SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
ครูผู้สอน : นางสาวพัฒนี พันธผล
รับ-ส่งงาน 523
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน
แมลง หอยฝาเดียว
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด
• เลือดไม่ได้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา
• เลือดออกจากหลอดเลือดเข้าสู่ฮีโมซีล ซึ่งอยู่รวมกับของเหลวอื่นๆ
(น้าเหลือง) เรียกว่า ฮีโมลิมฟ์ (hemolymph)
• พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โทรโพดาและมอลลัสกา
(ยกเว้นหมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง)
หลอดเลือดดา หลอดเลือดแดง
ช่องว่างภายในลาตัว
หัวใจ
หัวใจ
หลอดเลือด
Hemocoel/sinus
ทิศทางการไหลของเลือด
หัวใจ
หลอดเลือดเอออร์ตา
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
 เลือดไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา
 มีหัวใจสูบฉีดเลือดไปยังหลอดเลือดต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
 พบในไส้เดือนดิน หมึก หมึกยักษ์ หอยงวงช้างและ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง (มีจ้านวนห้องหัวใจแตกต่างกัน)
ไส้เดือนดิน
หลอดเลือดแดง
หัวใจ
หลอดเลือดดา
เนื้อเยื่อ
หลอดเลือดด้านบนลาตัว
หลอดเลือดด้านล่างลาตัว
หัวใจเทียม
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
เหงือก
หัวใจห้องล่าง
หัวใจห้องบน
ส่วนต่างๆ
ของร่างกาย
หัวใจห้องบนขวา หัวใจห้องบนซ้าย
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
หัวใจห้องล่าง
ปอดหรือผิวหนัง
ปลา : หัวใจ 2 ห้อง สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก : หัวใจ 3 ห้อง
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด
ปอด
หัวใจห้องบนขวา
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
หัวใจห้องบนซ้าย หัวใจห้องบนขวา
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
หัวใจห้องล่างขวา
ปอด
หัวใจห้องล่างขวา
แผ่นกั้นไม่
สมบูรณ์
หัวใจห้องบนซ้าย
หัวใจห้องล่างซ้าย หัวใจห้องล่างซ้าย
สัตว์เลื้อยคลาน (ยกเว้นจระเข้) : หัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์
จระเข้ สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยน้้านม : หัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
หัวใจ
หัวใจห้องบนซ้าย (lift atrium)
รับเลือดที่มี O2 สูงจากปอดกลับเข้าสู่หัวใจ
ทางหลอดเลือดพัลโมนารีเวน
ลิ้นเอออร์ติกเซมิลูนาร์(aortic semilunar valve)
กั้นหัวใจห้องล่างซ้ายกับหลอดเลือดเอออร์ตา
ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve)
กั้นหัวใจห้องบนซ้ายและห้องล่างซ้าย
มีลักษณะเป็นแผ่นบาง 2 ชิ้น ประกบกัน
หัวใจห้องล่างซ้าย (lift ventricle)
รับเลือดที่มีแก๊ส O2 สูงจากหัวใจห้องบนซ้าย
ส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทางหลอดเลือด
เอออร์ตา
หัวใจห้องบนขวา (right atrium)
รับเลือดที่มี O2 ต่่าจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ
ทางหลอดเลือดซูพีเรียเวนาคาวาและอินฟีเรียเวนาคาวา
ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve)
กั้นหัวใจห้องล่างขวากับหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี
ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve)
กั้นหัวใจห้องบนขวากับห้องล่างขวา
มีลักษณะเป็นแผ่นบาง 3 ชิ้น ประกบกัน
หัวใจห้องล่างขวา (right ventricle)
รับเลือดที่มี O2 ต่่าจากหัวใจห้องบนขวาส่งไปแลกเปลี่ยน
แก๊สที่ปอดทางหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
การหมุนเวียนเลือดผ่านหัวใจ
1
1
2
3
4 4
5
6
6
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (ศีรษะและแขน)
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (ล่าตัวและขา)
ปอดขวา ปอดซ้าย
เลือดที่มี O2 เข้าสู่หัวใจห้องบนขวา
ทางหลอดเลือดซูพีเรียเวนาคาวา
และอินฟีเรียเวนาคาวา
1
หัวใจห้องบนขวาบีบตัว เลือดไหลผ่าน
ลิ้นไตรคัสปิดลงสู่หัวใจห้องล่างขวา
2
หัวใจห้องล่างขวาบีบตัว เลือดไหล
ผ่านลิ้นพัลโมนารี-เซมิลูนาร์เข้าสู่
หลอดเลือดพัลโมนารอาร์เตอรีเพื่อ
ไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด
3
หลังการแลกเปลี่ยนแก๊ส เลือดที่มี O2 สูง
จากปอดกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย
ทางหลอดเลือดพัลโมนารีเวน
4
หัวใจห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดไหลผ่าน
ลิ้นไบคัสปิดลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย
5
หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดไหลผ่าน
ลิ้นเอออร์ติก-เซมิลูนาร์เข้าสู่หลอดเลือด
เอออร์ตาส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
6
การไหลเวียนของเลือดที่มีปริมาณ O2 ต่้า CO2 สูง
การไหลเวียนของเลือดที่มีปริมาณ O2 สูง CO2 ต่้า
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
หลอดเลือด
 มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่้า
 มีแรงดันในหลอดเลือด
ค่อนข้างต่้า
 มีลิ้นภายในหลอดเลือด
ป้องกันการไหลย้อนกลับ
 ท้าหน้าที่ล้าเลียงเลือดที่มี
ปริมาณ O2 ต่้าจากส่วนต่าง
ๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ
(ยกเว้นพัลโมนารีเวนล้าเลียง
เลือดที่มีปริมาณ O2สูง)
หลอดเลือดด้า (vein)
หลอดเลือดแดง (artery)
มีความยืดหยุ่นสูง
มีผนังหนา
มีช่องว่างภายในหลอดเลือดน้อย
ท้าให้มีแรงดันสูงและคงที่
ท้าหน้าที่ล้าเลียงเลือดที่มี
ปริมาณ O2 สูงจากหัวใจไปยัง
หลอดเลือดแดงต่าง ๆ
(ยกเว้นพัลโมนารีอาร์เตอรี
ล้าเลียงเลือดที่มีปริมาณ O2 ต่้า)
หลอดเลือดฝอย (capillary)
มีผนังบางมาก
ความดันภายในหลอดเลือดสูงกว่าหลอดเลือดด้า แต่ต่้ากว่าหลอดเลือดแดง
เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงฝอยกับหลอดเลือดด้าฝอย
ท้าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสียต่าง ๆ
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
(red blood cell)
เซลล์เม็ดเลือดขาว
(white blood cell)
เกล็ดเลือด
(platelet)
น้้าเลือด (plasma)
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
เลือด
• ประกอบด้วยน้่า โปรตีน (อัลบูมิน โกลบู
มิน ไฟบริโนเจน โพรทรอมบิน) และสาร
อื่น ๆ
• ท่าหน้าที่เป็นตัวท่าละลาย ล่าเลียง
สารอาหาร แร่ธาตุ ฮอร์โมน เอนไซม์
และของเสียไปยังอวัยวะเป้าหมาย ท่าให้
เกิดความดันเลือด ช่วยรักษาสมดุลกรด-
เบสและอุณหภูมิภายในร่างกาย
• มีรูปร่างกลมแบบ ตรงกลางเว้า
ไม่มีนิวเคลียส
• ภายในเซลล์มีเฮโมโกลบิน
• มีอายุ 100-120 วัน ถูกสร้างจาก
ไขกระดูกแดง ถูกท่าลายที่ตับ
และม้าม
• ท่าหน้าที่ล่าเลียงแก๊สออกซิเจนไป
ยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
• ลักษณะเป็นแผ่นเล็ก มีรูปร่างไม่
แน่นอน
• มีอายุ 7-10 วัน ถูกสร้างจากไข
กระดูก ถูกท่าลายที่ม้าม
• ช่วยท่าให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิด
บาดแผล
• มีรูปร่างกลม
• มีนิวเคลียสกลมขนาดใหญ่ หรือเป็นพู
• มีอายุ 2-3 วัน
• ท่าหน้าที่ป้องกันและท่าลายเชื้อโรค
หรือ สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
• แบ่งออกเป็นกลุ่มแกรนูโลไซต์ (นิวโทร
ฟิล อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล) และอะ
แกรนูโลไซต์ (ลิมโฟไซต์ โมโนไซต์)
นิวโทรฟิล อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล
ลิมโฟไซต์ โมโนไซต์
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
การท้างานของเกล็ดเลือดเมื่อเกิดบาดแผล
1
2
3
ทรอมโบพลาสติน
โพรทรอมบิน ทรอมบิน
ไฟบริโนเจน ไฟบริน
วิตามิน K + Ca2+
เกล็ดเลือด
เมื่อเกิดบาดแผล เกล็ดเลือดจะ
เคลื่อนที่มายังบริเวณหลอดเลือดที่
ฉีกขาด ซึ่งปล่อยสารบางชนิดท่าให้
เกล็ดเลือดมารวมตัวกันและอุด
บริเวณบาดแผล
ทรอมบินกระตุ้นให้ไฟบริโนเจน
ให้เปลี่ยนเป็นไฟบริน ซึ่งจะ
สานตัวเป็นตาข่ายและอุด
บริเวณบาดแผลป้องกันการ
ไหลของเลือด
เกล็ดเลือดปล่อยเอนไซม์
ทรอมโบพลาสทิน
มากระตุ้น โพรทรอมบิน
ให้เปลี่ยนเป็นทรอมบิน
โดยท่างานร่วมกับ
แคลเซียมไอออนและ
วิตามินเคในเลือด
หมู่เลือดและการให้เลือด
หมู่เลือดระบบ ABO : แบ่งตามชนิดแอนติเจนบนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง แบ่งเป็นหมู่เลือด 4 หมู่ ได้แก่ A B O
และ AB
ข้อค้านึง
ผู้ให้เลือดห้ามมีแอนติเจน
ชนิดเดียวกับแอนติบอดีของ
ผู้รับเลือด เพราะจะท่าให้
เลือดตกตะกอน และอาจ
เสียชีวิตได้
แอนติเจนบนผิว
เซลล์เม็ดเลือดแดง
แอนติบอดีในพลาสมา
หมู่เลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
แอนติบอดี B แอนติบอดี A
แอนติเจน A แอนติเจน B แอนติเจน AB
แอนติบอดี A
และ
แอนติบอดี B
B
A O
AB
หมู่เลือดและการให้เลือด
หมู่เลือดระบบ Rh : แบ่งตามแอนติเจน Rh แฟกเตอร์ ดังนี
- หมู่ Rh+ เป็นกลุ่มที่มีแอนติเจน Rh บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง
- หมู่ Rh- เป็นกลุ่มที่ไม่มีแอนติเจน Rh บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง
ข้อค้านึง
Rh แฟกเตอร์สามารถถ่ายทอด
ทางพันธุกรรมได้ และต้อง
คานึงถึงเป็นอย่างยิ่งสาหรับ
กรณีการตั้งครรภ์
เช่น
มารดาเป็น Rh+
บิดาเป็น Rh-
และทารกเป็น Rh+
1 2 3 4
พ่อ Rh+ แม่ Rh-
ครรภ์แรก
ทารกมีหมู่เลือด
Rh+
เซลล์เม็ดเลือดแดง
ของทารกเข้าสู่
กระแสเลือดของ
แม่
ร่างกายแม่สร้าง
แอนติบอดีต่อต้าน
Rh+
หากตั้งครรภ์ที่สอง
แอนติบอดีที่ต่อต้าน
Rh+จากแม่จะเข้าสู่
ทารก
ทาให้ทารกเสียชีวิต
ระบบน้้าเหลือง
 ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอด
เลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่าง
เซลล์ หรือรอบๆ เซลล์
ท่าหน้าที่เป็นตัวกลาง
แลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่าง
เซลล์กับหลอดเลือดฝอย
 มีบทบาทในการต่อต้านเชื้อ
โรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่
เข้าสู่ร่างกาย ประกอบด้วย
ต่อมน้่าเหลือง ต่อมทอนซิล
ม้าม และต่อมไทมัส
 กระจายอยู่บริเวณต่าง ๆ
ทั่วร่างกาย ภายในมีลิ้นท่า
หน้าที่ป้องกันการไหล
ย้อนกลับของน้่าเหลือง
อวัยวะ
น้้าเหลือง
หลอด
น้้าเหลือง
น้้าเหลือง
 มีองค์ประกอบคล้ายพลาสมา
แต่มีโปรตีนโมเลกุลเล็กกว่า
ระบบน้้าเหลือง
อวัยวะน้้าเหลือง
 อวัยวะน้่าเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ
 สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
 ท่าลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่
ร่างกาย ต่อต้านอวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่าย
 ต่อมน้่าเหลือง 2 ต่อม อยู่ในช่องปาก
 ภายในมีเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
 ท่าลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ทางเดินหายใจและ
ทางเดินอาหาร
 พบตลอดทางเดินของน้่าเหลือง
 ภายในมีเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
 ท่าหน้าที่กรองน้่าเหลือง ท่าลายแบคทีเรีย
สิ่งแปลกปลอม และเซลล์เม็ดเลือดขาวที่
หมดอายุ
 อวัยวะน้่าเหลืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
 ท่าหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว
ชนิดโมโนไซต์และลิมโฟไซต์
 ท่าลายเซลล์เม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ
ต่อมทอนซิล (tonsil gland)
ม้าม (spleen)
ต่อมไทมัส (thymus gland)
ต่อมน้้าเหลือง (lymph node)
การต่อต้านทางกายวิภาค
ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ
เยื่อเมือก (mucous)
 ดักจับเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
ด้วยการเคลือบ
 มีซิเลียท่าหน้าที่พัดโบกเชื้อโรค
และสิ่งแปลกปลอมให้เคลื่อนเข้าสู่
ท่อลมและขับออกด้วยการไอ จาม
หรือเสมหะ
ผิวหนัง (skin)
 มีสารเคราตินป้องกันเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่
ร่างกาย
 มีต่อมเหงื่อและต่อมไขมันหลั่งสารที่ท่าให้ผิวหนังมี
สภาพเป็นกรด ซึ่งไม่เอื้อต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์
 มีความชุ่มชื่นต่่า ท่าให้จุลินทรีย์ขาดความชุ่มชื่นและ
ตาย
ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ
การต่อต้านทางสารเคมีในร่างกาย
น้้าตา
 สร้างจากต่อมน้่าตา
 มีเอนไซม์ไลโซไซม์ที่สามารถ
ท่าลายผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
น้้าลาย
 สร้างจากต่อมน้่าลาย
(ข้างกกหู ใต้ลิ้น
ไต้ขากรรไกร)
 มีเอนไซม์ไลโซไซม์ที่สามารถท่าลายจุลินทรีย์บาง
ชนิด
 มีฤทธิ์เป็นเบส ช่วยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์
บางชนิด
เหงื่อ
 สร้างจากต่อมเหงื่อที่อยู่ในผิวหนังชั้น
หนังก่าพร้า
 มีฤทธิ์เป็นกรด สามารถท่าลาย
แบคทีเรียและ เชื้อราบางชนิด
น้้าย่อย
 กรดไฮโดรคลอริกใน
กระเพาะอาหาร
 มีฤทธิ์เป็นกรด สามารถ
ท่าลายแบคทีเรียต่าง ๆ
และไวรัสที่ไม่มีผนังหุ้ม
การกลืนกินของเซลล์
2
1
3
4
5
6
เชื้อโรค
ฟาโกโซม
ไลโซโซม
1 เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
3 ไลโซโซมในเซลล์เม็ดเลือดขาวเคลื่อนที่มารวมกับฟาโกโซม
4 เอนไซม์ในไลโซโซมเข้าย่อยสลายเชื้อโรคในฟาโกโซม
6 เซลล์เม็ดเลือกขาวปล่อยซากของเชื้อโรคออกนอกเซลล์
5 ฟาโกโซมหลังการย่อยสลายประกอบด้วยซากของเชื้อโรค
2 เซลล์เม็ดเลือดขาวเคลื่อนที่เข้าหาและกลืนกินเชื้อโรคโดย
วิธีฟาโกไซโทซิส กลายเป็นฟาโกโซมที่มีเชื้อโรคอยู่ภายใน
ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ
ระบบภูมิคุ้มกันจากเซลล์
ระบบภูมิคุ้มกันจากกระแสเลือดและสารคัดหลั่ง
ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์บี
ระบบภูมิคุ้มกันแบบจ้าเพาะ
ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
 เปลี่ยนเป็นเซลล์พลาสมา (plasma cell)
ท้าหน้าที่สร้างแอนติบอดีท้าลายแอนติเจน
 เปลี่ยนเป็นเซลล์เมมอรี (memory cell)
ท้าหน้าที่จดจ้าชนิดของแอนติเจนที่เข้าสู่
ร่างกาย
 เซลล์ทีกดภูมิคุ้มกัน (suppressor T cell)
ท้าหน้าที่ควบคุมการท้างานของเซลล์บี
เซลล์ทีผู้ช่วย และเซลล์ทีท้าลายสิ่ง
แปลกปลอมให้อยู่ในภาวะสมดุล
 เซลล์ทีผู้ช่วย (helper T cell) ท้าหน้าที่
สร้างสารกระตุ้นเซลล์บีให้สร้างแอนติบอดี
 เซลล์ทีท้าลายสิ่งแปลกปลอม (cytotoxic T
cell) ท้าหน้าที่ท้าลายแอนติเจนที่เข้าสู่ร่างกาย
เชื้อโรค
แอนติเจน
เซลล์ทีผู้ช่วย
เซลล์ทีผู้ช่วย
แอนติบอดี
เซลล์เมมอรี
เซลล์พลาสมา
เซลล์บี
ลิมโฟไซต์
1
2
3
4
เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งผิว
เซลล์ของเชื้อโรคจะมีสาร
แอนติบอดีอยู่
เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์เข้าท่าลายเชื้อโรค ท่าให้แอนติเจน
ของเชื้อโรคปรากฏบนผิวเซลล์ฟาโกไซต์ และส่งสัญญาณกระตุ้นเซลล์
เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ทีผู้ช่วย
เซลล์ทีผู้ช่วยส่งสัญญาณต่อไปยังเซลล์บี
ให้พัฒนาเป็นเซลล์พลาสมาและสร้าง
แอนติบอดี
แอนติบอดีเข้าท่าลายเชื้อโรค และเซลล์
พลาสมาบางเซลล์พัฒนาเป็นเซลล์เมมอรี
จดจ่าชนิดของแอนติเจน หากได้รับ
แอนติเจนชนิดเดิม แอนติบอดีที่มีอยู่เข้า
ท่าลายเชื้อโรคได้ทันที
ระบบภูมิคุ้มกันแบบจ้าเพาะ
ภูมิคุ้มกันรับมา
ภูมิคุ้มกันก่อเอง
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
 ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจนหรือสิ่ง
แปลกปลอมจากภายนอก
 ได้แก่ วัคซีน (เชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท่าให้ตายหรืออ่อน
ฤทธิ์) และทอกซอยด์ (สารพิษของแบคทีเรียที่ท่าให้หมดพิษ)
 ภูมิคุ้มกันที่ให้กับร่างกายโดยตรงเพื่อต่อต้านเชื้อโรคหรือ
สิ่งแปลกปลอมอย่างทันที
 เรียกภูมิคุ้มกันว่า ซีรัม ซึ่งเป็นแอนติบอดีที่สกัดได้จาก
สัตว์
ข้อเปรียบเทียบ ภูมิคุ้มกันก่อเอง ภูมิคุ้มกันรับมา
ระยะเวลาในการออกฤทธิ์ เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ ภายหลังการได้รับแอนติเจน (7-14 วัน) เกิดขึ้นทันทีภายหลังได้รับแอนติเจน
ให้ภูมิคุ้มกันก่อนการเกิดโรค ให้ภูมิคุ้มกันหลังการเกิดโรค
มีระยะเวลาในการคุ้มกันโรคหลายปี มีระยะเวลาในการคุ้มกันช่วงสั้น ๆ อาจเพียงรายสัปดาห์
เหมาะสมกับผู้ที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสมกับผู้ที่ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ มีความ
บกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน หรือได้รับเชื้อโรคที่
รุนแรง
การให้ภูมิคุ้มกัน
ระยะเวลาในการคุ้มกันโรค
ความเหมาะสมในการใช้งาน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
โรคภูมิแพ้
โรคที่เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันมีปฏิกิริยา
ตอบสนองต่อแอนติเจนบางชนิดรุนแรงและก่อให้เกิด
อันตรายต่อร่างกาย เช่น
มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนัง
มีอาการจามอย่างรุนแรง
แอนติเจนที่ท้าให้เกิดโรคภูมิแพ้ เรียกว่า สารก่อภูมิแพ้
เช่น
ไรฝุ่น เชื้อราในอากาศ
เกสรดอกไม้
ขนสัตว์
อาหารทะเล
 โดยปกติโรคภูมิแพ้จะไม่แสดงอาการ หากไม่ได้สัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ คนที่มีอาการแพ้รุนแรง
มักนิยมใช้ยาแอนติฮิสตามีน (anti-histamine) หรือยาแก้แพ้ ช่วยบรรเทาอาการให้ลดลง
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตนเอง
โรคที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันต่อต้าน หรือท้าลายเซลล์และอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ท้าให้เกิดอาการอักเสบตามอวัยวะต่าง ๆ
ระบบประสาท :ปวดศีรษะ ชัก ซึม สับสน สูญเสียความ
ทรงจ่า ชาตามแขนขาหรือเป็นอัมพาต บางรายอาจมี
อารมณ์แปรปวนและอาการทางจิต
ระบบหัวใจและหลอดเลือด : มีการอักเสบที่เยื่อ
หุ้มหัวใจและปอด อาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบขั้น
รุนแรง หรืออาจท่าให้เกิดหัวใจล้มเหลว
ระบบทางเดินอาหาร : ปวดท้องอย่างรุนแรงและ
เฉียบพลัน ซึ่งเป็นผลมาจากตับอ่อนอักเสบหรือล่าไส้ขาด
เลือด เนื่องจากการอุดตันบริเวณหลอดเลือดแดง
ระบบข้อและกล้ามเนื้อ : ปวดข้อ อักเสบ
บริเวณข้อเล็ก อาจมีอาการกล้ามเนื้ออักเสบและ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบผิวหนังและเยื่อเมือก : ผมร่วง
มีผื่นแดงบริเวณใบหน้าที่มีลักษณะเฉพาะ
หรืออาจเกิดบริเวณล่าตัว แขน ขา
ระบบเลือด : เซลล์เม็ดเลือดแดงถูก
ท่าลาย เซลล์เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด
ต่่า มีเลือดออกบริเวณไรฟัน เป็นจ้่าเลือด
บริเวณผิวหนังเวลาถูกกระแทกไม่รุนแรง
ระบบไต : ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ
มากกว่าปกติ ปัสสาวะเป็นฟอง มีเลือดปน
มีอาการตัวบวม ความดันเลือดสูง ซึ่งอาจ
ท่าให้เกิดไตอักเสบขั้นรุนแรงและไตวายได้
* ไม่มียารักษาให้หายขาด ผู้ป่วยต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและปฏิบัติตามค้าแนะน้าของแพทย์อย่างเคร่งครัด
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HIV (human immunodeficiency virus) เข้าท้าลายเซลล์เซลล์ทีผู้ช่วย
ท้าให้ระบบภูมิคุ้มกันท้างานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ
1
2
3
4
5
6
DNA ของไวรัส
DNA
ของเซลล์เจ้าบ้าน
ไวรัสตัวใหม่และโปรตีน
ไวรัส HIV
RNA ของไวรัส
1 ร่างกายได้รับเชื้อไวรัส HIV
2 ไวรัส HIV จับกับเซลล์เจ้าบ้านและปล่อย
RNA ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมเข้าสู่เซลล์เจ้า
บ้าน
3 เอนไซม์รีเวอร์สทรานสคริปเทส (reverse transcriptase
enzyme) เปลี่ยน RNA ของไวรัสเป็น DNA โดยใช้นิ
วคลี- โอไทด์ของเซลล์เจ้าบ้าน
4
5
6
DNA ของไวรัส HIV รวมตัวกับ DNA ของเซลล์เจ้าบ้าน และมีการ
สังเคราะห์โปรตีนในส่วนที่เป็นสารพันธุกรรมของไวรัสแทรกอยู่
โปรตีนที่สังเคราะห์ขึ้นถูกตัดแยกเอาโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบของไวรัสและน่ามาสร้าง
ไวรัส HIV ตัวใหม่
ไวรัส HIV ใช้ผนังของเซลล์เจ้าบ้านสร้างผนังของไวรัสและแยกออกจากเซลล์เจ้าบ้าน แล้ว
แพร่กระจายไปยังเซลล์อื่น ๆ ท่าให้มีการเพิ่มจ่านวนอย่างรวดเร็ว
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (การเปลี่ยนแปลงปริมาณเซลล์ต่าง ๆ)
ช่วงแรก (0-2 ปี)
ช่วงหลัง (ตั้งแต่ปีที่ 3)
ร่างกายสร้างเซลล์ทีผู้ช่วยกระตุ้นเซลล์บีให้สร้าง
แอนติบอดี ท้าให้มีเซลล์ทีผู้ช่วยและแอนติบอดี
ปริมาณมาก แต่เชื้อไวรัสมีปริมาณลดลงอย่างรวดเร็ว
เชื้อไวรัส HIV เพิ่มจ้านวนกลับขึ้นมา และเข้าท้าลายเซลล์ที
ผู้ช่วย ซึ่งเป็นเซลล์เป้าหมาย ท้าให้เซลล์ทีมีปริมาณลดลดลง
อย่างรวดเร็ว
การติดต่อ
แม่สู่ลูก
เพศสัมพันธ์ เลือด

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตTongnapadon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

Similar to 3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 

Similar to 3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf (20)

Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 

3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf

  • 1. ครูผู้สอน : นางสาวพัฒนี พันธผล รับ-ส่งงาน 523 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลือง และระบบภูมิคุ้มกัน
  • 2. แมลง หอยฝาเดียว ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด • เลือดไม่ได้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา • เลือดออกจากหลอดเลือดเข้าสู่ฮีโมซีล ซึ่งอยู่รวมกับของเหลวอื่นๆ (น้าเหลือง) เรียกว่า ฮีโมลิมฟ์ (hemolymph) • พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โทรโพดาและมอลลัสกา (ยกเว้นหมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง) หลอดเลือดดา หลอดเลือดแดง ช่องว่างภายในลาตัว หัวใจ หัวใจ หลอดเลือด Hemocoel/sinus ทิศทางการไหลของเลือด หัวใจ หลอดเลือดเอออร์ตา
  • 3. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด  เลือดไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลา  มีหัวใจสูบฉีดเลือดไปยังหลอดเลือดต่าง ๆ ทั่วร่างกาย  พบในไส้เดือนดิน หมึก หมึกยักษ์ หอยงวงช้างและ สัตว์มีกระดูกสันหลัง (มีจ้านวนห้องหัวใจแตกต่างกัน) ไส้เดือนดิน หลอดเลือดแดง หัวใจ หลอดเลือดดา เนื้อเยื่อ หลอดเลือดด้านบนลาตัว หลอดเลือดด้านล่างลาตัว หัวใจเทียม
  • 4. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด เหงือก หัวใจห้องล่าง หัวใจห้องบน ส่วนต่างๆ ของร่างกาย หัวใจห้องบนขวา หัวใจห้องบนซ้าย ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจห้องล่าง ปอดหรือผิวหนัง ปลา : หัวใจ 2 ห้อง สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก : หัวใจ 3 ห้อง
  • 5. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด ปอด หัวใจห้องบนขวา ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจห้องบนซ้าย หัวใจห้องบนขวา ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจห้องล่างขวา ปอด หัวใจห้องล่างขวา แผ่นกั้นไม่ สมบูรณ์ หัวใจห้องบนซ้าย หัวใจห้องล่างซ้าย หัวใจห้องล่างซ้าย สัตว์เลื้อยคลาน (ยกเว้นจระเข้) : หัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์ จระเข้ สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยน้้านม : หัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์
  • 6. ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ หัวใจ หัวใจห้องบนซ้าย (lift atrium) รับเลือดที่มี O2 สูงจากปอดกลับเข้าสู่หัวใจ ทางหลอดเลือดพัลโมนารีเวน ลิ้นเอออร์ติกเซมิลูนาร์(aortic semilunar valve) กั้นหัวใจห้องล่างซ้ายกับหลอดเลือดเอออร์ตา ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) กั้นหัวใจห้องบนซ้ายและห้องล่างซ้าย มีลักษณะเป็นแผ่นบาง 2 ชิ้น ประกบกัน หัวใจห้องล่างซ้าย (lift ventricle) รับเลือดที่มีแก๊ส O2 สูงจากหัวใจห้องบนซ้าย ส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทางหลอดเลือด เอออร์ตา หัวใจห้องบนขวา (right atrium) รับเลือดที่มี O2 ต่่าจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ ทางหลอดเลือดซูพีเรียเวนาคาวาและอินฟีเรียเวนาคาวา ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) กั้นหัวใจห้องล่างขวากับหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) กั้นหัวใจห้องบนขวากับห้องล่างขวา มีลักษณะเป็นแผ่นบาง 3 ชิ้น ประกบกัน หัวใจห้องล่างขวา (right ventricle) รับเลือดที่มี O2 ต่่าจากหัวใจห้องบนขวาส่งไปแลกเปลี่ยน แก๊สที่ปอดทางหลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี
  • 7. ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ การหมุนเวียนเลือดผ่านหัวใจ 1 1 2 3 4 4 5 6 6 ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (ศีรษะและแขน) ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (ล่าตัวและขา) ปอดขวา ปอดซ้าย เลือดที่มี O2 เข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ทางหลอดเลือดซูพีเรียเวนาคาวา และอินฟีเรียเวนาคาวา 1 หัวใจห้องบนขวาบีบตัว เลือดไหลผ่าน ลิ้นไตรคัสปิดลงสู่หัวใจห้องล่างขวา 2 หัวใจห้องล่างขวาบีบตัว เลือดไหล ผ่านลิ้นพัลโมนารี-เซมิลูนาร์เข้าสู่ หลอดเลือดพัลโมนารอาร์เตอรีเพื่อ ไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด 3 หลังการแลกเปลี่ยนแก๊ส เลือดที่มี O2 สูง จากปอดกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ทางหลอดเลือดพัลโมนารีเวน 4 หัวใจห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดไหลผ่าน ลิ้นไบคัสปิดลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย 5 หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดไหลผ่าน ลิ้นเอออร์ติก-เซมิลูนาร์เข้าสู่หลอดเลือด เอออร์ตาส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 6 การไหลเวียนของเลือดที่มีปริมาณ O2 ต่้า CO2 สูง การไหลเวียนของเลือดที่มีปริมาณ O2 สูง CO2 ต่้า
  • 8.
  • 9. ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ หลอดเลือด  มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่้า  มีแรงดันในหลอดเลือด ค่อนข้างต่้า  มีลิ้นภายในหลอดเลือด ป้องกันการไหลย้อนกลับ  ท้าหน้าที่ล้าเลียงเลือดที่มี ปริมาณ O2 ต่้าจากส่วนต่าง ๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ (ยกเว้นพัลโมนารีเวนล้าเลียง เลือดที่มีปริมาณ O2สูง) หลอดเลือดด้า (vein) หลอดเลือดแดง (artery) มีความยืดหยุ่นสูง มีผนังหนา มีช่องว่างภายในหลอดเลือดน้อย ท้าให้มีแรงดันสูงและคงที่ ท้าหน้าที่ล้าเลียงเลือดที่มี ปริมาณ O2 สูงจากหัวใจไปยัง หลอดเลือดแดงต่าง ๆ (ยกเว้นพัลโมนารีอาร์เตอรี ล้าเลียงเลือดที่มีปริมาณ O2 ต่้า) หลอดเลือดฝอย (capillary) มีผนังบางมาก ความดันภายในหลอดเลือดสูงกว่าหลอดเลือดด้า แต่ต่้ากว่าหลอดเลือดแดง เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงฝอยกับหลอดเลือดด้าฝอย ท้าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสียต่าง ๆ
  • 10. เซลล์เม็ดเลือด เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell) เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell) เกล็ดเลือด (platelet) น้้าเลือด (plasma) ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ เลือด • ประกอบด้วยน้่า โปรตีน (อัลบูมิน โกลบู มิน ไฟบริโนเจน โพรทรอมบิน) และสาร อื่น ๆ • ท่าหน้าที่เป็นตัวท่าละลาย ล่าเลียง สารอาหาร แร่ธาตุ ฮอร์โมน เอนไซม์ และของเสียไปยังอวัยวะเป้าหมาย ท่าให้ เกิดความดันเลือด ช่วยรักษาสมดุลกรด- เบสและอุณหภูมิภายในร่างกาย • มีรูปร่างกลมแบบ ตรงกลางเว้า ไม่มีนิวเคลียส • ภายในเซลล์มีเฮโมโกลบิน • มีอายุ 100-120 วัน ถูกสร้างจาก ไขกระดูกแดง ถูกท่าลายที่ตับ และม้าม • ท่าหน้าที่ล่าเลียงแก๊สออกซิเจนไป ยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย • ลักษณะเป็นแผ่นเล็ก มีรูปร่างไม่ แน่นอน • มีอายุ 7-10 วัน ถูกสร้างจากไข กระดูก ถูกท่าลายที่ม้าม • ช่วยท่าให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิด บาดแผล • มีรูปร่างกลม • มีนิวเคลียสกลมขนาดใหญ่ หรือเป็นพู • มีอายุ 2-3 วัน • ท่าหน้าที่ป้องกันและท่าลายเชื้อโรค หรือ สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย • แบ่งออกเป็นกลุ่มแกรนูโลไซต์ (นิวโทร ฟิล อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล) และอะ แกรนูโลไซต์ (ลิมโฟไซต์ โมโนไซต์) นิวโทรฟิล อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล ลิมโฟไซต์ โมโนไซต์
  • 11. ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ การท้างานของเกล็ดเลือดเมื่อเกิดบาดแผล 1 2 3 ทรอมโบพลาสติน โพรทรอมบิน ทรอมบิน ไฟบริโนเจน ไฟบริน วิตามิน K + Ca2+ เกล็ดเลือด เมื่อเกิดบาดแผล เกล็ดเลือดจะ เคลื่อนที่มายังบริเวณหลอดเลือดที่ ฉีกขาด ซึ่งปล่อยสารบางชนิดท่าให้ เกล็ดเลือดมารวมตัวกันและอุด บริเวณบาดแผล ทรอมบินกระตุ้นให้ไฟบริโนเจน ให้เปลี่ยนเป็นไฟบริน ซึ่งจะ สานตัวเป็นตาข่ายและอุด บริเวณบาดแผลป้องกันการ ไหลของเลือด เกล็ดเลือดปล่อยเอนไซม์ ทรอมโบพลาสทิน มากระตุ้น โพรทรอมบิน ให้เปลี่ยนเป็นทรอมบิน โดยท่างานร่วมกับ แคลเซียมไอออนและ วิตามินเคในเลือด
  • 12. หมู่เลือดและการให้เลือด หมู่เลือดระบบ ABO : แบ่งตามชนิดแอนติเจนบนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง แบ่งเป็นหมู่เลือด 4 หมู่ ได้แก่ A B O และ AB ข้อค้านึง ผู้ให้เลือดห้ามมีแอนติเจน ชนิดเดียวกับแอนติบอดีของ ผู้รับเลือด เพราะจะท่าให้ เลือดตกตะกอน และอาจ เสียชีวิตได้ แอนติเจนบนผิว เซลล์เม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในพลาสมา หมู่เลือด เซลล์เม็ดเลือดแดง แอนติบอดี B แอนติบอดี A แอนติเจน A แอนติเจน B แอนติเจน AB แอนติบอดี A และ แอนติบอดี B B A O AB
  • 13. หมู่เลือดและการให้เลือด หมู่เลือดระบบ Rh : แบ่งตามแอนติเจน Rh แฟกเตอร์ ดังนี - หมู่ Rh+ เป็นกลุ่มที่มีแอนติเจน Rh บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง - หมู่ Rh- เป็นกลุ่มที่ไม่มีแอนติเจน Rh บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง ข้อค้านึง Rh แฟกเตอร์สามารถถ่ายทอด ทางพันธุกรรมได้ และต้อง คานึงถึงเป็นอย่างยิ่งสาหรับ กรณีการตั้งครรภ์ เช่น มารดาเป็น Rh+ บิดาเป็น Rh- และทารกเป็น Rh+ 1 2 3 4 พ่อ Rh+ แม่ Rh- ครรภ์แรก ทารกมีหมู่เลือด Rh+ เซลล์เม็ดเลือดแดง ของทารกเข้าสู่ กระแสเลือดของ แม่ ร่างกายแม่สร้าง แอนติบอดีต่อต้าน Rh+ หากตั้งครรภ์ที่สอง แอนติบอดีที่ต่อต้าน Rh+จากแม่จะเข้าสู่ ทารก ทาให้ทารกเสียชีวิต
  • 14. ระบบน้้าเหลือง  ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอด เลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่าง เซลล์ หรือรอบๆ เซลล์ ท่าหน้าที่เป็นตัวกลาง แลกเปลี่ยนสารต่างๆ ระหว่าง เซลล์กับหลอดเลือดฝอย  มีบทบาทในการต่อต้านเชื้อ โรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่ เข้าสู่ร่างกาย ประกอบด้วย ต่อมน้่าเหลือง ต่อมทอนซิล ม้าม และต่อมไทมัส  กระจายอยู่บริเวณต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ภายในมีลิ้นท่า หน้าที่ป้องกันการไหล ย้อนกลับของน้่าเหลือง อวัยวะ น้้าเหลือง หลอด น้้าเหลือง น้้าเหลือง  มีองค์ประกอบคล้ายพลาสมา แต่มีโปรตีนโมเลกุลเล็กกว่า
  • 15. ระบบน้้าเหลือง อวัยวะน้้าเหลือง  อวัยวะน้่าเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ  สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์  ท่าลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย ต่อต้านอวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่าย  ต่อมน้่าเหลือง 2 ต่อม อยู่ในช่องปาก  ภายในมีเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์  ท่าลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ทางเดินหายใจและ ทางเดินอาหาร  พบตลอดทางเดินของน้่าเหลือง  ภายในมีเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์  ท่าหน้าที่กรองน้่าเหลือง ท่าลายแบคทีเรีย สิ่งแปลกปลอม และเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ หมดอายุ  อวัยวะน้่าเหลืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด  ท่าหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิดโมโนไซต์และลิมโฟไซต์  ท่าลายเซลล์เม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ ต่อมทอนซิล (tonsil gland) ม้าม (spleen) ต่อมไทมัส (thymus gland) ต่อมน้้าเหลือง (lymph node)
  • 16. การต่อต้านทางกายวิภาค ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ เยื่อเมือก (mucous)  ดักจับเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม ด้วยการเคลือบ  มีซิเลียท่าหน้าที่พัดโบกเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมให้เคลื่อนเข้าสู่ ท่อลมและขับออกด้วยการไอ จาม หรือเสมหะ ผิวหนัง (skin)  มีสารเคราตินป้องกันเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ร่างกาย  มีต่อมเหงื่อและต่อมไขมันหลั่งสารที่ท่าให้ผิวหนังมี สภาพเป็นกรด ซึ่งไม่เอื้อต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์  มีความชุ่มชื่นต่่า ท่าให้จุลินทรีย์ขาดความชุ่มชื่นและ ตาย
  • 17. ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ การต่อต้านทางสารเคมีในร่างกาย น้้าตา  สร้างจากต่อมน้่าตา  มีเอนไซม์ไลโซไซม์ที่สามารถ ท่าลายผนังเซลล์ของแบคทีเรีย น้้าลาย  สร้างจากต่อมน้่าลาย (ข้างกกหู ใต้ลิ้น ไต้ขากรรไกร)  มีเอนไซม์ไลโซไซม์ที่สามารถท่าลายจุลินทรีย์บาง ชนิด  มีฤทธิ์เป็นเบส ช่วยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ บางชนิด เหงื่อ  สร้างจากต่อมเหงื่อที่อยู่ในผิวหนังชั้น หนังก่าพร้า  มีฤทธิ์เป็นกรด สามารถท่าลาย แบคทีเรียและ เชื้อราบางชนิด น้้าย่อย  กรดไฮโดรคลอริกใน กระเพาะอาหาร  มีฤทธิ์เป็นกรด สามารถ ท่าลายแบคทีเรียต่าง ๆ และไวรัสที่ไม่มีผนังหุ้ม
  • 18. การกลืนกินของเซลล์ 2 1 3 4 5 6 เชื้อโรค ฟาโกโซม ไลโซโซม 1 เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย 3 ไลโซโซมในเซลล์เม็ดเลือดขาวเคลื่อนที่มารวมกับฟาโกโซม 4 เอนไซม์ในไลโซโซมเข้าย่อยสลายเชื้อโรคในฟาโกโซม 6 เซลล์เม็ดเลือกขาวปล่อยซากของเชื้อโรคออกนอกเซลล์ 5 ฟาโกโซมหลังการย่อยสลายประกอบด้วยซากของเชื้อโรค 2 เซลล์เม็ดเลือดขาวเคลื่อนที่เข้าหาและกลืนกินเชื้อโรคโดย วิธีฟาโกไซโทซิส กลายเป็นฟาโกโซมที่มีเชื้อโรคอยู่ภายใน ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จ้าเพาะ
  • 19.
  • 20. ระบบภูมิคุ้มกันจากเซลล์ ระบบภูมิคุ้มกันจากกระแสเลือดและสารคัดหลั่ง ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์บี ระบบภูมิคุ้มกันแบบจ้าเพาะ ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที แบ่งออกเป็น 3 ชนิด  เปลี่ยนเป็นเซลล์พลาสมา (plasma cell) ท้าหน้าที่สร้างแอนติบอดีท้าลายแอนติเจน  เปลี่ยนเป็นเซลล์เมมอรี (memory cell) ท้าหน้าที่จดจ้าชนิดของแอนติเจนที่เข้าสู่ ร่างกาย  เซลล์ทีกดภูมิคุ้มกัน (suppressor T cell) ท้าหน้าที่ควบคุมการท้างานของเซลล์บี เซลล์ทีผู้ช่วย และเซลล์ทีท้าลายสิ่ง แปลกปลอมให้อยู่ในภาวะสมดุล  เซลล์ทีผู้ช่วย (helper T cell) ท้าหน้าที่ สร้างสารกระตุ้นเซลล์บีให้สร้างแอนติบอดี  เซลล์ทีท้าลายสิ่งแปลกปลอม (cytotoxic T cell) ท้าหน้าที่ท้าลายแอนติเจนที่เข้าสู่ร่างกาย
  • 21. เชื้อโรค แอนติเจน เซลล์ทีผู้ช่วย เซลล์ทีผู้ช่วย แอนติบอดี เซลล์เมมอรี เซลล์พลาสมา เซลล์บี ลิมโฟไซต์ 1 2 3 4 เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งผิว เซลล์ของเชื้อโรคจะมีสาร แอนติบอดีอยู่ เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์เข้าท่าลายเชื้อโรค ท่าให้แอนติเจน ของเชื้อโรคปรากฏบนผิวเซลล์ฟาโกไซต์ และส่งสัญญาณกระตุ้นเซลล์ เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ทีผู้ช่วย เซลล์ทีผู้ช่วยส่งสัญญาณต่อไปยังเซลล์บี ให้พัฒนาเป็นเซลล์พลาสมาและสร้าง แอนติบอดี แอนติบอดีเข้าท่าลายเชื้อโรค และเซลล์ พลาสมาบางเซลล์พัฒนาเป็นเซลล์เมมอรี จดจ่าชนิดของแอนติเจน หากได้รับ แอนติเจนชนิดเดิม แอนติบอดีที่มีอยู่เข้า ท่าลายเชื้อโรคได้ทันที ระบบภูมิคุ้มกันแบบจ้าเพาะ
  • 22. ภูมิคุ้มกันรับมา ภูมิคุ้มกันก่อเอง กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน  ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจนหรือสิ่ง แปลกปลอมจากภายนอก  ได้แก่ วัคซีน (เชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสที่ถูกท่าให้ตายหรืออ่อน ฤทธิ์) และทอกซอยด์ (สารพิษของแบคทีเรียที่ท่าให้หมดพิษ)  ภูมิคุ้มกันที่ให้กับร่างกายโดยตรงเพื่อต่อต้านเชื้อโรคหรือ สิ่งแปลกปลอมอย่างทันที  เรียกภูมิคุ้มกันว่า ซีรัม ซึ่งเป็นแอนติบอดีที่สกัดได้จาก สัตว์ ข้อเปรียบเทียบ ภูมิคุ้มกันก่อเอง ภูมิคุ้มกันรับมา ระยะเวลาในการออกฤทธิ์ เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ ภายหลังการได้รับแอนติเจน (7-14 วัน) เกิดขึ้นทันทีภายหลังได้รับแอนติเจน ให้ภูมิคุ้มกันก่อนการเกิดโรค ให้ภูมิคุ้มกันหลังการเกิดโรค มีระยะเวลาในการคุ้มกันโรคหลายปี มีระยะเวลาในการคุ้มกันช่วงสั้น ๆ อาจเพียงรายสัปดาห์ เหมาะสมกับผู้ที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสมกับผู้ที่ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ มีความ บกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน หรือได้รับเชื้อโรคที่ รุนแรง การให้ภูมิคุ้มกัน ระยะเวลาในการคุ้มกันโรค ความเหมาะสมในการใช้งาน
  • 23. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โรคภูมิแพ้ โรคที่เกิดจากการที่ระบบภูมิคุ้มกันมีปฏิกิริยา ตอบสนองต่อแอนติเจนบางชนิดรุนแรงและก่อให้เกิด อันตรายต่อร่างกาย เช่น มีผื่นขึ้นบริเวณผิวหนัง มีอาการจามอย่างรุนแรง แอนติเจนที่ท้าให้เกิดโรคภูมิแพ้ เรียกว่า สารก่อภูมิแพ้ เช่น ไรฝุ่น เชื้อราในอากาศ เกสรดอกไม้ ขนสัตว์ อาหารทะเล  โดยปกติโรคภูมิแพ้จะไม่แสดงอาการ หากไม่ได้สัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ คนที่มีอาการแพ้รุนแรง มักนิยมใช้ยาแอนติฮิสตามีน (anti-histamine) หรือยาแก้แพ้ ช่วยบรรเทาอาการให้ลดลง
  • 24. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตนเอง โรคที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันต่อต้าน หรือท้าลายเซลล์และอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ท้าให้เกิดอาการอักเสบตามอวัยวะต่าง ๆ ระบบประสาท :ปวดศีรษะ ชัก ซึม สับสน สูญเสียความ ทรงจ่า ชาตามแขนขาหรือเป็นอัมพาต บางรายอาจมี อารมณ์แปรปวนและอาการทางจิต ระบบหัวใจและหลอดเลือด : มีการอักเสบที่เยื่อ หุ้มหัวใจและปอด อาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบขั้น รุนแรง หรืออาจท่าให้เกิดหัวใจล้มเหลว ระบบทางเดินอาหาร : ปวดท้องอย่างรุนแรงและ เฉียบพลัน ซึ่งเป็นผลมาจากตับอ่อนอักเสบหรือล่าไส้ขาด เลือด เนื่องจากการอุดตันบริเวณหลอดเลือดแดง ระบบข้อและกล้ามเนื้อ : ปวดข้อ อักเสบ บริเวณข้อเล็ก อาจมีอาการกล้ามเนื้ออักเสบและ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบผิวหนังและเยื่อเมือก : ผมร่วง มีผื่นแดงบริเวณใบหน้าที่มีลักษณะเฉพาะ หรืออาจเกิดบริเวณล่าตัว แขน ขา ระบบเลือด : เซลล์เม็ดเลือดแดงถูก ท่าลาย เซลล์เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด ต่่า มีเลือดออกบริเวณไรฟัน เป็นจ้่าเลือด บริเวณผิวหนังเวลาถูกกระแทกไม่รุนแรง ระบบไต : ปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ มากกว่าปกติ ปัสสาวะเป็นฟอง มีเลือดปน มีอาการตัวบวม ความดันเลือดสูง ซึ่งอาจ ท่าให้เกิดไตอักเสบขั้นรุนแรงและไตวายได้ * ไม่มียารักษาให้หายขาด ผู้ป่วยต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและปฏิบัติตามค้าแนะน้าของแพทย์อย่างเคร่งครัด
  • 25. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง โรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HIV (human immunodeficiency virus) เข้าท้าลายเซลล์เซลล์ทีผู้ช่วย ท้าให้ระบบภูมิคุ้มกันท้างานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ 1 2 3 4 5 6 DNA ของไวรัส DNA ของเซลล์เจ้าบ้าน ไวรัสตัวใหม่และโปรตีน ไวรัส HIV RNA ของไวรัส 1 ร่างกายได้รับเชื้อไวรัส HIV 2 ไวรัส HIV จับกับเซลล์เจ้าบ้านและปล่อย RNA ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมเข้าสู่เซลล์เจ้า บ้าน 3 เอนไซม์รีเวอร์สทรานสคริปเทส (reverse transcriptase enzyme) เปลี่ยน RNA ของไวรัสเป็น DNA โดยใช้นิ วคลี- โอไทด์ของเซลล์เจ้าบ้าน 4 5 6 DNA ของไวรัส HIV รวมตัวกับ DNA ของเซลล์เจ้าบ้าน และมีการ สังเคราะห์โปรตีนในส่วนที่เป็นสารพันธุกรรมของไวรัสแทรกอยู่ โปรตีนที่สังเคราะห์ขึ้นถูกตัดแยกเอาโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบของไวรัสและน่ามาสร้าง ไวรัส HIV ตัวใหม่ ไวรัส HIV ใช้ผนังของเซลล์เจ้าบ้านสร้างผนังของไวรัสและแยกออกจากเซลล์เจ้าบ้าน แล้ว แพร่กระจายไปยังเซลล์อื่น ๆ ท่าให้มีการเพิ่มจ่านวนอย่างรวดเร็ว
  • 26. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (การเปลี่ยนแปลงปริมาณเซลล์ต่าง ๆ) ช่วงแรก (0-2 ปี) ช่วงหลัง (ตั้งแต่ปีที่ 3) ร่างกายสร้างเซลล์ทีผู้ช่วยกระตุ้นเซลล์บีให้สร้าง แอนติบอดี ท้าให้มีเซลล์ทีผู้ช่วยและแอนติบอดี ปริมาณมาก แต่เชื้อไวรัสมีปริมาณลดลงอย่างรวดเร็ว เชื้อไวรัส HIV เพิ่มจ้านวนกลับขึ้นมา และเข้าท้าลายเซลล์ที ผู้ช่วย ซึ่งเป็นเซลล์เป้าหมาย ท้าให้เซลล์ทีมีปริมาณลดลดลง อย่างรวดเร็ว การติดต่อ แม่สู่ลูก เพศสัมพันธ์ เลือด