SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3
เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
- ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สามารถ
ถ่ายทอดตามสายเลือดได้ เช่น ลักษณะตาชั้นเดียว-สองชั้น,
แนวผมที่หน้าผากตรง-แหลม, หูมีติ่ง-ไม่มีติ่ง, สันจมูกโด่ง-ไม่
โด่ง, มีลักยิ้ม-ไม่มีลักยิ้ม, ลิ้นพับได้-พับไม่ได้, นิ้วมือเรียวยาว-
นิ้วสั้น, นิ้วชี้เท้ายาวกว่านิ้วหัวแม่เท้า-สั้นกว่านิ้วหัวแม่เท้า
- โครโมโซมและสารพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส เรียกว่า ดีเอ็น
เอ เป็นสายยาวพันรอบแกนโปรตีนฮิสโตน เส้นใยบางๆ นี้
เรียกว่า โครมาทิน เมื่อมีการแบ่งเซลล์จะหดสั้นเป็นแท่ง
เรียกว่า โครโมโซม และมีการจาลองขึ้นมาเท่าตัว
- คนมีจานวน 46 แท่ง โดยจะมีคู่เหมือน เรียก ฮอมอโลกัส
โครโมโซม จานวนนเซลล์ร่างกายมี 2 ชุด เขียนแทนด้วย 2n
ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มีคู่เหมือนมีเพียง 1 ชุด เขียนแทน
ด้วย n
J.G. Mendel
“ บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ ”
การแบ่งเซลล์ (Cell Division) จาแนกได้ 2 ลักษณะ คือ ไมโทซิส และ ไมโอซิส
1. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส สิ่งมีชีวิตมีการแบ่งเซลล์เพื่อการเจริญเติบโต และเพิ่มพื้นที่ผิวในการ
แลกเปลี่ยนสารกับสิ่งแวดล้อม การแบ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1.1 ระยะอินเทอร์เฟส
1.2 ระยะโพรเฟส
1.3 ระยะเมทาเฟส
1.4 ระยะแอนาเฟส
1.5 ระยะเทโลเฟส
• เซลล์สัตว์ เกิดจากเยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากันจนกระทั่งเซลล์ขาดออกจากกันได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
• เซลล์พืช เกิดการสร้างแผ่นกั้นตรงกลาง และสะสมสารเซลลูโลสทาให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์
2. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เป็นกระบวนการ
แบ่งเซลล์สืบพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ระยะใหญ่ คือ ไมโอ
ซิส I และไมโอซิส II
ไมโอซิส I
ระยะอินเตอร์เฟส I
ระยะโพรเฟส I
ระยะเมทาเฟส I
ระยะแอนาเฟส I
ระยะเทโลเฟส I
ระยะอินเตอร์เฟส II ไม่มีการจาลองตัวเอง
เนื่องจากแต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิดแล้ว ส่วน
ระยะโพรเฟส II แอนาเฟส II เทโลเฟส II จะคล้าย
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส + แบ่งไซโทพลาซึมใน
ระยะนี้อีกครั้ง ในที่สุดจะได้ 4 เซลล์
โครงสร้างพื้นฐานทางดีเอ็นเอ ขดตัวพันรอบโปรตีนฮิสโตน = โครมาทิน  โครโมโซม ( 1 หรือ 2 โครมาติด)
มีหน่วยย่อย คือ นิวคลีโอไทด์ ต่อกันเป็นสายยาว ซึ่งประกอบด้วย
1. น้าตาลเพนโทส (S) เป็นน้าตาลที่คาร์บอน 5 อะตอม มีโครงสร้างเป็นรูปห้าเหลี่ยม
2. หมู่ฟอสเฟต (P) PO4
3-
3. ไนโตรจีนัสเบส มี 4 ชนิด ได้แก่ อะดีนิน (A) ไทมีน (T) ไซโทซีน (C) กวานีน (G)
สายดีเอ็นเอของคน = สายของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันเกลียวเวียนขวา โดย A = T และ C ≡ G ลาดับของเบสบนสาย
ดีเอ็นเอ เป็นข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
หน้าที่ของสารพันธุกรรม
1. ดีเอ็นเอต้นแบบในรุ่นหนึ่งสามารถถ่ายทอดข้อมูลผ่านไปรุ่นต่างๆได้
2. ลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเป็นข้อมูลของยีนที่มีบทบาทในการสังเคราะห์โปรตีน
3. ถ้าลาดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอเปลี่ยนแปลง จะทาให้ลักษณะพันธุกรรมแตกต่างไป ซึ่งอาจเกิด
จากการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของโครโมโซมในการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์หรือเกิดมิวเทชัน ทาให้เกิดวิวัฒนาการ
@ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตจะพบเป็นคู่โฮโมโลกัส ซึ่งประกอบด้วยยีนที่เป็นคู่กันเรียกว่า แอลลีล เช่น ยีน A เป็น
แอลลีลกับ a โดยยีน A เป็นยีนเด่น a เป็นยีนด้อย ซึ่งจะพบอยู่ในตาแหน่งที่ตรงกัน
ถ้าให้ N เป็นยีนที่ควบคุมลักษณะคางบุ๋ม n
เป็นยีนที่ควบคุมคางไม่บุ๋ม N เป็นแอลลีล
กับ n จะมีลักษณะโครโมโซมได้ 3 แบบ
ถั่วลันเตามีลักษณะที่ดี ดังนี้
มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทางพันธุกรรม
มีการปฏิสนธิตนเอง
ปลูกง่าย อายุการให้ผลผลิตสั้น ทาให้ศึกษาติดตามผลการทดลองได้ง่าย
ลักษณะทั้ง 7 มีการถ่ายทอดตามหลักของเมนเดล คือไม่มี linkage , multiple alleles , polygene , co dominance ฯลฯ
การถ่ายทอดลักษณะที่มีหลายแอลลีล ลักษณะโดยทั่วไปมียีน 2 แอลลีล คือ แอลลีลเด่น และแอลลีลด้อย แต่ลักษณะที่มีแอลลีลมากก
ว่า 2 แอลลีล เช่น ลักษณะหมู่เลือด A B O ของคนมี 3 แอลลีล คือ IA, IB, i แอลลีล A สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดง แบบ A แอลลีล B
สร้างแอนติเจนที่ผิวเม็ดเลือดแดงแบบ B ส่วนแอลลีล i เป็นแอลลีลที่ไม่สร้างแอนติเจนที่ผิว เม็ดเลือดแดง จึงพบจีโนไทป์และฟีโนไทป์ได้ดัง
ตาราง
การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สามารถเขียนเป็นแผนผังการถ่ายทอดลักษณะเรียกว่า
เพดดีกรี โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆสื่อความหมายแทน
แผนผังการถ่ายทอดลักษณะนี้เป็นยีนเด่น
การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมร่างกาย
โครโมโซมในเซลล์ของคนมี 2 ชนิด คือ โครโมโซมร่างกายมี 22 คู่ โครโมโซมเพศ 1 คู่ ยีนที่พบมี 2 แบบ ยีนเด่น (ลักยิ้ม นิ้วเกิน โรคเท้าแสนปม และ
คนแคระ) และยีนด้อย (ทาลัสซีเมีย : โลหิตจางมาแต่กาเนิด ดีซ่านไม่เติบโตสมอายุ ตับม้ามโต ดั้งจมูกยุบ กะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง คางและ
กระดูกกรรไกรกว้าง ฟันบนยื่น กระดูกเปราะ ผิวคล้า ติดเชื้อง่าย ,ลักษณะผิวเผือก : ไม่สามารถผลิตเมลานิน ทาให้ผิวหนัง ขน ผม และตาไม่มีสี)
@ ลักษณะที่พบในยีนด้อยนี้จะมีโอกาสเกิด 1 ใน 4 กรณีมีพ่อและแม่มียีนด้อยแฝงอยู่ (พาหะ)
การถ่ายทอดลักษณะที่พบบนโครโมโซมเพศ มี 1 คู่ 2 แบบ XX เป็นหญิง XY เป็นชาย ยีนที่พบอยู่บนโครโมโซม X มักพบเป็นยีนด้อย เช่น
ยีนตาบอดสี ยีนโรคภาวะบกพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6-ฟอสเฟต ยีนโรคเลือดไหลไม่หยุด ลักษณะดังกล่าวจะพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
เนื่องจากเพศชายมีโครโมโซม X เพียง 1 แท่ง แต่เพศหญิงมี X 2 แท่ง โอกาสเกิดในเพศชายจึงสูงกว่า เช่นยีนตาบอดสีแทนด้วยยีนด้อย c ยีน
ตาปกติ C
ความแปรผันทางพันธุกรรม
• ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation)
• เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพล
ของกรรมพันธุ์เพียงอย่างเดียว
• เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มีลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้
2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation)
• เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด
• เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ และสิ่งแวดล้อม
ร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลัง
กายก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้
ความผิดปกติของโครโมโซมในคน
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ความผิดปกติของออโตโซม ได้แก่
- กลุ่มอาการดาวน์
- กลุ่มอาการคริดูชาต์
- กลุ่มอาการเพเทา
- กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
2. ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ ได้แก่
- กลุ่มอาการเทอร์เนอร์
- กลุ่มอาการที่มีโครโมโซม X 3 เส้น
- กลุ่มอาการไคลน์เฟลเทอร์
- กลุ่มอาการดับเบิลวาย
กลุ่มอาการดาวน์ หรือ ดาวน์ซินโดรม
* Down syndrome เป็นโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ
โครโมโซมที่ออโตโซมบางคู่ไม่แยกจากกัน
*เด็กกลุ่มอาการดาวน์จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน และตาเฉียงขึ้น
ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ตัวค่อนข้างเตี้ย มือสั้น มักมีโรคหัวใจพิการแต่
กาเนิด
* ปัญหาหลักคือ ภาวะปัญญาอ่อน
• โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 เส้น ทาให้มีจานวนโครโมโซม 47 เส้น
• สาเหตุ คือ แม่มีบุตรอายุ ประมาณ 30 – 45 ปี จะมีความเสี่ยง
กลุ่มอาการพาทัวซินโดม ( PATAU SYNDROME)
• อาการนี้เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 โครโมโซม ทาให้เด็กมีอาการ
ปัญญาอ่อน อวัยวะภายในพิการ และมักเสียชีวิตตั้งแต่แรกเกิด หรือหากมี
ชีวิตรอดก็จะมีอายุสั้นมาก
กลุ่มอาการคริดูชาต์ หรือ แคทครายซินโดรม
(CRI-DU-CHAT OR CAT CRY SYNDROME)
• เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน ทาให้ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ เกิดภาวะปัญญาอ่อน หน้ากลม
ใบหูต่า ตาห่าง หางตาชี้ นิ้วมือสั้น เจริญเติบโตได้ช้า
• เวลาร้องจะมีเสียงเหมือนแมว จึงเป็นที่มาของชื่อโรคนี้ว่า แคทครายซินโดรม (cat cry syndrome)
กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
• โอกาสเกิดประมาณ 1 ใน 3000 และมักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 3 เท่า เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 18 เกิน
มา ซึ่งโครโมโซมที่เกินมานี้จะรบกวนการพัฒนาการตามปกติ
อาการ โรคหัวใจแต่กาเนิด มีความผิดปกติเกี่ยวกับม่าน มีปัญหาเกี่ยวกับไต น้าหนักน้อย หูต่า ปัญญา
อ่อน ศีรษะมีขนาดเล็ก ขากรรไกรสั้น สะดือจุ่น ข้อต่อบิดงอ
กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ ( TURNER'S SYNDROME)
• เกิดในเฉพาะเพศหญิง
• โครโมโซม X หายไป 1 แท่ง
• ทาให้เหลือโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง
• ผู้ป่วยไม่มีความผิดปกติทางสมอง และตัวเตี้ย
ที่บริเวณคอมีพังผืดกางเป็นปีก
• มักเป็นหมันและไม่มีประจาเดือน
• มีอายุเท่ากับคนปกติทั่ว ๆ ไป
กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (KLINEFELTER'S SYNDROME)
• พบในเพศชาย เกิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม
• ผู้ป่วยจะมีอาการปัญญาอ่อน รูปร่างอ้อนแอ้น สูงชะลูด หน้าอกโต มีเต้านมเหมือนผู้หญิง และเป็นหมัน
เพราะไม่มีอสุจิ และมีอัณฑะเล็ก ถ้ามีจานวนโครโมโซม X มาก อาการปัญญาอ่อนก็จะรุนแรงมากขึ้น
กลุ่มอาการดับเบิลวาย (DOUBLE Y SYNDROME)
• เกิดในผู้ชาย
• ที่มีโครโมโซม y เกินมา 1 แท่ง
• มีจีโนไทป์ เป็น x y y เรียกว่า Super Male
• ลักษณะจะเป็นผู้ชายที่มีร่างกายปกติ มีอารมณ์ฉุนเฉียว สูงมากกว่า 6
ฟุต มีระดับฮอร์โมนเพศชายในเลือดสูงกว่าปกติ
• เป็นหมัน ไม่สามารถมีบุตรได้
• โรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของจานวนของโครโมโซมเพศ (sex chromosome)
โรคนี้จะเกิดในผู้หญิง ซึ่งผู้หญิงโดยปกติจะมีโครโมโซม(chromosome) X จานวน 2 แท่ง คือ XX
• ทาให้ผู้หญิงคนนั้นเป็นหมัน เจริญเติบโตไม่เต็มที่ และไม่มีประจาเดือน
กลุ่มอาการทริปเปิลเอ็กซ์ (TRIPLE X SYNDROME)
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น การผ่าเหล่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การ
ปรับปรุงพันธุ์โดยคน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทาให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
การผ่าเหล่า คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้มี 2 แบบ
1. การกลายพันธุ์ของโครโมโซม เช่น พืชที่มีจานวนโครโมโซม 3n,4n จะมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ (2n)
2. การกลายพันธุ์ของยีน เช่น โรคทางพันธุกรรม ลักษณะผิวเผือก ลักษณะลวดลายบนใบหรือดอกของพืช
สาเหตุของการเกิดการกลายพันธุ์
1. เกิดเองตามธรรมชาติ ซึ่งอาจเกิดจากความผิดปกติขณะแบ่งเซลล์
2. รังสีสามารถทาให้เกิดการกลายพันธุ์ได้ เช่น รังสีแกมมา ซึ่งใช้ในพืช เช่น พุทธรักษา เบญจมาศ ปทุมมา
3. สารเคมี เช่น อะฟลาทอกซินที่ได้จากราในอาหาร ไนโตรซามีนที่ได้จากดินประสิวในการถนอมอาหาร
การคัดเลือกโดยธรรมชาติ เป็นแนวความคิดของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้เสนอทฤษฎีวิวัฒนาการ ซึ่งกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่
มีความเหมาะสมที่สุดจะคงอยู่ เนื่องจากมีการแข่งขันกันเพื่อแย่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เขาพบว่า นกจาบ
บนเกาะกาลาปากอสมีลักษณะจะงอยปากแตกต่างกัน เนื่องจากอาหารของนกเหล่านั้นแตกต่างกัน (ปรับ
พันธุกรรม) ผล คือ ทาให้สิ่งมีชีวิตที่อยู่รอดได้มีความแข็งแรงและมีความหลากหลายทางพันธุกรรม
การคัดเลือกพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์โดยคน การคัดเลือกโดยคนจะเกิดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะดีเด่นตามความต้องการของคน
เช่น การคัดเลือกพันธุ์ปลาทับทิม (การเจริญเติบโตเร็วมีส่วนที่เป็นเนื้อมาก โครงกระดูกเล็ก ก้างน้อย เส้นใยกล้ามเนื้อละเอียด
รสชาติดี ไม่มีกลิ่นที่เกิดจากไขมันปลา ต้านทานต่อโรค : พัฒนามาจากพันธุ์ปลานิลทั่วโลกผสมข้ามพันธุ์) การปรับปรุงพันธุ์ข้าว
(พันธุ์ข้าวพันธุ์ดีที่นามาใช้ คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้ทุกภาค ใช้เวลา 160 วัน ทนแล้งและดินเปรี้ยวดินเค็ม มาอาบ
รังสีแกมมา เกิดมิวเทชันได้พันธุ์ข้าว กข 6 กข 10 และกข 15 ที่มีลักษณะดีขึ้นคือ กข 6 เป็นพันธุ์ข้าวเหนียวที่มีกลิ่นหอม ให้
ผลผลิตสูง ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และโรคใบจุดสีน้าตาลได้ดี กข 15 เป็นพันธุ์ข้าวเจ้าที่ให้ผลผลิต เท่ากับข้าวดอกมะลิ 105 แต่
กข 15 มีอายุสั้นกว่า 10 วัน เก็บเกี่ยวได้เร็วกว่า ต้านทานโรคได้ดีกว่าข้าวดอกมะลิ 105)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นการนาความรู้ด้านชีววิทยา ในสาขาพันธุศาสตร์มาประยุกต์ เช่น
พันธุวิศวกรรม เป็นเทคนิคการสร้างสิ่งมีชีวิตมีลักษณะตามที่ต้องการ โดยการสร้าง DNA สายผสมโดยการถ่ายยีนที่ต้องการลงไป
แบคทีเรีย เพื่อให้เป็นตัวพายีนเหล่านั้นเข้าไปในสิ่งมีชีวิตที่ต้องการสร้างพันธุกรรมใหม่ เรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมหรือ
จีเอ็มโอ ในปัจจุบัน เช่น ฝ้ายบีทีและข้าวโพดบีทีที่ต้านทานแมลง (แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis สร้างโปรตีนเป็นพิษต่อ
แมลง) พริก มะละกอ ต้านทานไวรัส ยีนสังเคราะห์โปรตีนห่อหุ้มอนุภาคไวรัสทาให้ไวรัสไม่สามารถทาอันตราย) การผลิตอินซูลินโดย
แบคทีเรีย ทาโดยตัดยีนอินซูลินจากคนปกติถ่ายลงไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย (เป็น DNA ที่เป็นวงกลมขนาดเล็ก) เมื่อแบ่งเซลล์
จะทาให้ได้ยีนอินซูลินเป็นจานวนมาก และสังเคราะห์อินซูลินได้
การโคลน หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ให้มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนเดิม สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น สัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนม = แกะ วัว ในประเทศไทยมีการโคลนวัวเนื้อตัวแรกของโลกชื่อ นิโคลและการโคลนวัวนมตัวแรกของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ชื่อ อิง ซึ่งเกิดจากการโคลนเซลล์ใบหูของตัวต้นแบบ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการโคลนในพืช โดยการนาเอาส่วนของพืชมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ที่พืชต้องการในสภาพปลอด
เชื้อ ควบคุมแสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น และกระตุ้นการเจริญของพืชด้วยฮอร์โมนพืช ประโยชน์
1. ได้พืชจานวนมากที่มีลักษณะเหมือนเดิม
2. ใช้เวลาสั้นในการผลิตต้นพันธุ์ดี
3. ต้นพันธุ์ที่ได้ปราศจากโรค
4. ใช้ผลิตต้นพันธุ์ที่ผสมกันเองในธรรมชาติยาก เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ของคนเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล เพราะคนทุกคนจะมีแตกต่างกันยกเว้นแฝดแท้ที่จะเหมือนกัน ลาย
พิมพ์ดีเอ็นเอของลูกจะได้จากดีเอ็นเอของพ่อและแม่อย่างละครึ่ง
ประโยชน์
1. พิสูจน์เพื่อบุคคลในกรณีฆาตกรรม กรณีบุคคลสูญหาย
2. พิสูจน์ความสัมพันธ์ของพ่อแม่และลูก
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
1.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
2.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
3.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
4.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
5.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
6.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
7.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
8.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
9.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
10.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
11.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
12.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
13.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
14.
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA
15.
THE END

More Related Content

What's hot

เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนCoverslide Bio
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
 

Viewers also liked

บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยนWichai Likitponrak
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 

Similar to ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna

พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อินsupphawan
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdfYhu Lawan
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)Kel2ol3yte ™
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54SkyPrimo
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 

Similar to ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna (20)

พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Health
HealthHealth
Health
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
At1
At1At1
At1
 
ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54ผลิตสัตว์ 22/06/54
ผลิตสัตว์ 22/06/54
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna