็นหลอด พูกลีบรูปช้อนช่อแยกแขนงออกดอกที่ซอกใบ ดอกย่อยจานวนมาก กลีบดอกสี เหลือง ผลสดแบบมีเนื้อนุ่ม เรียบเกลี้ยง รูปทรงกลม เมื่อสุกสีส้ม มี 2 เมล็ด  แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ประโยชน์ : ลาต้นและใบ แช่น้า ทาแก้อาการชาตามแขนขาทั้งห้า ผสมเปลือกต้นตูมกาขาวและผักบุ้งร้วมทั้งต้น ต้มน้าดื่ม แก้มะเร็งตับ แต่ต้อง ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม เนื่องจากเป็นยาอันตราย หากใช้มากเกินไป จะทาให้เหงื่อออกมากจนอาจถึงตายได้ เถา รสเมาเบื่อ ขับเหงื่อ ดับร้อน ขับพิษไข้ ขับพิษร้อนภายใน เป็นยาอันตราย ใช้มากทาให้เหงื่อออกมาก หนาวสั่น ตัวซีด เหี่ยวตาย  ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
  • 17. มะลิก้านแดง ชื่อพื้นเมือง : มะลิก้านแดง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum grandiflorum Linn. ชื่อเรียกอื่น : จะขาน จัสมิน พุทธชาด สถาน มะลิก้านยาว มะลิเขียว ชื่อวงศ์ : OLEACEAE ลักษณะ : ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งก้านสีเขียว ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบออกตรงข้ามเป็นคู่ ก้านใบแผ่ออกเป็นครีบแคบๆ ใบ ย่อยมี 5-9 ใบ รูปรีแกมสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบย่อยปลายก้าน มีขนาดใหญ่ที่สุด ขนาดกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 2.5-3.5 ซม. ดอกสีขาวแกมม่วง ด้านหลังกลีบมีสีชมพูอมม่วง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง หรือกิ่งด้านข้าง ช่อดอกไม่แน่น กลีบรองดอกสีเขียว 5 กลีบ รูปขอบขนานแคบปลายแหลม กลีบดอกตอนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-2.5 ซม. ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบ แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดในประเทศอินเดีย ในประเทศไทยปลูกเป็นไม้ประดับ ปลูกได้ทั่วไป ประโยชน์ : เป็นไม้ดอกหอม สามารถนาไปสกัดทาน้าหอมได้ ผู้รับผิดชอบ : น.ส. สลิลธาร เอ่งฉ้วน
  • 18. บรรณานุกรม 1. www.wikiwand.com 2. www.medthai.com 3. www.qsbg.org 4. https://www.samunpri.com 5. http://www.thaitreeflowers.com 6. http://thaiherbal.org/240/240 7. http://www.komchadluek.net/news/agricultural/219995
  • 19. กิตติกรรมประกาศ งานนาเสนอนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยการได้รับความอนุเคราะห์ การสนับสนุนและการแนะนาจากหลายๆส่วนจาก คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ซึ่งเป็นการนาสู่ความสาเร็จของงานนาเสนอชิ้นนี้ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณอย่างสูงยิ่ง ขอขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และผู้ปกครองที่ช่วยสนับสนุนงานนาเสนอนี้ของทางคณะผู้จัดทา ขอขอบคุณเพื่อนๆนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 ที่ช่วยเสนอแนะและเป็นที่ปรึกษานาการจัดทางานนาเสนอชิ้นนี้ ขึ้นมา