SlideShare a Scribd company logo
1 of 155
Download to read offline
บทที่ 2 ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM)
รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
3
ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผล
ต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่าน extracellular fluid เช่น
กระแสเลือด ซึ่งแตกต่างกับ ต่อมมีท่อ (exocrine gland)
ซึ่งเป็นต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดย
ผ่านท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
(ENDOCRINE SYSTEM)
ฮอร์โมน หมายถึงสารเคมีที่สร้างมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อ
(endocrine cell) และไปมีผลควบคุมการทางานของเซลล์
เป้าหมายที่อยู่ห่างออกไป โดยขนส่งไปตามกระเสเลือด
การทางานของร่างกายที่ควบคุมโดยฮอร์โมนหรือ
สารเคมี เรียก chemical control และเรียกกลุ่มสารเคมี
ดังกล่าวว่า chemical messenger หรือ molecular
messenger : ตัวนาข่าว (ตัวที่ 1 ,2 ,….)
4
ลักษณะของต่อมไร้ท่อ
1. ไม่มีท่อลาเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม
2. มีเส้นเลือดจานวนมาก ทาหน้าที่ลาเลียงสารที่ต่อผลิต ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
3. เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมมีรูปร่างพิเศษแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
4. สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น
5. สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจาเพาะ
1. เป็นสารที่หลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อโดยไม่มีผลต่ออวัยวะที่สร้างแต่จะไปมีผลที่ส่วนอื่นของ
ร่างกายที่เป็นอวัยวะเป้าหมาย (target organ)
2. ผลิตออกมาในปริมาณน้อยแต่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากและใช้เวลานาน
3. ทางานโดยกระตุ้นอวัยวะเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง
4. แต่ละชนิดมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายในช่วงเวลาที่แน่นอน และการทางานบางอย่างของร่างกาย
อาจถูกควบคุมโดยฮอร์โมนหลายชนิด
5. ความบกพร่องของฮอร์โมนไม่ว่าจะผลิตปริมาณมากหรือน้อยเกินไป จะมีผลต่อการทางานของ
อวัยวะเป้าหมาย ซึ่งทาให้เกิดความผิดปกติของร่างกาย
คุณสมบัติของฮอร์โมน
5
บทบาทของฮอร์โมน
จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการหลักของร่างกาย 4 ประการ คือ
1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย เช่น ฮอร์โมนกระตุ้นการแบ่งตัวเพื่อ
เพิ่มจานวนเซลล์ของร่างกาย มีผลให้ร่างกายเติบโต
2. การสืบพันธุ์ เช่น ฮอร์โมนมีความสาคัญและจาเป็นต่อการเจริญและพัฒนาการ
ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์
รวมทั้งลักษณะและพฤติกรรมทางเพศ
3. การรักษาสภาวะสมดุลภายในร่างกาย เช่น สมดุลของน้า เกลือแร่ และกรดเบส
เป็นต้น
4. การสร้าง การใช้ และการเก็บสะสมพลังงานของร่างกาย
6
7
8
9
10
11
12
การค้นพบฮอร์โมน
ค.ศ. 1848 Arnold A. Berthold ทดลองตัดอัณฑะของลูกไก่ตัวผู้ออก ไก่สามารถเจริญเติบโตได้แต่
ลักษณะทางเพศเปลี่ยนแปลงไป คือ หงอนและเหนียงคอมีขนาดเล็ก เมื่อนาอัณฑะใส่กลับไปในไก่ตัวผู้
ที่ถูกตัดอัณฑะออกและปล่อยให้เจริญเติบโตระยะหนึ่ง ปรากฏว่าหงอนและเหนียงคอขยายใหญ่
เหมือนไก่ตัวผู้ปกติ สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงหงอนและเหนียงคอซึ่งเป็นลักษณะจาเพาะของไก่ตัว
ผู้เกี่ยวข้องกับอัณฑะ
13
การค้นพบฮอร์โมน
ค.ศ. 1868 Paul Langerhans ศึกษาตับอ่อนและสังเกตพบกลุ่มเซลล์ที่แตกต่างจาก
เนื้อเยื่อส่วนใหญ่กระจายอยู่เป็นหย่อมๆ มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก ต่อมามีการตั้งชื่อ
กลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า กลุ่มเซลล์ไอส์เลต ออฟ ลังเกอร์ฮันส์
ค.ศ. 1883 E. Kocher ทดลองตัดต่อมไทรอยด์ของคนไข้คนหนึ่งออก พบว่า มีอาการ
ผิดปกติอ่อนเพลีย บวมที่ใบหน้า มือ และเท้า ผิวหนังแห้งเป็นสะเก็ด สมองเสื่อม
ค.ศ.1895 Magnus Levy นาต่อมไทรอยแกะมาทาให้แห้งแล้วบดละเอียดให้คนปกติ
กิน ปรากฏว่า ทาให้เมทาบอลิซึมสูง และต่อมาสามารถรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถผลิต
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ได้สาเร็จโดยให้กินต่อมไทรอยด์แกะบดละเอียด
ค.ศ.1905 David Marine พบว่า คนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งทะเลจะเป็นโรคคอหอยพอกน้อย
กว่าคนที่อยู่ไกลทะเลและเสนอให้เติมไอโอดีนในน้าดื่ม
14
Magnus Levy
David Marine
Paul Langerhans
1. ควบคุมการเจริญเติบโต (growth)
2. ควบคุมและรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้เป็นปกติ
3. ควบคุมการทางานของร่างกายอย่างอัตโนมัติ
15
Chemical messenger หรือ molecular messenger แบ่งเป็น 5 ชนิดดังนี้
1. Paracrine (local regulator) 2. Neurotransmitter 3. Neurohormone 4. Hormone 5. Pheromone
16
17
ฮอร์โมน เป็นสารเคมีที่สร้างจากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อ และส่งเข้าสู่ระบบ
หมุนเวียนเลือดเพื่อควบคุมการทางานของอวัยวะเป้าหมาย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
1. ฮอร์โมนกลุ่มอะมีน (amine) ประกอบด้วย กรดอะมิโนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ละลาย
น้าได้ และเก็บสะสมไว้ในต่อมที่ผลิตในรูปคอลลอยด์ (colloid) หรือ แกรนูล
(granule) เมื่อถูกส่งเข้ากระแสเลือด อาจจับกับพลาสมาโปรตีน ได้แก่ ไทรอกซิน
และอะดรีนาลิน
2. ฮอร์โมนกลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (polypeptide) ประกอบด้วย กรดอะมิโนหลาย
โมเลกุลมาเรียงต่อกัน มีน้าหนักโมเลกุลมาก ละลายน้าได้และเก็บไว้ในรูปแรนูล
ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพฮอร์โมนอิสระ ได้แก่ โกรทฮอร์โมน อินซูลิน กลูคากอน
โพรแลกติน วาโซเพรสซิน และพาราทอร์โมน เป็นต้น
3. ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ (steroid) ประกอบด้วย สารสเตอรอยด์ ละลายในไขมันและ
ไม่เก็บสะสมในต่อที่ผลิต จะหลั่งสู่กระแสเลือดและจับกับโปรตีนที่จาเพาะใน
พลาสมา การออกฤทธิ์นาน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก และ
ฮอร์โมนเพศ
18
ฮอร์โมนแบ่งตามโครงสร้างทางเคมีได้เป็น 4 ชนิด คือ
1. ฮอร์โมนเปปไทด์หรือโปรตีน
(Polypeptide hormone)
2. ฮอร์โมนสเตียรอยด์
(Steroid hormone)
3. ฮอร์โมนเอมีน
(Amine hormone)
4.ฮอร์โมนกรดไขมัน
(Fatty acid hormone)
19
20
กลไกการออกฤทธิ์ของ chemical messenger และฮอร์โมน
- ออกฤทธิ์ได้โดยการจับกับตัวรับสัญญาณ (receptor)
สารเคมีตัวเดียวกันสามารถมีผลต่อ
เซลล์ชนิดต่างๆ ได้ต่างกันโดยขึ้นกับ
1. ตัวรับต่างกัน (a กับ b&c)
2. ตัวถ่ายทอดสัญญาณในเซลล์
ต่างกัน (bกับc)
21
การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน แบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 2 แบบ
1.พวกที่มีตัวรับอยู่ที่ผนังเซลล์ (cell membrane receptor) ได้แก่ฮอร์โมนที่มีขนาดใหญ่ผ่านเข้า
เซลล์ไม่ได้ ไม่ละลายในไขมัน เช่น ฮอร์โมนโปรตีน
2.พวกที่มีตัวรับอยู่ภายในเซลล์ ได้แก่ฮอร์โมนที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได้ เช่น
ฮอร์โมนสเตียรอยด์, ฮอร์โมนไทรอยด์, Vitamin D3, NO
-ตัวรับเมื่อจับกับ
ฮอร์โมน
(hormone-receptor
complex)
จะทาหน้าที่เป็น
transcription factor
-ตัวรับอาจอยู่ใน
ไซโตพลาสม
หรือนิวเคลียส
22
23
24
25
Adenylate cyclase
1. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง * สร้างสารพวกสเตอรอยด์
- ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) รังไข่ (ovary) อัณฑะ (testis)
2. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก และเนื้อเยื่อชั้นใน * สร้างสารพวกเปปไทด์ โปรตีน
ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมใต้สมอง (hypophysis หรือ pituitary) ต่อมหมวกไตส่วนใน
(adrenal medulla)
26
1. พวกที่ร่างกายขาดไม่ได้ (essential endocrine gland)
- ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyriod gland) ต่อมหมวกไตส่วนนอก
(adrenal cortex) ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
2. พวกที่ร่างกายขาดได้ (non-essential endocrine gland)
- ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (pituitary) ต่อมไพเนียล(pineal gland) ต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal
medulla) รังไข่ (ovary) อัณฑะ(testis)
เนื้อเยื่อ ต่อมไร้ท่อ ประเภทฮอร์โมน
เอ็กโทเดิร์ม ต่อมใต้สมอง ต่อไพเนียล อะดรีนัลเมดัลลา อะมีน โปรตีน
มีโซเดิร์ม อะดรีนัลคอร์เทกซ์ อัณฑะ รังไข่ สเตอรอยด์
เอนโดเดิร์ม ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ ไอส์เลต ออฟ แลงเกอร์ฮานส์ อะมีน โปรตีน
27
ต่อมไร้ท่อในคนมีต้นกาเนิดมาจากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และเริ่มเจริญตั้งแต่ระยะเอ็มบริโอ
อายุประมาณ 4-12 สัปดาห์ และกลายเป็นต่อมที่สมบูรณ์เต็มที่เมื่อเอ็มบริโออายุ
ประมาณ 7-16 สัปดาห์
28
29
30
กลไกการควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ส่วนใหญ่
เป็นกลไกการควบคุมย้อนกลับแบบ
negative feedback
การควบคุม homeostasis ของ
แคลเซียมโดย PTH และ
Calcitonin
การทางานแบบตรงข้ามกัน
(antagonistic) ของฮอร์โมน 2
ชนิด
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
1.Brain hormone(BH) หลั่งจาก
neurosecretory cells มาเก็บไว้ที่
corpus cardiacum
2.BHกระตุ้นprothoracic
gl. ให้หลั่งฮอร์โมน
ecdysone
3.ecdysone กระตุ้น
การลอกคราบ
4.Juvenile hormone(JH) หลั่งจาก
corpus allatum ยับยั้งการเกิด
metamorphosis เมื่อ JH ลดลงแมลง
สามารถพัฒนาไปสู่ระยะต่อไปได้
43
ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง (มนุษย์)
-ในร่างกายคนเรามีต่อมไร้ท่อทั้งหมด 9 ต่อม
-Tropic hormones: ฮอร์โมนที่ไปมีบทบาท
ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ
44
การทางานร่วมกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
(ไฮโปทาลามัส และ ต่อมใต้สมอง)
- ไฮโปทาลามัสทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่าง
ระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท
- เซลล์ประสาท (neurosecretory cell) จากไฮ
โปทาลามัสไปควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจาก
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทั้งแบบกระตุ้น
(releasing homrone) และยับยั้ง (inhibiting
hormone)
45
ต่อมใต้สมอง (pituitary gland หรือ hypophysis) เป็นต่อมที่มีขนาดเล็กประมาณ 1-1.5
เซนติเมตร อยู่ใต้ไฮโพทาลามัส เจริญมาจากเนื้อเยื่อ 2 กลุ่มที่แตกต่างกันจึงทาให้แบ่งเป็น 2 ส่วน
1. Adenohypophysis เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์มบริเวณเพดานปาก ถือ
ว่าเป็นต่อมไร้ท่อที่แท้จริงของต่อมใต้สมอง และสามารถสร้างฮอร์โมนได้เอง จากการศึกษาพบว่า
Adenohypophysis ของคนมีเพียงส่วนเดียว เรียก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland)
แต่ในสัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิด ส่วน Adenohypophysis ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า และต่อมใต้สมองส่วนกลาง
2. Neurohypophysis เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์ม เนื้อเยื่อประสาทที่ยื่น
มาจากสมองส่วนไฮโพทาลามัส เรียก ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary gland) ซึ่งสร้าง
ฮอร์โมนเองไม่ได้ แต่ได้รับฮอร์โมนจากเซลล์นิวโรซีครีทอรีในไฮโพทาลามัส
46
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(Anterior pituitary)
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
(intermidiate)
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
(Posterior pituitary)
47
ต่อมใต้สมองเป็นต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณตรงกลางสมองแบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
48
49
50
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland or adenohypophysis)
-ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่านทางเส้นเลือด
portal vessel
- เป็นสารพวกโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต ของร่างกาย
น้อยไป มากไป
เด็ก Dwarfism gigantism
ผู้ใหญ่ simmon’s disease acromegaly
51
ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone ,GH)
52
53
Dwarfism
gigantism
acromegaly
simmon’s disease
1. ฮอร์โมนกระตุ้นฟอลลิเคิล หรือ ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating hormone ,FSH) เป็นฮอร์โมน
พวกโปรตีนที่รวมอยู่กับคาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ทาหน้าที่
- กระตุ้นฟอลลิเคิลของรังไข่ให้เจริญเติบโต
- ออกฤทธิ์ร่วมกับฮอร์โมนลูทิไนท์ (LH) ในการกระตุ้นให้มีการสร้างและหลั่งฮอร์โมนอีสโทรเจน
- FSH ในเพศชายจะกระตุ้นเนื้อเยื่อสืบพันธุ์ (germinal epithelium) ภายในหลอดสร้างอสุจิในอัณฑะ ให้สร้าง
อสุจิ (spermatogenesis)
- ฮอร์โมน LH กระตุ้นกลุ่มเซลล์
 อินเตอร์สติเชียลให้หลั่ง
 ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone)
54
ฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน (gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone ,Gn )
55
• เป็นฮอร์โมนประเภทโปรตีน กระตุ้นการเจริญของท่อ
ของการผลิตน้านมกระตุ้นการสร้างและผลิตน้านม
• ในขณะตั้งครรภ์และตอนคลอดจะมีโพรแลกตินสูง
• โพรแลกตินในเพศชายไม่ทราบหน้าที่แน่ชัด แต่มี
ผู้รายงานว่าโพรแลกตินจะทาหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมน
เพศชายในการกระตุ้นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการ
สืบพันธุ์ เช่น ต่อมลูกหมาก ท่อนาอสุจิ และต่อมสร้าง
น้าเลี้ยงอสุจิ
ฮอร์โมนโพรแลกติน (prolactin) หรือ (lactogenic hormone)
 ทาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทก ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ
 กระตุ้นการเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก
 กระตุ้นการปลดปล่อยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ
 กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
 กระตุ้นการหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
 ACTH ยังมีลักษณะบางอย่างเหมือนฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง(MSH)จึงกระตุ้นเมลา
นินภายในสัตว์เลือดเย็น เช่น กบ ทาให้มีสีเข้มขึ้น
56
ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH
หรือ TSH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนตาม ปกติ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะ
ควบคุมโดยฮอร์โมน ประสาทที่สร้างมาจากไฮโพทาลามัส
57
ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone)
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing hormone ,GHRH)
 ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone ,GHIH)
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน (prolactin releasing hormone ,PRH)
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing hormone ,TRH) กระตุ้นการหลั่ง TSH
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (gonadotrophin releasing hormone ,GnRH) กระตุ้นการหลั่ง FSH
และ LH
58
59
- ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating
hormone) หรือ MSH ทาหน้าที่ทาให้รงควัตถุภายใน
เซลล์ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์
60
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
61
62
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland or neurohypophysis)
-ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลังสร้างมาจาก
เซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส
-โดยเซลล์ประสาทจะยื่นส่วน axon มาในต่อมใต้สมองส่วนหลัง
-ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซีส ไม่ได้สร้างฮอร์โมน
เอง แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจาก นิวโรซีครีทอรีเซลล์ของไฮโพทา
ลามัสโดยกลุ่มเซลล์เหล่านี้จะมีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่ภายในต่อม
ใต้สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแสเลือด
Axons to
primary
capillaries
Primary
capillaries
Pituitary stalk
Posterior pituitary
Anterior pituitary
Secondary
capillaries
Portal
venules
- มีหน้าที่ดูดน้ากลับของหลอดไต และกระตุ้นให้
หลอด เลือดบีบตัว ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดการ
เบาจืดทาให้ปัสสาวะบ่อย
 มีผลให้มีการดูดน้ากลับที่ท่อหน่วยไต
 ฮอร์โมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อ กระหายน้า
และขาดน้า ความเครียดสูง ความดันเลือดสูง
 ยาที่มีผลต่อการกระตุ้นประสาทส่วนกลาง ฝิ่น
เฮโรอีนจะมีผลในการกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมน
ด้วย
 ถ้ามี ADH น้อยมากๆจะทาให้เกิดโรคเบาจืด
(diabetes insipidus) มีปัสสาวะออกมามาก
ถึงวันละ 20 ลิตรต่อวัน
63
วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH
64
65
ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบและ อวัยวะภายใน
กระตุ้นกล้ามเนื้อรอบ ๆ ต่อมน้านมให้ขับน้านม ฮอร์โมน
นี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อ
มดลูกบีบตัวขณะคลอด
66
ออกซีโทซิน (Oxytocin)
ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ
สมองส่วนเซรีบรัมพูซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่สร้าง
ฮอร์โมน ต่อมนี้จะสร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์
ชั้นสูงในช่วงวัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะสืบพันธุ์
ถ้าขาดจะทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
67
ต่อมไพเนียล (pineal gland)
ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวกับการปรับตัวของสัตว์
- ต่อมใต้สมองส่วนกลาง MSH
- ต่อมไพเนียล melatonin
ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
- Thymus gland
ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม Biological clock
- pineal gland
68
69
70
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
-ต่อมไทรอยด์ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี 2 พู วางตัวอยู่บน
หลอดลม ควบคุมการสร้างโดย TSH
-สร้างฮอร์โมน triiodothyronine (T3) thyroxine (T4) และ
calcitonin
-ทาหน้าที่ควบคุม กระบวนการเมตาบอลิสม/ระดับแคลเซียม
- พาราทอร์โมน (parathormone ,PTH) ทาหน้าที่
รักษาสมดุลและ ฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่
- มีผลกระตุ้นให้มีการเพิ่มแคลเซียมและฟอสฟอรัส
- ถ้ามีระดับแคลเซียมต่าในเลือดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง
ฮอร์โมนมากขึ้น
- ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะทาให้มีการสะสม
แคลเซียมที่ไตที่เส้นเลือด กระดูกเสียแคลเซียมมาก
เกินไป หักง่ายเป็นโรคกระดูกพรุน
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyriod gland)
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (Rickets)
89
โรคปวดข้อจากกระดูกพรุนในผู้ใหญ่
90
ตับอ่อน (pancreas) -ตับอ่อนประกอบด้วยendocrine gland (islets of Langerhans) และ
exocrine gland (หลั่งเอนไซม์)
-Islet of Langerhans ประกอบด้วย alpha cells (หลั่ง glucagon)
และ beta cells (หลั่ง insulin)
91
92
93
94
95
96
insulin และ glucagon จะทาหน้าที่ตรงข้ามกัน (antagonistic)
: insulin ลดระดับน้าตาลในเลือด โดยไปกระตุ้นให้มีการนากลูโคสเข้าสู่เซลล์ (ยกเว้นเซลล์สมอง), ลด
การสลายไกลโคเจนที่ตับ, และลดการเปลี่ยนกรดอะมิโนและกลีเซอรอลไปเป็นน้าตาล
: glucagon เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด โดยกระตุ้นเซลล์ตับให้สลายไกลโคเจนมาเป็นกลูโคส เปลี่ยน
กรดอะมิโนและกลีเซอรอลมาเป็นกลูโคส
Diabetes mellitus (โรคเบาหวาน) สภาวะที่ระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (คนปกติ =
90mg/100ml) อาจเกิดเนื่องจากร่างกายขาด insulin หรือเซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อinsulin
97
98
ต่อมหมวกไต (adrenal gland)ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิดคือ
1. อะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอก
1.1 ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid hormone) ทาหน้าที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
กระตุ้นการ เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตและไกลโคเจนเป็นกลูโคส และยังควบคุมสมดุลของเกลือแร่
1.2 ฮอร์โมนมิเนราโลคอทิคอยด์ (mineralocorticoid) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย
เช่น อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ดูดโซเดียมกลับท่อหน่วยไต
1.3 ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทางเพศที่สองทั้งหญิงและชาย ปริมาณน้อยมาก
2. อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เป็นเนื้อเยื่อชั้นในอะดรีนัลคอร์เทกซ์
2.1 อะดรีนาลิน (adrenalin) ทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และ กระตุ้นการเต้นของหัวใจ
2.2 นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin) ทาหน้าที่หลั่งจากเส้นประสาทซิมพาเทติก ทาให้ความดันเลือดสูง
99
100
adrenal
gland
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
cortisol function
111
aldosterone function
112
113
114
เพศชาย
-ฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgens)ประกอบไปด้วย
เทสโทสเตอโรน (testosteron) มีหน้าที่ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น
115
เพศหญิง
- เอสโทรเจน (estrogens) สร้างจากเซลล์ฟอลลิเคิลในรังไข่
ฮอร์โมนนี้จะต่าในขณะมีประจาเดือน
- ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน (progesterone) สร้างจาก คอร์ปัสลู
เทียม ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่าง กาย
ในช่วงวัยรุ่น
@ HCG = human chorionic gonodotrophin
116
testis histology
Hormonal control of the ovary
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
 มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือด ใหญ่ของหัวใจ ต่อมไทมัสจะเจริญเต็มที่ตั้งแต่เป็น
ทารกอยู่ใรครรภ์มารดาและมีขนาด ใหญ่มากเมื่อยังมีอายุน้อย แต่เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของต่อมไทมัส
จะเล็กลงและฝ่อไป ในที่สุด
 ต่อมไทมัสทาหน้าที่ สร้างฮอร์โมนไทโมซิน (thymosin) ซึ่งมีหน้าที่ในการกระตุ้น เนื้อเยื่อต่อม
ไทมัสเอง ซึ่งเป็นอวัยวะน้าเหลือง สร้างT-lymphocyte หรือ T-cell ซึ่งเป็น เซลล์ที่สาคัญใน
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยการทาลายเซลล์แปลกปลอมที่เกิดขึ้น และ กระตุ้นการทางานของB-
cell ให้สร้างแอนติบอดี (antibody) ขึ้นมาต่อต้านสิ่ง แปลกปลอม หรือเชื้อโรคให้หมดฤทธิ์ไป
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 

Viewers also liked

บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54Wichai Likitponrak
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่Wichai Likitponrak
 
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสงWichai Likitponrak
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะWichai Likitponrak
 
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืชWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
 
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง
10ติวข้อสอบสสวทคลื่นเสียงแสง
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
 
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ
14ติวข้อสอบสสวทลมฟ้าอากาศ
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 

Similar to บท2ต่อมไร้ท่อ

บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกWichai Likitponrak
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2Wichai Likitponrak
 

Similar to บท2ต่อมไร้ท่อ (20)

บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4ศิลป์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
การแนะนำบทเรียน ม4วิทย์เทอม1
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
การแนะนำบทเรียนม.4เทอม2
 
การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6การแนะนำบทเรียน ม6
การแนะนำบทเรียน ม6
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 2
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท2ต่อมไร้ท่อ

  • 1. บทที่ 2 ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM) รายวิชาชีววิทยา 4 (ว30246) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1
  • 2.  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3. 3 ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผล ต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่าน extracellular fluid เช่น กระแสเลือด ซึ่งแตกต่างกับ ต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งเป็นต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดย ผ่านท่อ ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM) ฮอร์โมน หมายถึงสารเคมีที่สร้างมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อ (endocrine cell) และไปมีผลควบคุมการทางานของเซลล์ เป้าหมายที่อยู่ห่างออกไป โดยขนส่งไปตามกระเสเลือด การทางานของร่างกายที่ควบคุมโดยฮอร์โมนหรือ สารเคมี เรียก chemical control และเรียกกลุ่มสารเคมี ดังกล่าวว่า chemical messenger หรือ molecular messenger : ตัวนาข่าว (ตัวที่ 1 ,2 ,….)
  • 4. 4 ลักษณะของต่อมไร้ท่อ 1. ไม่มีท่อลาเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม 2. มีเส้นเลือดจานวนมาก ทาหน้าที่ลาเลียงสารที่ต่อผลิต ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง 3. เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมมีรูปร่างพิเศษแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 4. สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น 5. สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจาเพาะ 1. เป็นสารที่หลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อโดยไม่มีผลต่ออวัยวะที่สร้างแต่จะไปมีผลที่ส่วนอื่นของ ร่างกายที่เป็นอวัยวะเป้าหมาย (target organ) 2. ผลิตออกมาในปริมาณน้อยแต่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากและใช้เวลานาน 3. ทางานโดยกระตุ้นอวัยวะเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง 4. แต่ละชนิดมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายในช่วงเวลาที่แน่นอน และการทางานบางอย่างของร่างกาย อาจถูกควบคุมโดยฮอร์โมนหลายชนิด 5. ความบกพร่องของฮอร์โมนไม่ว่าจะผลิตปริมาณมากหรือน้อยเกินไป จะมีผลต่อการทางานของ อวัยวะเป้าหมาย ซึ่งทาให้เกิดความผิดปกติของร่างกาย คุณสมบัติของฮอร์โมน
  • 5. 5 บทบาทของฮอร์โมน จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการหลักของร่างกาย 4 ประการ คือ 1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย เช่น ฮอร์โมนกระตุ้นการแบ่งตัวเพื่อ เพิ่มจานวนเซลล์ของร่างกาย มีผลให้ร่างกายเติบโต 2. การสืบพันธุ์ เช่น ฮอร์โมนมีความสาคัญและจาเป็นต่อการเจริญและพัฒนาการ ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ รวมทั้งลักษณะและพฤติกรรมทางเพศ 3. การรักษาสภาวะสมดุลภายในร่างกาย เช่น สมดุลของน้า เกลือแร่ และกรดเบส เป็นต้น 4. การสร้าง การใช้ และการเก็บสะสมพลังงานของร่างกาย
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12 การค้นพบฮอร์โมน ค.ศ. 1848 Arnold A. Berthold ทดลองตัดอัณฑะของลูกไก่ตัวผู้ออก ไก่สามารถเจริญเติบโตได้แต่ ลักษณะทางเพศเปลี่ยนแปลงไป คือ หงอนและเหนียงคอมีขนาดเล็ก เมื่อนาอัณฑะใส่กลับไปในไก่ตัวผู้ ที่ถูกตัดอัณฑะออกและปล่อยให้เจริญเติบโตระยะหนึ่ง ปรากฏว่าหงอนและเหนียงคอขยายใหญ่ เหมือนไก่ตัวผู้ปกติ สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงหงอนและเหนียงคอซึ่งเป็นลักษณะจาเพาะของไก่ตัว ผู้เกี่ยวข้องกับอัณฑะ
  • 13. 13 การค้นพบฮอร์โมน ค.ศ. 1868 Paul Langerhans ศึกษาตับอ่อนและสังเกตพบกลุ่มเซลล์ที่แตกต่างจาก เนื้อเยื่อส่วนใหญ่กระจายอยู่เป็นหย่อมๆ มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก ต่อมามีการตั้งชื่อ กลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า กลุ่มเซลล์ไอส์เลต ออฟ ลังเกอร์ฮันส์ ค.ศ. 1883 E. Kocher ทดลองตัดต่อมไทรอยด์ของคนไข้คนหนึ่งออก พบว่า มีอาการ ผิดปกติอ่อนเพลีย บวมที่ใบหน้า มือ และเท้า ผิวหนังแห้งเป็นสะเก็ด สมองเสื่อม ค.ศ.1895 Magnus Levy นาต่อมไทรอยแกะมาทาให้แห้งแล้วบดละเอียดให้คนปกติ กิน ปรากฏว่า ทาให้เมทาบอลิซึมสูง และต่อมาสามารถรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถผลิต ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ได้สาเร็จโดยให้กินต่อมไทรอยด์แกะบดละเอียด ค.ศ.1905 David Marine พบว่า คนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งทะเลจะเป็นโรคคอหอยพอกน้อย กว่าคนที่อยู่ไกลทะเลและเสนอให้เติมไอโอดีนในน้าดื่ม
  • 15. 1. ควบคุมการเจริญเติบโต (growth) 2. ควบคุมและรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้เป็นปกติ 3. ควบคุมการทางานของร่างกายอย่างอัตโนมัติ 15 Chemical messenger หรือ molecular messenger แบ่งเป็น 5 ชนิดดังนี้ 1. Paracrine (local regulator) 2. Neurotransmitter 3. Neurohormone 4. Hormone 5. Pheromone
  • 16. 16
  • 17. 17 ฮอร์โมน เป็นสารเคมีที่สร้างจากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อ และส่งเข้าสู่ระบบ หมุนเวียนเลือดเพื่อควบคุมการทางานของอวัยวะเป้าหมาย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 1. ฮอร์โมนกลุ่มอะมีน (amine) ประกอบด้วย กรดอะมิโนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ละลาย น้าได้ และเก็บสะสมไว้ในต่อมที่ผลิตในรูปคอลลอยด์ (colloid) หรือ แกรนูล (granule) เมื่อถูกส่งเข้ากระแสเลือด อาจจับกับพลาสมาโปรตีน ได้แก่ ไทรอกซิน และอะดรีนาลิน 2. ฮอร์โมนกลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (polypeptide) ประกอบด้วย กรดอะมิโนหลาย โมเลกุลมาเรียงต่อกัน มีน้าหนักโมเลกุลมาก ละลายน้าได้และเก็บไว้ในรูปแรนูล ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพฮอร์โมนอิสระ ได้แก่ โกรทฮอร์โมน อินซูลิน กลูคากอน โพรแลกติน วาโซเพรสซิน และพาราทอร์โมน เป็นต้น 3. ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ (steroid) ประกอบด้วย สารสเตอรอยด์ ละลายในไขมันและ ไม่เก็บสะสมในต่อที่ผลิต จะหลั่งสู่กระแสเลือดและจับกับโปรตีนที่จาเพาะใน พลาสมา การออกฤทธิ์นาน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก และ ฮอร์โมนเพศ
  • 18. 18 ฮอร์โมนแบ่งตามโครงสร้างทางเคมีได้เป็น 4 ชนิด คือ 1. ฮอร์โมนเปปไทด์หรือโปรตีน (Polypeptide hormone) 2. ฮอร์โมนสเตียรอยด์ (Steroid hormone) 3. ฮอร์โมนเอมีน (Amine hormone) 4.ฮอร์โมนกรดไขมัน (Fatty acid hormone)
  • 19. 19
  • 20. 20 กลไกการออกฤทธิ์ของ chemical messenger และฮอร์โมน - ออกฤทธิ์ได้โดยการจับกับตัวรับสัญญาณ (receptor) สารเคมีตัวเดียวกันสามารถมีผลต่อ เซลล์ชนิดต่างๆ ได้ต่างกันโดยขึ้นกับ 1. ตัวรับต่างกัน (a กับ b&c) 2. ตัวถ่ายทอดสัญญาณในเซลล์ ต่างกัน (bกับc)
  • 21. 21 การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน แบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 2 แบบ 1.พวกที่มีตัวรับอยู่ที่ผนังเซลล์ (cell membrane receptor) ได้แก่ฮอร์โมนที่มีขนาดใหญ่ผ่านเข้า เซลล์ไม่ได้ ไม่ละลายในไขมัน เช่น ฮอร์โมนโปรตีน 2.พวกที่มีตัวรับอยู่ภายในเซลล์ ได้แก่ฮอร์โมนที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได้ เช่น ฮอร์โมนสเตียรอยด์, ฮอร์โมนไทรอยด์, Vitamin D3, NO -ตัวรับเมื่อจับกับ ฮอร์โมน (hormone-receptor complex) จะทาหน้าที่เป็น transcription factor -ตัวรับอาจอยู่ใน ไซโตพลาสม หรือนิวเคลียส
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 26. 1. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง * สร้างสารพวกสเตอรอยด์ - ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) รังไข่ (ovary) อัณฑะ (testis) 2. พวกที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก และเนื้อเยื่อชั้นใน * สร้างสารพวกเปปไทด์ โปรตีน ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมใต้สมอง (hypophysis หรือ pituitary) ต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla) 26 1. พวกที่ร่างกายขาดไม่ได้ (essential endocrine gland) - ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyriod gland) ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ 2. พวกที่ร่างกายขาดได้ (non-essential endocrine gland) - ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (pituitary) ต่อมไพเนียล(pineal gland) ต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla) รังไข่ (ovary) อัณฑะ(testis)
  • 27. เนื้อเยื่อ ต่อมไร้ท่อ ประเภทฮอร์โมน เอ็กโทเดิร์ม ต่อมใต้สมอง ต่อไพเนียล อะดรีนัลเมดัลลา อะมีน โปรตีน มีโซเดิร์ม อะดรีนัลคอร์เทกซ์ อัณฑะ รังไข่ สเตอรอยด์ เอนโดเดิร์ม ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ ไอส์เลต ออฟ แลงเกอร์ฮานส์ อะมีน โปรตีน 27 ต่อมไร้ท่อในคนมีต้นกาเนิดมาจากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และเริ่มเจริญตั้งแต่ระยะเอ็มบริโอ อายุประมาณ 4-12 สัปดาห์ และกลายเป็นต่อมที่สมบูรณ์เต็มที่เมื่อเอ็มบริโออายุ ประมาณ 7-16 สัปดาห์
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 31. 31
  • 32. 32
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38
  • 39. 39
  • 40. 40
  • 41. 41
  • 42. 42 ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 1.Brain hormone(BH) หลั่งจาก neurosecretory cells มาเก็บไว้ที่ corpus cardiacum 2.BHกระตุ้นprothoracic gl. ให้หลั่งฮอร์โมน ecdysone 3.ecdysone กระตุ้น การลอกคราบ 4.Juvenile hormone(JH) หลั่งจาก corpus allatum ยับยั้งการเกิด metamorphosis เมื่อ JH ลดลงแมลง สามารถพัฒนาไปสู่ระยะต่อไปได้
  • 43. 43 ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง (มนุษย์) -ในร่างกายคนเรามีต่อมไร้ท่อทั้งหมด 9 ต่อม -Tropic hormones: ฮอร์โมนที่ไปมีบทบาท ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ
  • 44. 44 การทางานร่วมกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ (ไฮโปทาลามัส และ ต่อมใต้สมอง) - ไฮโปทาลามัสทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่าง ระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท - เซลล์ประสาท (neurosecretory cell) จากไฮ โปทาลามัสไปควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทั้งแบบกระตุ้น (releasing homrone) และยับยั้ง (inhibiting hormone)
  • 45. 45 ต่อมใต้สมอง (pituitary gland หรือ hypophysis) เป็นต่อมที่มีขนาดเล็กประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร อยู่ใต้ไฮโพทาลามัส เจริญมาจากเนื้อเยื่อ 2 กลุ่มที่แตกต่างกันจึงทาให้แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. Adenohypophysis เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์มบริเวณเพดานปาก ถือ ว่าเป็นต่อมไร้ท่อที่แท้จริงของต่อมใต้สมอง และสามารถสร้างฮอร์โมนได้เอง จากการศึกษาพบว่า Adenohypophysis ของคนมีเพียงส่วนเดียว เรียก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland) แต่ในสัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิด ส่วน Adenohypophysis ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า และต่อมใต้สมองส่วนกลาง 2. Neurohypophysis เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเอ็กโทเดิร์ม เนื้อเยื่อประสาทที่ยื่น มาจากสมองส่วนไฮโพทาลามัส เรียก ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary gland) ซึ่งสร้าง ฮอร์โมนเองไม่ได้ แต่ได้รับฮอร์โมนจากเซลล์นิวโรซีครีทอรีในไฮโพทาลามัส
  • 46. 46
  • 47. 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary) 2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermidiate) 3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary) 47 ต่อมใต้สมองเป็นต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณตรงกลางสมองแบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
  • 48. 48
  • 49. 49
  • 50. 50 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland or adenohypophysis) -ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่านทางเส้นเลือด portal vessel
  • 51. - เป็นสารพวกโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต ของร่างกาย น้อยไป มากไป เด็ก Dwarfism gigantism ผู้ใหญ่ simmon’s disease acromegaly 51 ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone ,GH)
  • 52. 52
  • 54. 1. ฮอร์โมนกระตุ้นฟอลลิเคิล หรือ ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating hormone ,FSH) เป็นฮอร์โมน พวกโปรตีนที่รวมอยู่กับคาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ทาหน้าที่ - กระตุ้นฟอลลิเคิลของรังไข่ให้เจริญเติบโต - ออกฤทธิ์ร่วมกับฮอร์โมนลูทิไนท์ (LH) ในการกระตุ้นให้มีการสร้างและหลั่งฮอร์โมนอีสโทรเจน - FSH ในเพศชายจะกระตุ้นเนื้อเยื่อสืบพันธุ์ (germinal epithelium) ภายในหลอดสร้างอสุจิในอัณฑะ ให้สร้าง อสุจิ (spermatogenesis) - ฮอร์โมน LH กระตุ้นกลุ่มเซลล์  อินเตอร์สติเชียลให้หลั่ง  ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) 54 ฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน (gonadotrophin หรือ gonadotrophic hormone ,Gn )
  • 55. 55 • เป็นฮอร์โมนประเภทโปรตีน กระตุ้นการเจริญของท่อ ของการผลิตน้านมกระตุ้นการสร้างและผลิตน้านม • ในขณะตั้งครรภ์และตอนคลอดจะมีโพรแลกตินสูง • โพรแลกตินในเพศชายไม่ทราบหน้าที่แน่ชัด แต่มี ผู้รายงานว่าโพรแลกตินจะทาหน้าที่ร่วมกับฮอร์โมน เพศชายในการกระตุ้นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการ สืบพันธุ์ เช่น ต่อมลูกหมาก ท่อนาอสุจิ และต่อมสร้าง น้าเลี้ยงอสุจิ ฮอร์โมนโพรแลกติน (prolactin) หรือ (lactogenic hormone)
  • 56.  ทาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทก ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ  กระตุ้นการเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก  กระตุ้นการปลดปล่อยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ  กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน  กระตุ้นการหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า  ACTH ยังมีลักษณะบางอย่างเหมือนฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง(MSH)จึงกระตุ้นเมลา นินภายในสัตว์เลือดเย็น เช่น กบ ทาให้มีสีเข้มขึ้น 56 ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH
  • 57. หรือ TSH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนตาม ปกติ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะ ควบคุมโดยฮอร์โมน ประสาทที่สร้างมาจากไฮโพทาลามัส 57 ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone)
  • 58.  ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing hormone ,GHRH)  ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone ,GHIH)  ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน (prolactin releasing hormone ,PRH)  ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing hormone ,TRH) กระตุ้นการหลั่ง TSH  ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (gonadotrophin releasing hormone ,GnRH) กระตุ้นการหลั่ง FSH และ LH 58
  • 59. 59
  • 60. - ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทาหน้าที่ทาให้รงควัตถุภายใน เซลล์ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์ 60 ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
  • 61. 61
  • 62. 62 ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland or neurohypophysis) -ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลังสร้างมาจาก เซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส -โดยเซลล์ประสาทจะยื่นส่วน axon มาในต่อมใต้สมองส่วนหลัง -ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซีส ไม่ได้สร้างฮอร์โมน เอง แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจาก นิวโรซีครีทอรีเซลล์ของไฮโพทา ลามัสโดยกลุ่มเซลล์เหล่านี้จะมีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่ภายในต่อม ใต้สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแสเลือด Axons to primary capillaries Primary capillaries Pituitary stalk Posterior pituitary Anterior pituitary Secondary capillaries Portal venules
  • 63. - มีหน้าที่ดูดน้ากลับของหลอดไต และกระตุ้นให้ หลอด เลือดบีบตัว ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดการ เบาจืดทาให้ปัสสาวะบ่อย  มีผลให้มีการดูดน้ากลับที่ท่อหน่วยไต  ฮอร์โมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อ กระหายน้า และขาดน้า ความเครียดสูง ความดันเลือดสูง  ยาที่มีผลต่อการกระตุ้นประสาทส่วนกลาง ฝิ่น เฮโรอีนจะมีผลในการกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมน ด้วย  ถ้ามี ADH น้อยมากๆจะทาให้เกิดโรคเบาจืด (diabetes insipidus) มีปัสสาวะออกมามาก ถึงวันละ 20 ลิตรต่อวัน 63 วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH
  • 64. 64
  • 65. 65
  • 66. ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบและ อวัยวะภายใน กระตุ้นกล้ามเนื้อรอบ ๆ ต่อมน้านมให้ขับน้านม ฮอร์โมน นี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อ มดลูกบีบตัวขณะคลอด 66 ออกซีโทซิน (Oxytocin)
  • 67. ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ สมองส่วนเซรีบรัมพูซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่สร้าง ฮอร์โมน ต่อมนี้จะสร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์ ชั้นสูงในช่วงวัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าขาดจะทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ 67 ต่อมไพเนียล (pineal gland) ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวกับการปรับตัวของสัตว์ - ต่อมใต้สมองส่วนกลาง MSH - ต่อมไพเนียล melatonin ต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน - Thymus gland ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรม Biological clock - pineal gland
  • 68. 68
  • 69. 69
  • 70. 70 ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) -ต่อมไทรอยด์ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี 2 พู วางตัวอยู่บน หลอดลม ควบคุมการสร้างโดย TSH -สร้างฮอร์โมน triiodothyronine (T3) thyroxine (T4) และ calcitonin -ทาหน้าที่ควบคุม กระบวนการเมตาบอลิสม/ระดับแคลเซียม - พาราทอร์โมน (parathormone ,PTH) ทาหน้าที่ รักษาสมดุลและ ฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่ - มีผลกระตุ้นให้มีการเพิ่มแคลเซียมและฟอสฟอรัส - ถ้ามีระดับแคลเซียมต่าในเลือดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง ฮอร์โมนมากขึ้น - ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะทาให้มีการสะสม แคลเซียมที่ไตที่เส้นเลือด กระดูกเสียแคลเซียมมาก เกินไป หักง่ายเป็นโรคกระดูกพรุน ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyriod gland)
  • 71. 71
  • 72. 72
  • 73. 73
  • 74. 74
  • 75. 75
  • 76. 76
  • 77. 77
  • 78. 78
  • 79. 79
  • 80. 80
  • 81. 81
  • 82. 82
  • 83. 83
  • 84. 84
  • 85. 85
  • 86. 86
  • 87. 87
  • 90. 90 ตับอ่อน (pancreas) -ตับอ่อนประกอบด้วยendocrine gland (islets of Langerhans) และ exocrine gland (หลั่งเอนไซม์) -Islet of Langerhans ประกอบด้วย alpha cells (หลั่ง glucagon) และ beta cells (หลั่ง insulin)
  • 91. 91
  • 92. 92
  • 93. 93
  • 94. 94
  • 95. 95
  • 96. 96 insulin และ glucagon จะทาหน้าที่ตรงข้ามกัน (antagonistic) : insulin ลดระดับน้าตาลในเลือด โดยไปกระตุ้นให้มีการนากลูโคสเข้าสู่เซลล์ (ยกเว้นเซลล์สมอง), ลด การสลายไกลโคเจนที่ตับ, และลดการเปลี่ยนกรดอะมิโนและกลีเซอรอลไปเป็นน้าตาล : glucagon เพิ่มระดับน้าตาลในเลือด โดยกระตุ้นเซลล์ตับให้สลายไกลโคเจนมาเป็นกลูโคส เปลี่ยน กรดอะมิโนและกลีเซอรอลมาเป็นกลูโคส Diabetes mellitus (โรคเบาหวาน) สภาวะที่ระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (คนปกติ = 90mg/100ml) อาจเกิดเนื่องจากร่างกายขาด insulin หรือเซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อinsulin
  • 97. 97
  • 98. 98 ต่อมหมวกไต (adrenal gland)ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิดคือ 1. อะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอก 1.1 ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid hormone) ทาหน้าที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต กระตุ้นการ เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตและไกลโคเจนเป็นกลูโคส และยังควบคุมสมดุลของเกลือแร่ 1.2 ฮอร์โมนมิเนราโลคอทิคอยด์ (mineralocorticoid) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย เช่น อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ดูดโซเดียมกลับท่อหน่วยไต 1.3 ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทางเพศที่สองทั้งหญิงและชาย ปริมาณน้อยมาก 2. อะดรีนัลเมดุลลา (adrenal medulla) เป็นเนื้อเยื่อชั้นในอะดรีนัลคอร์เทกซ์ 2.1 อะดรีนาลิน (adrenalin) ทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และ กระตุ้นการเต้นของหัวใจ 2.2 นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin) ทาหน้าที่หลั่งจากเส้นประสาทซิมพาเทติก ทาให้ความดันเลือดสูง
  • 99. 99
  • 101. 101
  • 102. 102
  • 103. 103
  • 104. 104
  • 105. 105
  • 106. 106
  • 107. 107
  • 108. 108
  • 109. 109
  • 112. 112
  • 113. 113
  • 114. 114
  • 115. เพศชาย -ฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgens)ประกอบไปด้วย เทสโทสเตอโรน (testosteron) มีหน้าที่ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น 115 เพศหญิง - เอสโทรเจน (estrogens) สร้างจากเซลล์ฟอลลิเคิลในรังไข่ ฮอร์โมนนี้จะต่าในขณะมีประจาเดือน - ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน (progesterone) สร้างจาก คอร์ปัสลู เทียม ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่าง กาย ในช่วงวัยรุ่น @ HCG = human chorionic gonodotrophin
  • 116. 116
  • 118.
  • 119.
  • 120.
  • 121.
  • 122. Hormonal control of the ovary
  • 123. 123
  • 124. 124
  • 125. 125
  • 126. 126
  • 127. 127
  • 128. 128
  • 129. 129
  • 130. 130
  • 131. 131
  • 132. 132
  • 133.  มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือด ใหญ่ของหัวใจ ต่อมไทมัสจะเจริญเต็มที่ตั้งแต่เป็น ทารกอยู่ใรครรภ์มารดาและมีขนาด ใหญ่มากเมื่อยังมีอายุน้อย แต่เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของต่อมไทมัส จะเล็กลงและฝ่อไป ในที่สุด  ต่อมไทมัสทาหน้าที่ สร้างฮอร์โมนไทโมซิน (thymosin) ซึ่งมีหน้าที่ในการกระตุ้น เนื้อเยื่อต่อม ไทมัสเอง ซึ่งเป็นอวัยวะน้าเหลือง สร้างT-lymphocyte หรือ T-cell ซึ่งเป็น เซลล์ที่สาคัญใน ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยการทาลายเซลล์แปลกปลอมที่เกิดขึ้น และ กระตุ้นการทางานของB- cell ให้สร้างแอนติบอดี (antibody) ขึ้นมาต่อต้านสิ่ง แปลกปลอม หรือเชื้อโรคให้หมดฤทธิ์ไป 133
  • 134. 134
  • 135. 135
  • 136. 136
  • 137. 137
  • 138. 138
  • 139. 139
  • 140. 140
  • 141. 141
  • 142. 142
  • 143. 143
  • 144. 144
  • 145. 145
  • 146. 146
  • 147. 147
  • 148. 148
  • 149. 149
  • 150. 150
  • 151. 151
  • 152. 152
  • 153. 153
  • 154. 154
  • 155. 155 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!