SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
วิชา ชีววิทยา( ว 30103 )

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5

ครู นิชนันท์ ไกรทองสุ ข (ครูนิช)
สิ่ งมีชีวิตแต่ละชนิ ดมีลกษณะเฉพาะและแตกต่าง
ั
จากสิ่ งมีชีวิตชนิ ดอื่น ลองสังเกตบุคคลที่อยู่รอบๆ ตัวเรา
จะพบว่ามีลกษณะที่แตกต่างกัน เช่น บางคนมีตาชั้นเดียว
ั
บางคนจมู ก โด่ ง บางคนผมหยิ ก ลัก ษณะต่ า งๆ เหล่ า นี้
ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่ นพ่อแม่ไปสู่ รุ่นต่อๆ ไป เราเรี ยก
่
ลักษณะนี้วา ลักษณะทางพันธุกรรม
การศึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษะทางพันธุ กรรมในมนุ ษย์ จะช่วยให้เราทราบถึงลักษณะที่
ผิดปกติหรื อโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมของคนในครอบครัว ทาได้โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะทาง
พันธุกรรมในครอบครัวหลาย ๆ ชัวรุ่ น แล้วนามาเขียนเป็ นแผนภาพแสดงลาดับเครื อญาติที่เรี ยกว่า พงศาวลี
่
1.โครโมโซมร่ างกายหรื อ ออโตโซมมี 22 คู่ ความผิดปกติเกิด
จากมีโครโมโซมเกินหรื อรู ปร่ างโครโมโซมหายไปบางส่ วน ทาให้เกิด
ลักษณะซินโดรมแบบต่างๆ
2.โครโมโซมเพศคู่ที่ 23 ความผิดปกติอาจเกิดจาก
-โครโมโซม X ขาดหรื อเกินจากปกติ
-โครโมโซม Y เกินจากปกติ (ซูเปอร์แมน) มีผลต่อลักษณะของร่ างกาย
ที่เกี่ยวข้องกับเพศจิตใจ และ พฤติกรรม
3.การถ่ายทอดยีนหรื อหน่วยพันธุกรรมที่ผดปกติโดยยีนด้อยที่
ิ
อยู่บนโครโมโซม X ทาให้เกิ ดอาการหรื อโรค เช่ น ตาบอดสี ทาลัสซี
เมีย
โรค/ความผิดปกติ

สาเหตุของความผิดปกติ

ลักษณะ/อาการของผูป่วย
้

อาการดาวน์ซนโดรม
ิ
Down syndrome

โครโมโซมคูท่ี 21 เกินมา 1 แท่ง
่

หางตาชีขน ลินจุกปาก ศรีษะแบน ดัง
้ ้ึ ้
้
ั
จมูกแบน ปญญาอ่อน พบบ่อยในแม่
ตังครรภ์ตอนอายุมาก
้

อาการคริดชาต์หรือแคทครายซินโดรม
ู
Cri-du-chat/cat cry
syndrome

โครโมโวมคูท่ี 5 หายไปบางส่วน
่

ศรีษะเล็กกว่าปกติ หน้ากลม ใบหูต่ากว่า
ปกติตาห่างกัน หางตาชีขน ดังจมูกแบน
้ ้ึ ้
คางเล็ก นิ้วมือสัน ร้องเสียงเหมือนแมว
้
ั
ปญญาอ่อน
โรค/ความผิดปกติ

สาเหตุของความผิดปกติ

ลักษณะ/อาการของผูป่วย
้

อาการเอ็ดเวิรดซินโดรม
์
Edwards syndrome

โครโมโซมคูท่ี 18 เกินมา 1 แท่ง
่

ั
ปญญาอ่อน หูแหลม ปากแคบ ใบหูเล็ก
ผิดปกติ หัวใจผิดปกติ ข้อมือและข้อเท้า
บิด

อาการคริพาทัวซินโดรม
Patau syndrome

โครโมโซมคูท่ี 13 เกินมา 1 แท่ง
่

ั
ปญญาอ่อน ตาเล็ก ศรีษะเล็ก ปากแหว่ง
เพดานโหว่ มีน้ิวเกิน หัวใจรัว อวัยวะ
่
ภายในพิการ มักเสียชีวตตังแต่แรกเกิด
ิ ้
 1. โครโมโซมเพศเป็ น XXY

เป็ นเพศชายมีเต้านมโตคล้ายเพศหญิง อวัยวะเพศเล็ก ไม่สร้างเชื้ออสุ จิ จึง
เป็ นหมัน
44 + XXY = 47 โครโมโซม
 2. โครโมโซมเพศเป็ น XYY
เป็ นเพศชายที่รูปร่ างสูงใหญ่กว่าปกติ อารมณ์ร้าย โมโหง่าย บางรายเป็ น
หมัน
44 + XYY = 47 โครโมโซม อาจเรี ยกว่า ผูป่วยที่เป็ นซูเปอร์แมน
้
 3. โครโมโซมเพศเป็ น XXX
เป็ นเพศหญิงที่มีลกษณะทัวไปดูปกติ แต่มีระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ
ั
่
44 + XXX = 47 โครโมโซม
 4. โครโมโซมเพศเป็ น XO

เป็ นเพศหญิงรู ปร่ างเตี้ย เป็ นหมัน เพราะอวัยวะเพศมีขนาดเล็ก รังไข่ฝ่อ
ผลิตไข่ไม่ได้
44 + XO = 45
 5. โครโมโซม X มีขนาดใหญ่
มียนจานวนมาก ซึ่งมีท้ งยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศและไม่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
ี
ั
 6. โครโมโซม Y มีขนาดเล็ก
มียนอยูจานวนน้อยกว่า ส่ วนใหญ่เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย เช่น
ี ่
ลักษณะที่มีขนตามบริ เวณใบหู
โรคทางพันธุกรรมทีถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศ
่
 โรคทาลัสซีเมีย เกิดจากการสร้างฮีโมโกลบินลดน้อยลง เซลล์เม็ดเลือด

แดงผิดปกติ แตกหักง่าย ทาให้เกิดภาวะเลือดจางเรื้ อรัง ซีด
 โรคโลหิ ตจางจากเม็ดเลือดรู ปเคียว เซลล์เม็ดเลือดแดงมีลกษณะผิดปกติ
ั
เป็ นรู ปเคียว ไม่สามารถลาเลียงออกซิเจนได้เท่ากับเม็ดเลือกแดงปกติ ทา
ให้ขาดออกซิเจน
 ผิวเผือก เกิดจากการขาดเอมไซด์ที่ใช้สงเคราะห์เม็ดสี เมลานิ นในเซลล์ใต้
ั
ผิวหนัง ทาให้ผวหนัง เส้นผม นัยน์ตา เป็ นสี ขาว
ิ
โรคทางพันธุกรรมทีถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศ
่
 มิวเทชัน คือ ความผิดปกติที่เกิดกับหน่วยพันธุกรรมหรื อยีน ทาให้หน่วย

พันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม
สาเหตุที่ทาให้เกิดมิวเทชันคือการได้รับรังสี บางชนิด
เช่น รังสี เอกซ์ (X-Ray) รังสี ยวี หรื อสารเคมีบางชนิด
ู
 1. หลีกเลียงการแต่ งงานระหว่ างเครือญาติ
่
 2. หลีกเลียงการอยู่ในสิ่ งแวดล้ อมทีอาจทาให้ ได้ รับสารเคมี
่
่

ทีเ่ ป็ นพิษเข้ าสู่ ร่างกาย
 3. หากพบความผิดปกติเล็กน้ อยควรรีบไปตรวจรักษา
 4. ผู้ทต้งครรภ์ ควรฝากครรภ์ ไว้ กบแพทย์
ี่ ั
ั
หมู่โลหิตระบบ ABO
การค้ น พบหมู่ โ ลหิ ต ระบบนี้ เ ริ่ ม ในปี
คศ.1900 โดยคาร์ ล แลนด์ สไตเนอร์ ได้ ทดลอง
เจาะโลหิตของผู้ร่วมงานจานวน 6 คน แล้ วนามา
แยก เม็ ด โลหิ ต แดง และน้ า เหลื อ งออกจากกั น
ต่ อจากนั้นได้ นาเม็ดโลหิตแดงและน้าเหลืองของ
แต่ ละคนมาทาปฏิกิริยาสลับกันไปมา ปรากฏว่ า
บางคู่ เกิดปฏิกิริยา จับกลุ่ม บางคู่ ก็กลืนเป็ นเนื้อ
เดียวกัน จากปรากฏการณ์ นี้ต่อมาในปี คศ.1901
คาร์ ลแลนด์ สไตเนอร์ จึ ง สรุ ป ผลการทดลอง
ค้ นคว้ าว่ าโลหิตแบ่ งออกเป็ น 3 หมู่ คือ A,B และ O
สาหรั บหมู่ที่ 4 คือ AB พบโดย วอนเคอ คาสติโล
และสเตอลิ ในปี คศ. 1902
การจาแนกหมู่โลหิ ตในระบบ ABO
จะมี สารชี วเคมี
(Antigen) เป็ นตัวจาแนกหมู่โลหิ ต คือ แอนติเจน A(Antigen-A)
และแอนติเจน-บี (Antigen-B) เป็ นตัวกาหนดกล่าวคือ
่
หมู่โลหิ ต A คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-เอ (Antigen-A) อยูที่
ผิวของเม็ดเลือดแดงและมีแอนติบอดี -บี (Antibody-B) อยู่ใน
น้ าเหลือง
หมู่โลหิ ต B คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-บี (Antigen่
B) อยูที่ผิวของเม็ดเลือดแดงและมีแอนติบอดี-เอ (Antibody่
A) อยูในน้ าเหลือง
หมู่โลหิ ต O คือหมู่โลหิ ตที่ ไม่มีแอนติ เจน-เอ
่
(Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยูที่ผิวของ
เม็ ด เลื อ ดแดง แต่ มี แ อนติ บ อดี -เอ(Antibody-A) และมี
่
แอนติบอดี-บี (Antibody-B) อยูในน้ าเหลือง
หมู่โลหิ ต AB
คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-เอ
่
(Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยูที่ผิวของเม็ด
เลือดแดง แต่ในน้ าเหลือง ไม่มีแอนติบอดี-เอ(Antibody-A)
และแอนติบอดี-บี (Antibody-B)
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม

More Related Content

What's hot

03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 

What's hot (20)

Budda
BuddaBudda
Budda
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Viewers also liked

การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์Wichai Likitponrak
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 

Viewers also liked (6)

การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
การแนะนำบทเรียน ม. 4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐานโปรแกรมศิลป์
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 

Similar to 3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม

ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อินsupphawan
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project naleenaleesaetor
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีRoongroeng
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
ภัสสร กาญจนา
ภัสสร  กาญจนาภัสสร  กาญจนา
ภัสสร กาญจนาsupphawan
 

Similar to 3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม (17)

ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
กิ๊ก อิน
กิ๊ก  อินกิ๊ก  อิน
กิ๊ก อิน
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project nalee
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
Is 2 3 9
Is 2 3 9Is 2 3 9
Is 2 3 9
 
At1
At1At1
At1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Health
HealthHealth
Health
 
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสีโรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
ภัสสร กาญจนา
ภัสสร  กาญจนาภัสสร  กาญจนา
ภัสสร กาญจนา
 

3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม

  • 1. วิชา ชีววิทยา( ว 30103 ) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ครู นิชนันท์ ไกรทองสุ ข (ครูนิช)
  • 2.
  • 3. สิ่ งมีชีวิตแต่ละชนิ ดมีลกษณะเฉพาะและแตกต่าง ั จากสิ่ งมีชีวิตชนิ ดอื่น ลองสังเกตบุคคลที่อยู่รอบๆ ตัวเรา จะพบว่ามีลกษณะที่แตกต่างกัน เช่น บางคนมีตาชั้นเดียว ั บางคนจมู ก โด่ ง บางคนผมหยิ ก ลัก ษณะต่ า งๆ เหล่ า นี้ ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่ นพ่อแม่ไปสู่ รุ่นต่อๆ ไป เราเรี ยก ่ ลักษณะนี้วา ลักษณะทางพันธุกรรม
  • 4. การศึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษะทางพันธุ กรรมในมนุ ษย์ จะช่วยให้เราทราบถึงลักษณะที่ ผิดปกติหรื อโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมของคนในครอบครัว ทาได้โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะทาง พันธุกรรมในครอบครัวหลาย ๆ ชัวรุ่ น แล้วนามาเขียนเป็ นแผนภาพแสดงลาดับเครื อญาติที่เรี ยกว่า พงศาวลี ่
  • 5. 1.โครโมโซมร่ างกายหรื อ ออโตโซมมี 22 คู่ ความผิดปกติเกิด จากมีโครโมโซมเกินหรื อรู ปร่ างโครโมโซมหายไปบางส่ วน ทาให้เกิด ลักษณะซินโดรมแบบต่างๆ 2.โครโมโซมเพศคู่ที่ 23 ความผิดปกติอาจเกิดจาก -โครโมโซม X ขาดหรื อเกินจากปกติ -โครโมโซม Y เกินจากปกติ (ซูเปอร์แมน) มีผลต่อลักษณะของร่ างกาย ที่เกี่ยวข้องกับเพศจิตใจ และ พฤติกรรม 3.การถ่ายทอดยีนหรื อหน่วยพันธุกรรมที่ผดปกติโดยยีนด้อยที่ ิ อยู่บนโครโมโซม X ทาให้เกิ ดอาการหรื อโรค เช่ น ตาบอดสี ทาลัสซี เมีย
  • 6. โรค/ความผิดปกติ สาเหตุของความผิดปกติ ลักษณะ/อาการของผูป่วย ้ อาการดาวน์ซนโดรม ิ Down syndrome โครโมโซมคูท่ี 21 เกินมา 1 แท่ง ่ หางตาชีขน ลินจุกปาก ศรีษะแบน ดัง ้ ้ึ ้ ้ ั จมูกแบน ปญญาอ่อน พบบ่อยในแม่ ตังครรภ์ตอนอายุมาก ้ อาการคริดชาต์หรือแคทครายซินโดรม ู Cri-du-chat/cat cry syndrome โครโมโวมคูท่ี 5 หายไปบางส่วน ่ ศรีษะเล็กกว่าปกติ หน้ากลม ใบหูต่ากว่า ปกติตาห่างกัน หางตาชีขน ดังจมูกแบน ้ ้ึ ้ คางเล็ก นิ้วมือสัน ร้องเสียงเหมือนแมว ้ ั ปญญาอ่อน
  • 7. โรค/ความผิดปกติ สาเหตุของความผิดปกติ ลักษณะ/อาการของผูป่วย ้ อาการเอ็ดเวิรดซินโดรม ์ Edwards syndrome โครโมโซมคูท่ี 18 เกินมา 1 แท่ง ่ ั ปญญาอ่อน หูแหลม ปากแคบ ใบหูเล็ก ผิดปกติ หัวใจผิดปกติ ข้อมือและข้อเท้า บิด อาการคริพาทัวซินโดรม Patau syndrome โครโมโซมคูท่ี 13 เกินมา 1 แท่ง ่ ั ปญญาอ่อน ตาเล็ก ศรีษะเล็ก ปากแหว่ง เพดานโหว่ มีน้ิวเกิน หัวใจรัว อวัยวะ ่ ภายในพิการ มักเสียชีวตตังแต่แรกเกิด ิ ้
  • 8.  1. โครโมโซมเพศเป็ น XXY เป็ นเพศชายมีเต้านมโตคล้ายเพศหญิง อวัยวะเพศเล็ก ไม่สร้างเชื้ออสุ จิ จึง เป็ นหมัน 44 + XXY = 47 โครโมโซม  2. โครโมโซมเพศเป็ น XYY เป็ นเพศชายที่รูปร่ างสูงใหญ่กว่าปกติ อารมณ์ร้าย โมโหง่าย บางรายเป็ น หมัน 44 + XYY = 47 โครโมโซม อาจเรี ยกว่า ผูป่วยที่เป็ นซูเปอร์แมน ้  3. โครโมโซมเพศเป็ น XXX เป็ นเพศหญิงที่มีลกษณะทัวไปดูปกติ แต่มีระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ ั ่ 44 + XXX = 47 โครโมโซม
  • 9.  4. โครโมโซมเพศเป็ น XO เป็ นเพศหญิงรู ปร่ างเตี้ย เป็ นหมัน เพราะอวัยวะเพศมีขนาดเล็ก รังไข่ฝ่อ ผลิตไข่ไม่ได้ 44 + XO = 45  5. โครโมโซม X มีขนาดใหญ่ มียนจานวนมาก ซึ่งมีท้ งยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศและไม่เกี่ยวเนื่องกับเพศ ี ั  6. โครโมโซม Y มีขนาดเล็ก มียนอยูจานวนน้อยกว่า ส่ วนใหญ่เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย เช่น ี ่ ลักษณะที่มีขนตามบริ เวณใบหู
  • 10.
  • 11. โรคทางพันธุกรรมทีถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศ ่  โรคทาลัสซีเมีย เกิดจากการสร้างฮีโมโกลบินลดน้อยลง เซลล์เม็ดเลือด แดงผิดปกติ แตกหักง่าย ทาให้เกิดภาวะเลือดจางเรื้ อรัง ซีด  โรคโลหิ ตจางจากเม็ดเลือดรู ปเคียว เซลล์เม็ดเลือดแดงมีลกษณะผิดปกติ ั เป็ นรู ปเคียว ไม่สามารถลาเลียงออกซิเจนได้เท่ากับเม็ดเลือกแดงปกติ ทา ให้ขาดออกซิเจน  ผิวเผือก เกิดจากการขาดเอมไซด์ที่ใช้สงเคราะห์เม็ดสี เมลานิ นในเซลล์ใต้ ั ผิวหนัง ทาให้ผวหนัง เส้นผม นัยน์ตา เป็ นสี ขาว ิ
  • 12. โรคทางพันธุกรรมทีถ่ายทอดทางโครโมโซมเพศ ่  มิวเทชัน คือ ความผิดปกติที่เกิดกับหน่วยพันธุกรรมหรื อยีน ทาให้หน่วย พันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม สาเหตุที่ทาให้เกิดมิวเทชันคือการได้รับรังสี บางชนิด เช่น รังสี เอกซ์ (X-Ray) รังสี ยวี หรื อสารเคมีบางชนิด ู
  • 13.  1. หลีกเลียงการแต่ งงานระหว่ างเครือญาติ ่  2. หลีกเลียงการอยู่ในสิ่ งแวดล้ อมทีอาจทาให้ ได้ รับสารเคมี ่ ่ ทีเ่ ป็ นพิษเข้ าสู่ ร่างกาย  3. หากพบความผิดปกติเล็กน้ อยควรรีบไปตรวจรักษา  4. ผู้ทต้งครรภ์ ควรฝากครรภ์ ไว้ กบแพทย์ ี่ ั ั
  • 14. หมู่โลหิตระบบ ABO การค้ น พบหมู่ โ ลหิ ต ระบบนี้ เ ริ่ ม ในปี คศ.1900 โดยคาร์ ล แลนด์ สไตเนอร์ ได้ ทดลอง เจาะโลหิตของผู้ร่วมงานจานวน 6 คน แล้ วนามา แยก เม็ ด โลหิ ต แดง และน้ า เหลื อ งออกจากกั น ต่ อจากนั้นได้ นาเม็ดโลหิตแดงและน้าเหลืองของ แต่ ละคนมาทาปฏิกิริยาสลับกันไปมา ปรากฏว่ า บางคู่ เกิดปฏิกิริยา จับกลุ่ม บางคู่ ก็กลืนเป็ นเนื้อ เดียวกัน จากปรากฏการณ์ นี้ต่อมาในปี คศ.1901 คาร์ ลแลนด์ สไตเนอร์ จึ ง สรุ ป ผลการทดลอง ค้ นคว้ าว่ าโลหิตแบ่ งออกเป็ น 3 หมู่ คือ A,B และ O สาหรั บหมู่ที่ 4 คือ AB พบโดย วอนเคอ คาสติโล และสเตอลิ ในปี คศ. 1902
  • 15. การจาแนกหมู่โลหิ ตในระบบ ABO จะมี สารชี วเคมี (Antigen) เป็ นตัวจาแนกหมู่โลหิ ต คือ แอนติเจน A(Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) เป็ นตัวกาหนดกล่าวคือ ่ หมู่โลหิ ต A คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-เอ (Antigen-A) อยูที่ ผิวของเม็ดเลือดแดงและมีแอนติบอดี -บี (Antibody-B) อยู่ใน น้ าเหลือง
  • 16. หมู่โลหิ ต B คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-บี (Antigen่ B) อยูที่ผิวของเม็ดเลือดแดงและมีแอนติบอดี-เอ (Antibody่ A) อยูในน้ าเหลือง
  • 17. หมู่โลหิ ต O คือหมู่โลหิ ตที่ ไม่มีแอนติ เจน-เอ ่ (Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยูที่ผิวของ เม็ ด เลื อ ดแดง แต่ มี แ อนติ บ อดี -เอ(Antibody-A) และมี ่ แอนติบอดี-บี (Antibody-B) อยูในน้ าเหลือง
  • 18. หมู่โลหิ ต AB คือหมู่โลหิ ตที่มีแอนติเจน-เอ ่ (Antigen-A) และแอนติเจน-บี (Antigen-B) อยูที่ผิวของเม็ด เลือดแดง แต่ในน้ าเหลือง ไม่มีแอนติบอดี-เอ(Antibody-A) และแอนติบอดี-บี (Antibody-B)