SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
Download to read offline
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
ลักษณะสิงมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์
• สัตว์เป็ นสิงมีชีวิตกลุมยูคาริโอต หลายเซลล์
                         ่
• เซลล์ยึดติดกันด้วยโปรตีนคอลลาเจน
• เรียนรูและตอบสนองต่อสิงเร้า
           ้
• เคลือนไหวโดยการทางานของเนือเยือประสาทและกล้ามเนือ
• เป็ นผูบริโภค
         ้
ความหลากหลายของสิงมีชีวิตอาณาจักรสัตว์
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
1. เนือเยือ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มคือ
   1.1 กลุ่มทีไม่มีเนื อเยือทีแท้จริงได้แก่ ฟองนํา
   1.2 กลุ่มทีมีเนื อเยือทีแท้จริง มี 2 ประเภทคือ
1.2.1 เนื อเยือ 2 ชัน (Diploblastica) ประกอบด้วยเนื อเยือชันนอก
   (Ectoderm) และเนื อเยือชันใน (Endoderm) ได้แก่ พวก
   ไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย
1.2.2 เนื อเยือ 3 ชัน (Triploblastica) ประกอบด้วยเนื อเยือชันนอก
   ชันกลาง (Mesoderm) และชันใน ได้แก่พวกหนอนตัวแบนขึนไป
   จนถึงสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
2. สมมาตร (Symmetry) แบ่งเป็ น
 1. สมมาตรแบบรัศมี (Radial Symmetry) เช่น สัตว์พวกไฮดรา และ
 แมงกะพรุน
 2. สมมาตรแบบด้านข้างหรือผ่าซีก (Bilateral symmetry) เช่น กุง
                                                            ้
 แมลง ปลา คน
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
 3. การเปลียนแปลงของบลาสโทพอร์ พบเฉพาะสัตว์ทีมีสมมาตรแบบด้านข้าง
   มี 2 แบบ คือ
- โพรโทสโทเมีย (Protostomia )พวกทีบลาสโทพอร์เปลียนเป็ นช่องปาก
- ดิวเทอโรสโทเมีย (Deuterostomia) พวกทีบลาสโทพอร์เปลียนเป็ นทวาร
   หนัก




       การเปลียนแปลงของบลาสโทพอร์ ก. โพรโทสเมีย ข. ดิวเทอโรสเมีย
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
4. การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน พบในสัตว์กลุ่มทีมีช่องปากแบบโพ
  รโทสโทเมียซึงแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทีมีระยะตัวอ่อนแบบ
  - โทรโคฟอร์ (Trochophore) พบในสัตว์พวกหนอนตัวแบน
  ไส้เดือน ดิน ปลิง หอย และหมึก เป็ นต้น และ
  - เอคไดโซซัว(Ecdysozoa ) เป็ นกลุ่มทีมีการลอกคราบขณะ
  เจริญเติบโต ซึงพบในหนอนตัวกลมและสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา




                    ระยะตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
5. ทางเดินอาหาร (Digestive tract)                    ทางเดินอาหารของสัตว์แบ่ง
   ออกเป็ น 3 แบบ คือ
        1 ทางเดินอาหารแบบช่องร่างแห (Channel network) เป็ นทางเดิน
   อาหารทีไม่ใช่ทางเดินอาหารทีแท้จริง แต่เป็ นเพียงทางผ่านของนําจากภายนอก
   เข้าสู่ภายในลําตัวเท่านันได้แก่ ทางเดินอาหารของฟองนํา
       2 ทางเดินอาหารแบบปากถุง (One-hole sac) เป็ นทางเดินอาหารทีมี
   ช่องเปิ ดทางเดียว ได้แก่ทางเดินอาหารของซีเลนเตอเรท และหนอนตัวแบน
       3 ทางเดิ นอาหารแบบท่ อกลวง (Two-hole tube) เป็ นทางเดิ น
   อาหารทีมีช่องเปิ ด 2 ช่อง โดยช่องหนึ งทําหนําทีเป็ นทางเข้าของอาหารและอีก
   ช่องหนึ งทําหนํ าทีเป็ นทางออกของกากอาหาร ได้แก่ทางเดินอาหารของพวก
   หนอนตัวกลมขึนไปจนถึงสัตว์พวกมีกระดูกสันหลังทุกชนิ ด
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
6. ช่องตัว (coelom) แบ่งออกเป็ น 3 แบบ คือ
   1. สัตว์ทีไม่มีช่องตัว (Acoelomate animal) ได้แก่พวก
  หนอนตัวแบน
   2. สัตว์ทีมีช่องตัวแบบเที ยม (Pseudocoelomate animal)
  สัตว์กลุ่มนี มีช่องตัวที อยู่ระหว่างเนื อเยือชันกลางกับเนื อเยือชันนอก
  หรือเนื อเยือชันใน ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม
   3. สัตว์ทีมีช่องตัวแบบแท้ (Eucoelomate animal) สัตว์กลุ่ม
  นี มี ช่ อ งตั ว อยู่ ภ ายในเนื อ เยื อชั นกลาง ได้แ ก่ ไส้เ ดื อ น กุ ้ง แมลง
  ตลอดไปจนถึงสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์
7. การแบ่งเป็ นปล้อง (Segmentation) แบ่งออกเป็ น
         1 การแบ่งเป็ นปล้องเฉพาะภายนอก (Superficial Segmentation
   เช่น พวกพยาธิตวตืด  ั
         2 การแบ่ ง เป็ นปล้อ งที แท้จ ริ ง (Metameric Segmentation)
   เป็ นการเกิดปล้องขึนตลอดลําตัวทังภายนอกและภายใน โดยข้อปล้อง
   เกิดขึนที เนื อเยือชันกลาง ทําให้เนื อเยือชันอืนๆเกิดเป็ นปล้องไปด้วย
   เช่น ไส้เดือน กุ ง ปู แมลงตลอดไปจนถึงพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังทุ ก
                     ้
   ชนิ ด
• ภาพแสดงการจัดสิงมีชีวิตใน Kingdom metazoa (Kingdom Animalia)
กลุ่มทีไม่มีเนือเยือแท้จริง : Phylum Porifera
• มีโครงสร้างร่างกายไม่ซบซ้อน
                           ั
•ลําตัวมีช่องให้นําเข้าขนาดเล็ก
•ช่องนําออกขนาดใหญ่
•ตัวเต็มวัยมักเกาะอยูกบที
                       ่ ั
•มีโครงร่างค้าจุนแทรกอยูในตัวฟองนํา เรียก สปิ คุล
                             ่
•ตัวอย่าง ฟองนําแก้ว ฟองนําหินปูน ฟองนําถูตว ฟองนํารูปแจกัน
                                                 ั
ภาพ สปิ คุลแบบต่าง ๆ
ภาพ ฟองนํารูปแจกัน               ภาพ กระเช้าดอกไม้ของวีนัส




                     ภาพ ฟองนําถูตว
                                  ั
ภาพ ฟองนํารูปแจกัน               ภาพ กระเช้าดอกไม้ของวีนัส




                     ภาพ ฟองนําถูตว
                                  ั
กลุ่มทีมีเนือเยือแท้จริง : แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม
ก. กลุ่มทีมีสมมาตรแบบรัศมี
Phylum Cnidaria
• มีเนื อเยือ 2 ชัน
• ส่วนใหญ่อาศัยอยูในนําเค็ม
                    ่
• มีรปร่าง 2 แบบ คือ แบบโพลิบ (polyp) และ เมดูซา (medusa)
      ู
• ใช้เทนทาเคิลล่าเหยือ
• มีไนโดไซต์ (cnidocyte) ใช้จบเหยือ หรือปองกันตัว
                               ั         ้
• ตัวอย่าง แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปั งหา ต่อทะเล
Phylum Cnidaria




  ภาพ ซ้าย Polyp ขวา Medusa
Phylum Cnidaria




    ภาพ ลักษณะของไนโดไซด์
Phylum Cnidaria




   ภาพ การจับเหยือด้วยการยิงเข็มพิษ
Phylum Cnidaria




    ภาพ วงจรชีวิตของแมงกระพรุน
Phylum Cnidaria




ภาพ ไฮดรา


                        ภาพ ต่อทะล
Phylum Cnidaria




        ภาพ แมงกะพรุนจาน




   ภาพ กัลปั งหา ปากกาทะเล ปะการัง
Phylum Ctenophora : หวีวุน
                         ้
- เคลือนทีโดยอาศัยการพัดโบกของชิเลีย (cilia)
- มีเทนตาเคิล 2 เส้น
- รอบตัวแบ่งเป็ น 8 ส่วน โดยมีแถบชิเลียยาว 8 แถว มีลกษณะคล้ายชีหวี
                                                    ั
- เทนทาเคิลไม่มเข็มพิษ สืบพันธุแบบไม่แยกเพศ
                 ี             ์
ภาพ หวีวุนชนิ ดต่าง ๆ
         ้
กลุ่มทีมีเนือเยือแท้จริง : แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม
ข. กลุ่มทีมีสมมาตรด้านข้าง
   แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มโพรโทสเมียและกลุ่มดิวเทอโรสโทเมีย
1. กลุ่มโพรโทสเมีย คือ กลุ่มทีมีตวอ่อนแบบโทรโคฟอร์และกลุ่มทีมี
                                 ั
  ตัวอ่อนแบบลอกคราบ ได้แก่
  Phylum Platyhelminthes
   Phylum Mollusca
   Phylum Annelida
Phylum Platyhelminthes
• มีลาตัวแบนจึงเรียกหนอนตัวแบน
     ํ
• มีขนาดแตกต่างกัน บางชนิ ดมีขนาดเล็กไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตา
                                                         ้
  เปล่า บางขนิ ดมีขนาดใหญ่
• มีเนื อเยือ 3 ชัน
• มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
• ไม่มีช่องตัว (noncoelom)
• การดํารงชีวิตแบบอิสระและปรสิต
• ตัวอย่าง พลานาเรีย พยาธิใบไม้ พยาธิตวตืด
                                       ั

-
Phylum Platyhelminthes




   ภาพ หนอนตัวแบน ก. ภาพถ่ายแสดงทางเดินอาหาร ข. ภาพวาดภาคตัดขวางลําตัว
Phylum Platyhelminthes




     ภาพ หนอนตัวแบน ซ้ายดํารงชีวิตแบบอิสระ ขวาดํารงชีวิตแบบปรสิต
Phylum Platyhelminthes




            ภาพ พยาธิตวตืด
                      ั




               ภาพ พลานาเรีย
Phylum Mollusca
•เป็ นสัตว์ทีมีลาตัวนิ ม
                ํ
• สร้างเปลือกแข็งทีมีสารประกอบแคลเซียมหุมตัว้
• มีแมนเทิลสร้างเปลือกหุมตัว
                         ้
• แลกเปลียนแก๊สโดยใช้เหงือก
•มีทวารหนักและรูขบถ่าย
                     ั
•การดํารงชีวิต บางชนิ ดกินพืช บางชนิ ดเป็ นผูล่า กินแพลงก์ตอน
                                              ้
•ตัวอย่าง หอย และหมึก



-
Phylum Mollusca




   ภาพ หมึกยักษ์และหอยมือเสือ




                                ภาพ หอยฝาชีโบราณ
Phylum Mollusca




           ภาพ หอยงาช้างและหอยงวงช้าง
Phylum Annelida
•ลักษณะลําตัวแบ่งเป็ นปล้องเห็นได้ชด ภายในมีเยือกัน
                                   ั
•มีเนฟฟริเดีย เป็ นอวัยวะขับถ่าย
•มีสองเพศในตัวเดียวกัน
•มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิ ด
 ตัวอย่าง ไส้เดือนดิน ปลิงนําจืด ทากดูดเลือด



-
Phylum Annelida




ภาพ ลักษณะของสัตว์ในไฟลัมแอนเนลิดา ก. ภาพวาดโครงสร้างภายใน ข. ภาพถ่ายไส้เดือนดิน
Phylum Annelida




           ภาพ ปลิงนําจืด และ ทากดูดเลือด
2. กลุ่มโพรโทสเมีย และตัวอ่อนมีแบบลอกคราบ ได้แก่
   Phylum Nematoda
   Phylum Arthropoda ประกอบด้วยคลาสดังนี
  - Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล
  - Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร
  - Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ
  - Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ
  - Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ
  - Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู
                             ้
Phylum Nematoda
•เป็ นสัตว์ทีมีรปทรงกระบอก
                 ู
•เป็ นสัตว์ไม่มีปล้องบริเวณลาตัว จึงเรียกหนอนตัวกลม
•มีคิวทิเคิลหุมร่างกายทาให้มีการลอกคราบในระหว่างการเจริญเติบโต
               ้
•มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
•ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด
•มีช่องตัวเทียม (pseudocoelom)
•ตัวอย่าง พยาธิชนิดต่างๆ



-
Phylum Nematoda




          ภาพ ลักษณะของหนอนตัวกลม
Phylum Nematoda




          ภาพ พยาธิแส้มาและพยาธิปากขอ
                       ้




       ภาพ โรคเท้าช้าง
Phylum Arthropoda
•มีลาตัวเป็ นปล้อง
     ํ
• มีรยางค์เป็ นข้อต่อกัน
• รยางค์เป็ นลักษณะทีปรับเปลียนไปทําหน้าที เช่นใช้เดิน จับเหยือ รั
  บความรูสึก ผสมพันธุและและปองกันอันตราย
            ้            ์     ้
•มีโครงสร้างภายนอกเป็ นเปลือกแข็งประกอบด้วย ไคทิน
•มีการลอกคราบในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย
•มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิ ด
•สืบพันธุแบบอาศัยเพศ
         ์
Phylum Arthropoda
สัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดาทีพบในปั จจุบน
                                    ั
   - Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล
   - Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร
   - Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ
   - Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ
   - Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ
   - Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู
                                 ้
-
Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล
- มีลาตัวแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนอกรวมกันและส่วนท้อง
     ํ
- มีรยางค์ค่แรกทําหน้าทีในการกินอาหาร
             ู
- มีขาเดิน 5 คู่ ปลายขาคู่สุดท้ายมีลกษณะเป็ นแผ่นซ้อนกันใช้ขุดทราย
                                    ั
  เวลาฝั งตัว
Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร
- มีส่วนหัวและส่วนอกรวมกัน มีรยางค์ 6 คู่ โดยรยางค์คู่ที1 และคู่ที 2
  ใช้จบอาหารและรับความรูสึกและมีขาเดินอีก 4 คู่
       ั                 ้
- ในบริเวณปล้องส่วนท้ายของแมงมุมจะมีอวัยวะชักใย ขณะทีในแมงป่ อง
  จะปรับเปลียนไปสําหรับใช้ล่าเหยือและปองกันตัว
                                      ้
Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ
 -ลําตัวมีรยางค์ปล้องละ 2 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่
 - อาศัยอยูตามพืนดินใต้กองใบไม้กินซากใบไม้และซากสัตว์ทีเน่ าเปื อย
            ่
 ในดินเป็ นอาหาร
Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ ตะขาบฝอย
 - ลําตัวแบนมีรยางค์ปล้องละ 1 คู่
 - บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่ ปล้องแรกของลําตัวมีเขียวพิษ 1 คู่ แนบกับ
 ส่วนหัวจะปล่อยพิษทําให้เหยือเป็ นอัมพาตจึงจับกินได้ง่ายหรือใช้ปองกัน
                                                                ้
 ตัวเอง
Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ
 แมลงมีลาตัวแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนนอกและส่วนท้อง มี
        ํ
 หนวด 1 คู่ มีขา 3 คู่ อยูบริเวณส่วนอกบางชนิ ดอาจมีปีก 1-2 คู่
                          ่




             ภาพ โครงสร้างของแมลง
Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู
                         ้
- ส่วนใหญ่คงอาศัยอยูในทะเลหรือแหล่งนําจืดสัตว์
                      ่
- กลุ่มนี มีรยางค์จานวนมากทําหน้าทีพิเศษหลายอย่าง เช่น ใช้เดิน ว่ายนํา
                   ํ
  หรือเปลียนแปลงเป็ นหนวดและส่วนประกอบของปาก
- มีหนวด 2 คู่
- มีขาเดินและมีรยางค์ทีส่วนท้องสําหรับว่ายนําหรือปรับเปลียนไปทําหน้าที
  เฉพาะ เช่น แลกเปลียนแก๊ส เป็ นทีเกาะของไข่ เป็ นต้น




                             ภาพ กุง กัง ปู
                                   ้
2. กลุ่มดิวเทอโรสโทเมีย ประกอบด้วย
 Phylum Echinodermata
 Phylum Chordata
Phylum Echinodermata
•เป็ นสัตว์ทีมี 5 แฉก
•มีโครงร่างแข็งภายใน
•ผิวลําตัวมีหนามยืนออกมา
•มีระบบท่อลาเลียงนํา
•มีทิวบ์ฟีท เป็ นโครงสร้างในการเคลือนที
•ตัวอย่าง ปลิงทะเล ดาวทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก
  ดาวมงกุฏหนาม

-
Phylum Echinodermata




   ภาพ ก.ข. ดาวขนนก ค.ดาวทะเล ง. ดาวแสงพระอาทิตย์ จ. เม่นทะเล ฉ. ปลิงทะเล
Phylum Chordata
 • มีโนโทคอร์ด
 • มีท่อประสาทกลวงทีด้านหลัง
 • มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย
 • มีหาง
 • ไฟลัมคอร์ดาตาแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง
 และสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
Phylum Chordata :สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง
 1. ยูโรคอร์เดต (Urochordate) เป็ นสัตว์ทีมีถุงหุมตัว ้
 ประกอบด้วยสารคล้ายเซลลูโลส ตัวเต็มวัยไม่มีโนโทคอร์ด ไม่มี
 เส้นประสาทขนาดใหญ่บริเวณหลังและหางจะหดหายไปในระยะตัวเต็ม
 วัย ตัวอย่างเช่น เพรียงหัวหอม เป็ นต้น
Phylum Chordata :สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง
2. เซฟาโลคอร์เดต (Cephalochordate) เป็ นสัตว์ทีระยะตัวเต็ม
 วัยมีท่อประสาทขนาดใหญ่ทีบริเวณหลัง มีโนโทคอร์ดยาวตลอดชีวิต มี
 ช่องเหงือกทีคอหอยและมีหางตัวอย่างของสัตว์กลุ่มนี ได้แก่ แอมฟิ ออก
 ซัส ซึงเป็ นสัตว์ขนาดเล็กอาศัยอยูในบริเวณทีตืนชายฝั งทะเล
                                  ่
Phylum Chordata :สัตว์ทีมีกระดูกสันหลังทีไม่มี
 ขากรรไกร
 ได้แก่ ปลาไม่มีขากรรไกรส่วนใหญ่จะสูญพันธุไปแล้ว ปลาไม่มีขากรรไกรที
                                          ์
 พบในปั จจุบนคือ ปลาปากกลม ซึงได้แก่ แฮกฟิ ช (hagfish) เป็ นปรสิต
            ั
 ภายนอกของปลาหลายชนิ ด และ
      แลมเพรย์ (lamprey) ซึงมีรปร่างคล้ายปลาไหล มีโครงร่างเป็ น
                                    ู
 กระดูกอ่อนและไม่มีครีบคู่เหมืนปลาทัวไป
ภาพ ลักษณะร่างกายและปากของ Hagfish




ภาพ การจับเหยือของ Lamprey และปากของ Lamprey
Phylum Chordata :สัตว์ทีมีกระดูกสันหลังทีมีขากรรไกร
• Class Chondrichthyes ได้แก่ปลากระดูกอ่อน
• Class Osteicthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง
• Class Amphibia ได้แก่ กบ อึงอ่าง คางคก
• Class Reptilia ได้แก่ จิงจก จระเข้ เต่า ตะพาบน้า
• Class Aves ได้แก่ นกชนิ ดต่างๆ
• Class Mammalia ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด จิงโจ้ กระต่าง ลิง คน
Phylum Chordata :Class Chondrichthyes
   ได้แก่ปลากระดูกอ่อน
• มีการแลกเปลียนแก๊สโดยใช้เหงือก ไม่มีแผ่นปิ ดเหงือก
• มีการปฏิสนธิภายในและออกลูกเป็ นตัว
• มีฝันแหลมคม
• มีเกล็ดคมปกคลุมผิวหนัง
• เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน
Phylum Chordata :Class Chondrichthyes
 ได้แก่ปลากระดูกอ่อน
Phylum Chordata : Class Osteicthyes ได้แก่
  ปลากระดูกแข็ง
• มีโครงร่างภายในเป็ นกระดูกแข็ง
• ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม
• มีครีบ 2 คู่ คือครีบอก และครีบสะโพก
• หายใจโดยเหงือกมีแผ่นปิ ดเหงือก




               ภาพ ปลาปอดออสเตรีย และปลาปอดแอฟริกา
Phylum Chordata : Class Amphibia ได้แก่ กบ
    อึงอ่าง คางคก งูดิน
•   มีผิวหนังเปี ยกชืน ทาหน้าทีแลกเปลียนแก๊ส
•   ไม่มีเกล็ดปกคลุม
•   มีการปฏิสนธิภายนอก
•   ตัวอ่อนอาศัยในน้าหายใจด้วยเหงือก
•   ตัวเต็มวัยอาศัยบนบกใช้ปอดในการหายใจ




                              ภาพ ก. ซาลามานเดอร์ ข. คางคก ค. งูดิน
Phylum Chordata: Class Reptilia ได้แก่ จิงจก
  จระเข้ เต่า ตะพาบนํา
• มีผิวหนังปกคลุมด้วยสารเคราทิน (keratin) เพือปองกันการสูญเสีย
                                               ้
   นําออกจากร่างกาย
• มีการหายใจโดยใช้ปอด
• มีการปฏิสนธิภายในร่างกายเพศเมีย
• สร้างเปลืกห่อหุมไข่
                 ้
• วางไข่นอกร่างกายเพศเมีย
Phylum Chordata: Class Reptilia ได้แก่ จิงจก
  จระเข้ เต่า ตะพาบนํา




ภาพ (บนซ้าย) เต่าแก้มแดง (บนขวา) ทัวทารา (ล่างซ้าย) มังกรโคโมโด (ล่างขวา) งูอนาคอนดา
Phylum Chordata: Class Aves ได้แก่ นกชนิด
  ต่างๆ
• นกเป็ นสัตว์เลือดอุ่น
• มีการปรับรูปร่างเพือช่วยในการบินโดยกระดูกมีรพรุนทําให้มีนาหนักเบา
                                              ู            ้
• ปรับอวัยวะทีไม่จาเป็ นให้มีขนาดเล็ก
• มีการปฏิสนธิภายและออกลูกเป็ นไข่
Phylum Chordata :Class Mammalia ได้แก่ ตุน                  ่
   ปากเป็ ด จิงโจ้
                                        กระต่าง ลิง คน
• เพศเมียของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมมีต่อมน้านมทาหน้าทีผลิตนม
   สําหรับเลียงลูกอ่อน
• มีขนปกคลุมลําตัว
• มีอุณหภูมิร่างกายค่อนข้างคงที
• ตัวอ่อนเจริญอยูในมดลูก
                   ่
• ได้รบสารอาหารจากแม่ผ่านทางรกทีเชือมระหว่างตัวอ่อนกับแม่
      ั
Phylum Chordata :Class Mammalia
สัตว์เลียงลูกด้วยน้านม แบ่งเป็ น 3 กลุ่มคือ
1. กลุ่มมอโนทรีม (Monotremes) ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด ตัวกินมด
2. กลุ่มมาร์ซเรียล (Marsupials) ได้แก่ โอพอสซัม จิงโจ้ โคอาลา
               ู
3. กลุ่มยูเทเรียน (Eutherians) ได้แก่ ลิง คน
Phylum Chordata :Class Mammalia
1. กลุ่มมอโนทรีม (Monotremes) ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด ตัวกินมด
• ออกลูกเป็ นไข่ แต่มีขน
• มีต่อมนํานม ออกจากไข่แล้วเลียนํานมบริเวณหน้าท้องของแม่กิน
• ตัวกินมดมีหนามทีมีขนแข็งคล้ายเม่น
• พบเฉพาะในประเทศออสเตรเลีย และนิ วกีนี
ภาพ (ซ้าย) ตัวกินมด Echidna (ขวา) ตุ่นปากเป็ ด
Phylum Chordata :Class Mammalia
2. กลุ่มมาร์ซเรียล (Marsupials) ได้แก่ โอพอสซัม จิงโจ้ โคอาลา
              ู
• ตังท้องระยะเวลาสัน ทําให้ลกอ่อนทีคลอดออกมามีขนาดเล็กคลานเข้าไป
                             ู
  อยูหน้าท้องของแม่
     ่
• ลูกอยูในถุ งหน้าท้องจนกว่าจะเจริญเติบโตเต็มที
        ่
ภาพ (บนซ้าย) โอพอสซัม (บนขวา) จิงโจ้ (ล่าง) โคอาลา
Phylum Chordata :Class Mammalia
3. กลุ่มยูเทเรียน (Eutherians) ได้แก่ ลิง คน
• เป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนมทีมีรก
• มีระยะเวลาในการตังท้องนาน
• ตัวอ่อนมีการเจริญเติบโตทีสมบูรณ์ภายในมดลูกของแม่
• ได้รบสารอาหารผ่านทางรก
       ั
ภาพ (ซ้าย) ซิมแพนซี (ขวา) นางอาย
ไพรเมต (primate)
 • อาศัยอยูบนต้นไม้เป็ นส่วนใหญ่ เช่น ลิงลม กระแต ลิง ชะนี อุรงอุตง
             ่                                                ั ั
   ชิมแปนซีและมนุ ษย์
• สัตว์กลุ่มนี มีมือและเท้าสําหรับยึดเกาะ
• มีสมองขนาดใหญ่ มีขากรรไกรสันทําให้ใบหน้าแบน
• มีตาทีใช้มองไปข้างหน้า มีเล็บแบนทังนิ วมือและนิ วเท้า
• มีพฤติกรรมในการเลียงลูกอ่อนและพฤติกรรมทางสังคมทีซับซ้อนขึน
• สัตว์กลุ่มไพรเมตมีวิวฒนาการแบ่งออกเป็ น 2 สาย คือ
                        ั
   โพรซิเมียน (Prosimian) และ แอนโทร
   พอยด์ (Anthropoid)
ภาพ (ซ้าย) ซิมแพนซี (ขวา) นางอาย
ไพรเมต (primate) : โพรซิเมียน (Prosimian)
- เป็ นสัตว์กลุ่มไพรเมตรระยะแรกเริมทีอาศัยอยูบนต้นไม้
                                             ่
- ได้แก่ ลิงลมหรือนางอายและลิงทาร์ซิเออร์ พบอยูในเขตร้อนแถบแอฟริกา
                                               ่
   และเอเชียใต้




                   ภาพ (ซ้าย) ลิงลม (ขวา) ลิงทาร์ซิเออร์
ไพรเมต (primate) :แอนโทรพอยด์ (Anthropoid)
แอนโทรพอยด์ ได้แก่ ลิงมีหาง ลิงไม่มีหาง และมนุ ษย์
ลิงมีหาง ได้ แก่ ลิงโลกเก่าและลิงโลกใหม่
- มีวิวฒนาการเกิดขึนเมือประมาณ 45 ล้านปี ทีผ่านมา
       ั
- ลิงโลกใหม่ทุกชนิ ดยังคงอาศัยอยูบนต้นไม้ พบเฉพาะทวีปอเมริกาใต้
                                    ่
- ลิงโลกใหม่มีแขนขายาวใช้ประโยชน์ในการปี นป่ ายและห้อยโหน
- ลิงโลกเก่ามีกนเป็ นแผ่นหนังหนา เกลียง
                  ้
- ลิงทังสองกลุ่มเป็ นสัตว์ทีหากินในเวลากลางวันอยูรวมกันเป็ นฝูงมีการ
                                                 ่
   ควบคุมกันโดยใช้พฤติกรรมทางสังคม
ภาพ ลิงมีหาง ก. ลิงโลกใหม่ ข. ลิงโลกเก่า
ลิงไม่มีหาง ได้ แก่ ชะนี อุรังอุตง กอริ ลลา และชิมแปนซี
                                 ั
- มีวิวฒนาการมาจากลิงโลกเก่าเมือประมาณ 25-30 ล้านปี ทีผ่านมา
         ั
- มีแขนยาว แต่ขาสันและไม่มีหาง สามารถห้อยโหนไปมาได้
- มีพฒนาการทางสมองมีรอยหยักคล้ายคน
       ั
- มีการสือสารระหว่างกลุ่ม มีการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมดี มีการอยู่
   รวมกันเป็ นครอบครัว มีจ่าฝูงเป็ นผูนําเป็ นสัตว์หากินเวลากลางวันและมัก
                                         ้
   สร้างทีอยูอย่างง่ายๆ
             ่
ภาพ ลิงไม่มหาง : ชะนี อุรงอุตง
           ี             ั ั




                                 ภาพ ลิงไม่มหาง :กอริลลา และชิมแปนซี
                                            ี
วิวฒนาการของมนุ ษย์
   ั
- เมือประมาณ 20 ล้านปี ทีผ่านมา เกิดการเปลียนแปลงของสภาพแวดล้อมโดยมีทุ่ง
  หญ้าขึนมาทดแทนป่ าทีอุดมสมบูรณ์ ทําให้สิงมีชีวิตหลายชนิ ด มีวิวฒนาการมา
                                                                 ั
  ดํารงชีวิตบนพืนดินมากขึน
- จากหลักฐานซากดึกดําบรรพ์และการเปรียบเทียบลําดับเบสบน DNA ระหว่าง
  มนุ ษย์และชิมแปนซี พบว่ามนุ ษย์แยกสายวิวฒนาการจากลิงไม่มีหางเมือประมาณ
                                          ั
   7-5 ล้านปี ทีผ่านมา
วิวฒนาการของมนุ ษย์
     ั




ภาพ วิวฒนาการของมนุ ษย์
       ั
ออสทราโลพิเทคัส(Australopithecus)
• กําเนิ ดขึนเมือประมาณ 4.3 ล้านปี ทีผ่านมาและได้สญพันธุไปกว่า 2 ล้านปี
                                                    ู     ์
• นักบรรพชีวนได้คนพบซากดึกดําบรรพ์ทีประเทศเอธิโอเปี ยและเรียกซากดึก
              ิ      ้
  ดําบรรพ์ทีค้นพบนันว่า ลูซี (Lucy) หรือAustralopithecus
  afarensis
• เป็ นซากดึกดําบรรพ์ทีมีขนาดเล็กสูงประมาณ 1 เมตร มีอายุประมาณ 3.8-
  3.0 ล้านปี มีลกษณะผสมผสานระหว่างลักษณะของมนุ ษย์และลิงไม่มีหาง
                 ั
• หลักฐานบ่งชีวา A. afarensis มีการเดิน 2 ขา มีแขนยาว ซึงเหมาะสมใน
                   ่
  การเคลือนทีได้ดีทงบนพืนดิน และบนต้นไม้
                       ั
• ลําตัวสูงประมาณ 1-1.5 เมตร สมองมีความจุประมาณ 400-500 ลูกบาศก์
  เซนติเมตร มีฟันทีปรับเปลียนมาเพือการกินอาหารได้หลายแบบ รูจกใช้
                                                               ้ั
  เครืองมือแต่อาจสร้างเครืองมือไม่ได้หรือสร้างได้นานถึงประมาณ 1 ล้านปี
ภาพ (ซ้าย)ลักษณะของ A. afarensis (กลาง)ซากดึกดําบรรพ์ของ A. afarensis พบทีเอธิโอเปี ย
                 (ขวา) กระดูกกะโหลกศีรษะของ Australopithecus
จีนสโฮโม(Homo)
   ั
- เกิดขึนเมือประมาณ 2 ล้านปี ทีผ่านมา
- ซากดึกดําบรรพ์ของจีนัสโฮโมทีพบว่ามีอายุมากทีสุดคือ Homo habilis ใน
  ชันหินอายุ 1.8 ล้านปี ทางตอนใต้ของแอฟริกา
- Homo habilis มีความจุสมองประมาณ 750 ลูกบาศก์เซนติเมตร มี
  ความสูงประมาณ 1.5 เมตร มีกระดูกนิ วมือทีคล้ายมนุ ษย์ปัจจุบนมากจึงน่ าจะช่วย
                                                             ั
  ให้สามารถหยิบจับหรือใช้เครืองมือได้ดี ซึงพบ เครืองมือหินและร่องรอยการอยู่
  อาศัย
- ทําให้สนนิ ษฐานได้ว่า H. habilis อาจเป็ นพวกแรกทีรูจกการประดิษฐ์ขวาน สิว
         ั                                               ้ั
  มีดจากหินเพือนํามาใช้ประโยชน์ในการดํารงชีวิตก็เป็ นได้
ภาพ ลักษณะและกระดูกกะโหลกศีรษะของ ของ H. habilis
Homo erectus
- เป็ นมนุ ษย์กลุ่มแรกทีอพยพมาจากแอฟริกาไปยังเอเชียและยุโรป
- พบซากดึกดําบรรพ์โครงกระดูกมากในแถบเอเชียรวมทังหมูเกาะอินโดนี เชีย
                                                           ่
  ซากดึกดําบรรพ์ทีพบในหมู่เกาะชวา และรูจกกันในวงกว้างจะเรียกว่า มนุ ษย์
                                       ้ั
  ชวา (Java man) และทีพบในปั กกิง ซึงเป็ น สปี ชีสเดียวกัน เรียกว่า มนุ ษย์
                                                     ์
  ปั กกิง (Beijing man หรือ Peking man)
- H. erectus มีอายุประมาณ 1.8 ล้านปี ถึง 500,000 ปี ทีผ่านมา
- มีความจุสมองประมาณ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความสูงประมาณ
  1.6-1.8 เมตร
- เดินตัวตรงเหมือนมนุ ษย์มากขึน สามารถประดิษฐ์และใช้เครืองมือที
  เฉพาะงาน และเริมรูจกใช้ไฟ คาดว่ามนุ ษย์กลุ่มนี น่าจะอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม
                       ้ั                                ่
  มีสงคม วัฒนธรรมและภาษาเกิดขึน
      ั
ภาพ ลักษณะและกระดูกกะโหลกศีรษะของ ของ Homo erectus
มนุ ษย์นีแอนเดอร์ทล (Neanderthal man)
                  ั
- มีสมองขนาดใหญ่เท่ากับหรือมากกว่ามนุ ษย์ปัจจุบน   ั
- โครงร่างมีลกษณะเตียลําแข็งแรง จมูกแบน รูจมูกกว้าง หน้าผากลาดแคบ
                ั
  มีสนคิวหนา คางแคบหดไปด้านหลัง
       ั
- มีการอยูรวมกันเป็ นสังคม ใช้ไฟและมีเครืองนุ่ งห่ม มีรองรอยของอารยธรรม
           ่่                                          ่
  ในกลุ่ม เช่น การบูชาเทพเจ้าและมีพิธีฝังศพ เป็ นต้น
- นักมนุ ษย์วทยาได้จดให้มุษย์นีแอนเดอร์ทลอยูในสปี ชีสเดียวกันกับมนุ ษย์
              ิ      ั                    ั ่            ์
  ปั จจุบน (Homo sapiens sapiens) แต่แยกกันในระดับซับสปี ชีส์
         ั
   เป็ น Homo sapiens neanderthalensis
- ในปั จจุบนจากการศึกษาทางชีววิทยาระดับโมเลกุล การสกัด DNA จาก
           ั
  กระดูกมนุ ษย์นีแอนเดอร์ทลชีให้เห็นว่ามนุ ษย์นีแอนเดอร์ทลบางส่วนอาจมีผม
                           ั                               ั
  สีแดงและมีผิวซีด
ภาพ ลักษณะของกะโหลกศีรษะของมนุ ษย์ปัจจุบน (ซ้าย) มนุ ษย์นีแอนเดอร์ทล (ขวา)
                                        ั                          ั
กําเนิดของมนุ ษย์ปัจจุบนนันมาจากไหน?
                        ั
    สมมติฐานเกียวกับกําเนิ ดของมนุ ษย์ปัจจุบนมี 2 แนวทาง
                                             ั
         สมมติฐานแรก เชือว่ามนุ ษย์ปัจจุบนทีอยูในต่างทวีปนันมี
                                           ั    ่
   วิวฒนาการมาจาก H. erectus ทีแพร่กระจายจากแอฟริกาไปอยู่
      ั
   ตามทีต่างๆ เช่น ยุโรป เอเชียและออสเตรเลีย เมือประมาณเกือบสอง
   ล้านปี ทีผ่านมา จากนันจึงวิวฒนาการเป็ นมนุ ษย์ปัจจุบนทีอาศัยอยู่
                               ั                       ั
   ตามแต่ละทีทัวโลก และการทีมนุ ษย์เชือชาติต่างๆไม่เกิดความแตกต่าง
   กันในระดับสปี ชีสจนเกิดสปี ชีสใหม่เพราะมนุ ษย์ในแต่ละทียังคงมีการ
                    ์            ์
   ผสมผสานทางเผ่าพันธุมาโดยตลอด
                          ์
กําเนิดของมนุ ษย์ปัจจุบนนันมาจากไหน?
                       ั
         สมมติฐานทีสอง เชือว่ามนุ ษย์ปัจจุบนทีอยูในต่างทวีปนันมีววฒนาการ
                                           ั     ่               ิั
  มาจาก H. erectus ในแอฟริกา จากนัน H. erectus ได้
  แพร่กระจายไปอยูตามทีต่างๆทัวโลกแต่ในทีสุดก็สญพันธุไปจนหมด เหลือ
                   ่                               ู    ์
  เพียงกลุ่ม
  H. erectus ในแอฟริกากลุ่มเดียวเท่านัน จนกระทังเมือ 100,000 ปี ที
  ผ่านมานี เอง H. erectus ในแอฟริกา กลุ่มทีมีสายวิวฒนาการต่อเนื องมา
                                                          ั
  นี จึงแพร่กระจายออกไปยังสถานทีต่างๆโดยไม่มีการผสมผสานทางเผ่าพันธุ์
  กับมนุ ษย์โบราณทีอพยพมาก่อนหน้านัน
ภาพ สมมติฐานทีหนึ ง   สมมติฐานทีสอง
มนุ ษย์โครแมนยัง (Cro-magnon man)
- จัดอยูในซับสปี ชีสเดียวกับมนุ ษย์ยุคปั จจุบน คือ H. sapiens
         ่          ์                        ั
  sapiens
- เกิดขึนเมือ 40,000 ปี ทีผ่านมาและสูญพันธุไปเมือ 20,000 ปี
                                               ์
- มีขนาดสมองใกล้เคียงกับมนุ ษย์ปัจจุบน มีความสามารถในการล่าสัตว์
                                          ั
- ซึงสามารถประดิษฐ์เครืองมือจากหิน ทีซับซ้อนและเหมาะสมกับการใช้
  งาน มีการใช้หอกในการล่าสัตว์ระยะไกล
- สามารถวาดภาพสัตว์โดยใช้สีทีสวยงามซึงพบในถํา หลายแท่ง มีการ
  แกะสลักกระดูกและเขากวางเป็ นรูปต่างๆ
- อยูร่วมกันเป็ นชุมชนทีมีกฎเกณฑ์ร่วมกัน
      ่
ภาพ ลักษณะและกระดูกกะโหลกศีรษะของ ของ Cro-magnon man
ตารางเปรียบเทียบนําหนักตัวและขนาดสมองของลิงชนิ ดต่าง ๆ กับมนุ ษย์ทีสูญพันธุและมนุ ษย์ปัจจุบน
                                                                           ์               ั

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 

What's hot (20)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 

Similar to Animal55

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955Bira39
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสathiwatpc
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)Churuthikorn Kummoo
 

Similar to Animal55 (20)

Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955
 
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
1
11
1
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

More from Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนOui Nuchanart
 

More from Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 

Animal55

  • 2. ลักษณะสิงมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ • สัตว์เป็ นสิงมีชีวิตกลุมยูคาริโอต หลายเซลล์ ่ • เซลล์ยึดติดกันด้วยโปรตีนคอลลาเจน • เรียนรูและตอบสนองต่อสิงเร้า ้ • เคลือนไหวโดยการทางานของเนือเยือประสาทและกล้ามเนือ • เป็ นผูบริโภค ้
  • 4. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 1. เนือเยือ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มคือ 1.1 กลุ่มทีไม่มีเนื อเยือทีแท้จริงได้แก่ ฟองนํา 1.2 กลุ่มทีมีเนื อเยือทีแท้จริง มี 2 ประเภทคือ 1.2.1 เนื อเยือ 2 ชัน (Diploblastica) ประกอบด้วยเนื อเยือชันนอก (Ectoderm) และเนื อเยือชันใน (Endoderm) ได้แก่ พวก ไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย 1.2.2 เนื อเยือ 3 ชัน (Triploblastica) ประกอบด้วยเนื อเยือชันนอก ชันกลาง (Mesoderm) และชันใน ได้แก่พวกหนอนตัวแบนขึนไป จนถึงสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
  • 5.
  • 6. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 2. สมมาตร (Symmetry) แบ่งเป็ น 1. สมมาตรแบบรัศมี (Radial Symmetry) เช่น สัตว์พวกไฮดรา และ แมงกะพรุน 2. สมมาตรแบบด้านข้างหรือผ่าซีก (Bilateral symmetry) เช่น กุง ้ แมลง ปลา คน
  • 7. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 3. การเปลียนแปลงของบลาสโทพอร์ พบเฉพาะสัตว์ทีมีสมมาตรแบบด้านข้าง มี 2 แบบ คือ - โพรโทสโทเมีย (Protostomia )พวกทีบลาสโทพอร์เปลียนเป็ นช่องปาก - ดิวเทอโรสโทเมีย (Deuterostomia) พวกทีบลาสโทพอร์เปลียนเป็ นทวาร หนัก การเปลียนแปลงของบลาสโทพอร์ ก. โพรโทสเมีย ข. ดิวเทอโรสเมีย
  • 8. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 4. การเจริญเติบโตในระยะตัวอ่อน พบในสัตว์กลุ่มทีมีช่องปากแบบโพ รโทสโทเมียซึงแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทีมีระยะตัวอ่อนแบบ - โทรโคฟอร์ (Trochophore) พบในสัตว์พวกหนอนตัวแบน ไส้เดือน ดิน ปลิง หอย และหมึก เป็ นต้น และ - เอคไดโซซัว(Ecdysozoa ) เป็ นกลุ่มทีมีการลอกคราบขณะ เจริญเติบโต ซึงพบในหนอนตัวกลมและสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ระยะตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์
  • 9. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 5. ทางเดินอาหาร (Digestive tract) ทางเดินอาหารของสัตว์แบ่ง ออกเป็ น 3 แบบ คือ 1 ทางเดินอาหารแบบช่องร่างแห (Channel network) เป็ นทางเดิน อาหารทีไม่ใช่ทางเดินอาหารทีแท้จริง แต่เป็ นเพียงทางผ่านของนําจากภายนอก เข้าสู่ภายในลําตัวเท่านันได้แก่ ทางเดินอาหารของฟองนํา 2 ทางเดินอาหารแบบปากถุง (One-hole sac) เป็ นทางเดินอาหารทีมี ช่องเปิ ดทางเดียว ได้แก่ทางเดินอาหารของซีเลนเตอเรท และหนอนตัวแบน 3 ทางเดิ นอาหารแบบท่ อกลวง (Two-hole tube) เป็ นทางเดิ น อาหารทีมีช่องเปิ ด 2 ช่อง โดยช่องหนึ งทําหนําทีเป็ นทางเข้าของอาหารและอีก ช่องหนึ งทําหนํ าทีเป็ นทางออกของกากอาหาร ได้แก่ทางเดินอาหารของพวก หนอนตัวกลมขึนไปจนถึงสัตว์พวกมีกระดูกสันหลังทุกชนิ ด
  • 10. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 6. ช่องตัว (coelom) แบ่งออกเป็ น 3 แบบ คือ 1. สัตว์ทีไม่มีช่องตัว (Acoelomate animal) ได้แก่พวก หนอนตัวแบน 2. สัตว์ทีมีช่องตัวแบบเที ยม (Pseudocoelomate animal) สัตว์กลุ่มนี มีช่องตัวที อยู่ระหว่างเนื อเยือชันกลางกับเนื อเยือชันนอก หรือเนื อเยือชันใน ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม 3. สัตว์ทีมีช่องตัวแบบแท้ (Eucoelomate animal) สัตว์กลุ่ม นี มี ช่ อ งตั ว อยู่ ภ ายในเนื อ เยื อชั นกลาง ได้แ ก่ ไส้เ ดื อ น กุ ้ง แมลง ตลอดไปจนถึงสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
  • 11.
  • 12. เกณฑ์ในการจําแนกสัตว์ 7. การแบ่งเป็ นปล้อง (Segmentation) แบ่งออกเป็ น 1 การแบ่งเป็ นปล้องเฉพาะภายนอก (Superficial Segmentation เช่น พวกพยาธิตวตืด ั 2 การแบ่ ง เป็ นปล้อ งที แท้จ ริ ง (Metameric Segmentation) เป็ นการเกิดปล้องขึนตลอดลําตัวทังภายนอกและภายใน โดยข้อปล้อง เกิดขึนที เนื อเยือชันกลาง ทําให้เนื อเยือชันอืนๆเกิดเป็ นปล้องไปด้วย เช่น ไส้เดือน กุ ง ปู แมลงตลอดไปจนถึงพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังทุ ก ้ ชนิ ด
  • 14. กลุ่มทีไม่มีเนือเยือแท้จริง : Phylum Porifera • มีโครงสร้างร่างกายไม่ซบซ้อน ั •ลําตัวมีช่องให้นําเข้าขนาดเล็ก •ช่องนําออกขนาดใหญ่ •ตัวเต็มวัยมักเกาะอยูกบที ่ ั •มีโครงร่างค้าจุนแทรกอยูในตัวฟองนํา เรียก สปิ คุล ่ •ตัวอย่าง ฟองนําแก้ว ฟองนําหินปูน ฟองนําถูตว ฟองนํารูปแจกัน ั
  • 16. ภาพ ฟองนํารูปแจกัน ภาพ กระเช้าดอกไม้ของวีนัส ภาพ ฟองนําถูตว ั
  • 17. ภาพ ฟองนํารูปแจกัน ภาพ กระเช้าดอกไม้ของวีนัส ภาพ ฟองนําถูตว ั
  • 18. กลุ่มทีมีเนือเยือแท้จริง : แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ก. กลุ่มทีมีสมมาตรแบบรัศมี Phylum Cnidaria • มีเนื อเยือ 2 ชัน • ส่วนใหญ่อาศัยอยูในนําเค็ม ่ • มีรปร่าง 2 แบบ คือ แบบโพลิบ (polyp) และ เมดูซา (medusa) ู • ใช้เทนทาเคิลล่าเหยือ • มีไนโดไซต์ (cnidocyte) ใช้จบเหยือ หรือปองกันตัว ั ้ • ตัวอย่าง แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปั งหา ต่อทะเล
  • 19. Phylum Cnidaria ภาพ ซ้าย Polyp ขวา Medusa
  • 20. Phylum Cnidaria ภาพ ลักษณะของไนโดไซด์
  • 21. Phylum Cnidaria ภาพ การจับเหยือด้วยการยิงเข็มพิษ
  • 22. Phylum Cnidaria ภาพ วงจรชีวิตของแมงกระพรุน
  • 23. Phylum Cnidaria ภาพ ไฮดรา ภาพ ต่อทะล
  • 24. Phylum Cnidaria ภาพ แมงกะพรุนจาน ภาพ กัลปั งหา ปากกาทะเล ปะการัง
  • 25. Phylum Ctenophora : หวีวุน ้ - เคลือนทีโดยอาศัยการพัดโบกของชิเลีย (cilia) - มีเทนตาเคิล 2 เส้น - รอบตัวแบ่งเป็ น 8 ส่วน โดยมีแถบชิเลียยาว 8 แถว มีลกษณะคล้ายชีหวี ั - เทนทาเคิลไม่มเข็มพิษ สืบพันธุแบบไม่แยกเพศ ี ์
  • 27. กลุ่มทีมีเนือเยือแท้จริง : แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ข. กลุ่มทีมีสมมาตรด้านข้าง แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มโพรโทสเมียและกลุ่มดิวเทอโรสโทเมีย 1. กลุ่มโพรโทสเมีย คือ กลุ่มทีมีตวอ่อนแบบโทรโคฟอร์และกลุ่มทีมี ั ตัวอ่อนแบบลอกคราบ ได้แก่ Phylum Platyhelminthes Phylum Mollusca Phylum Annelida
  • 28. Phylum Platyhelminthes • มีลาตัวแบนจึงเรียกหนอนตัวแบน ํ • มีขนาดแตกต่างกัน บางชนิ ดมีขนาดเล็กไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตา ้ เปล่า บางขนิ ดมีขนาดใหญ่ • มีเนื อเยือ 3 ชัน • มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ • ไม่มีช่องตัว (noncoelom) • การดํารงชีวิตแบบอิสระและปรสิต • ตัวอย่าง พลานาเรีย พยาธิใบไม้ พยาธิตวตืด ั -
  • 29. Phylum Platyhelminthes ภาพ หนอนตัวแบน ก. ภาพถ่ายแสดงทางเดินอาหาร ข. ภาพวาดภาคตัดขวางลําตัว
  • 30. Phylum Platyhelminthes ภาพ หนอนตัวแบน ซ้ายดํารงชีวิตแบบอิสระ ขวาดํารงชีวิตแบบปรสิต
  • 31. Phylum Platyhelminthes ภาพ พยาธิตวตืด ั ภาพ พลานาเรีย
  • 32. Phylum Mollusca •เป็ นสัตว์ทีมีลาตัวนิ ม ํ • สร้างเปลือกแข็งทีมีสารประกอบแคลเซียมหุมตัว้ • มีแมนเทิลสร้างเปลือกหุมตัว ้ • แลกเปลียนแก๊สโดยใช้เหงือก •มีทวารหนักและรูขบถ่าย ั •การดํารงชีวิต บางชนิ ดกินพืช บางชนิ ดเป็ นผูล่า กินแพลงก์ตอน ้ •ตัวอย่าง หอย และหมึก -
  • 33. Phylum Mollusca ภาพ หมึกยักษ์และหอยมือเสือ ภาพ หอยฝาชีโบราณ
  • 34. Phylum Mollusca ภาพ หอยงาช้างและหอยงวงช้าง
  • 35. Phylum Annelida •ลักษณะลําตัวแบ่งเป็ นปล้องเห็นได้ชด ภายในมีเยือกัน ั •มีเนฟฟริเดีย เป็ นอวัยวะขับถ่าย •มีสองเพศในตัวเดียวกัน •มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิ ด ตัวอย่าง ไส้เดือนดิน ปลิงนําจืด ทากดูดเลือด -
  • 36. Phylum Annelida ภาพ ลักษณะของสัตว์ในไฟลัมแอนเนลิดา ก. ภาพวาดโครงสร้างภายใน ข. ภาพถ่ายไส้เดือนดิน
  • 37. Phylum Annelida ภาพ ปลิงนําจืด และ ทากดูดเลือด
  • 38. 2. กลุ่มโพรโทสเมีย และตัวอ่อนมีแบบลอกคราบ ได้แก่ Phylum Nematoda Phylum Arthropoda ประกอบด้วยคลาสดังนี - Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล - Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร - Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ - Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ - Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ - Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู ้
  • 39. Phylum Nematoda •เป็ นสัตว์ทีมีรปทรงกระบอก ู •เป็ นสัตว์ไม่มีปล้องบริเวณลาตัว จึงเรียกหนอนตัวกลม •มีคิวทิเคิลหุมร่างกายทาให้มีการลอกคราบในระหว่างการเจริญเติบโต ้ •มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ •ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด •มีช่องตัวเทียม (pseudocoelom) •ตัวอย่าง พยาธิชนิดต่างๆ -
  • 40. Phylum Nematoda ภาพ ลักษณะของหนอนตัวกลม
  • 41. Phylum Nematoda ภาพ พยาธิแส้มาและพยาธิปากขอ ้ ภาพ โรคเท้าช้าง
  • 42. Phylum Arthropoda •มีลาตัวเป็ นปล้อง ํ • มีรยางค์เป็ นข้อต่อกัน • รยางค์เป็ นลักษณะทีปรับเปลียนไปทําหน้าที เช่นใช้เดิน จับเหยือ รั บความรูสึก ผสมพันธุและและปองกันอันตราย ้ ์ ้ •มีโครงสร้างภายนอกเป็ นเปลือกแข็งประกอบด้วย ไคทิน •มีการลอกคราบในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย •มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิ ด •สืบพันธุแบบอาศัยเพศ ์
  • 43. Phylum Arthropoda สัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดาทีพบในปั จจุบน ั - Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล - Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร - Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ - Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ - Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ - Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู ้ -
  • 44. Class Merostomata ได้แก่ แมงดาทะเล - มีลาตัวแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนอกรวมกันและส่วนท้อง ํ - มีรยางค์ค่แรกทําหน้าทีในการกินอาหาร ู - มีขาเดิน 5 คู่ ปลายขาคู่สุดท้ายมีลกษณะเป็ นแผ่นซ้อนกันใช้ขุดทราย ั เวลาฝั งตัว
  • 45. Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่ อง เห็บ ไร - มีส่วนหัวและส่วนอกรวมกัน มีรยางค์ 6 คู่ โดยรยางค์คู่ที1 และคู่ที 2 ใช้จบอาหารและรับความรูสึกและมีขาเดินอีก 4 คู่ ั ้ - ในบริเวณปล้องส่วนท้ายของแมงมุมจะมีอวัยวะชักใย ขณะทีในแมงป่ อง จะปรับเปลียนไปสําหรับใช้ล่าเหยือและปองกันตัว ้
  • 46. Class Diplopoda ได้แก่ กิงกือ -ลําตัวมีรยางค์ปล้องละ 2 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่ - อาศัยอยูตามพืนดินใต้กองใบไม้กินซากใบไม้และซากสัตว์ทีเน่ าเปื อย ่ ในดินเป็ นอาหาร
  • 47. Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ ตะเข็บ ตะขาบฝอย - ลําตัวแบนมีรยางค์ปล้องละ 1 คู่ - บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่ ปล้องแรกของลําตัวมีเขียวพิษ 1 คู่ แนบกับ ส่วนหัวจะปล่อยพิษทําให้เหยือเป็ นอัมพาตจึงจับกินได้ง่ายหรือใช้ปองกัน ้ ตัวเอง
  • 48. Class Insecta ได้แก่ แมลงต่างๆ แมลงมีลาตัวแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนนอกและส่วนท้อง มี ํ หนวด 1 คู่ มีขา 3 คู่ อยูบริเวณส่วนอกบางชนิ ดอาจมีปีก 1-2 คู่ ่ ภาพ โครงสร้างของแมลง
  • 49. Class Crustacea ได้แก่ กุง กัง ปู ้ - ส่วนใหญ่คงอาศัยอยูในทะเลหรือแหล่งนําจืดสัตว์ ่ - กลุ่มนี มีรยางค์จานวนมากทําหน้าทีพิเศษหลายอย่าง เช่น ใช้เดิน ว่ายนํา ํ หรือเปลียนแปลงเป็ นหนวดและส่วนประกอบของปาก - มีหนวด 2 คู่ - มีขาเดินและมีรยางค์ทีส่วนท้องสําหรับว่ายนําหรือปรับเปลียนไปทําหน้าที เฉพาะ เช่น แลกเปลียนแก๊ส เป็ นทีเกาะของไข่ เป็ นต้น ภาพ กุง กัง ปู ้
  • 51. Phylum Echinodermata •เป็ นสัตว์ทีมี 5 แฉก •มีโครงร่างแข็งภายใน •ผิวลําตัวมีหนามยืนออกมา •มีระบบท่อลาเลียงนํา •มีทิวบ์ฟีท เป็ นโครงสร้างในการเคลือนที •ตัวอย่าง ปลิงทะเล ดาวทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก ดาวมงกุฏหนาม -
  • 52. Phylum Echinodermata ภาพ ก.ข. ดาวขนนก ค.ดาวทะเล ง. ดาวแสงพระอาทิตย์ จ. เม่นทะเล ฉ. ปลิงทะเล
  • 53. Phylum Chordata • มีโนโทคอร์ด • มีท่อประสาทกลวงทีด้านหลัง • มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย • มีหาง • ไฟลัมคอร์ดาตาแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง
  • 54. Phylum Chordata :สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง 1. ยูโรคอร์เดต (Urochordate) เป็ นสัตว์ทีมีถุงหุมตัว ้ ประกอบด้วยสารคล้ายเซลลูโลส ตัวเต็มวัยไม่มีโนโทคอร์ด ไม่มี เส้นประสาทขนาดใหญ่บริเวณหลังและหางจะหดหายไปในระยะตัวเต็ม วัย ตัวอย่างเช่น เพรียงหัวหอม เป็ นต้น
  • 55. Phylum Chordata :สัตว์ทีไม่มีกระดูกสันหลัง 2. เซฟาโลคอร์เดต (Cephalochordate) เป็ นสัตว์ทีระยะตัวเต็ม วัยมีท่อประสาทขนาดใหญ่ทีบริเวณหลัง มีโนโทคอร์ดยาวตลอดชีวิต มี ช่องเหงือกทีคอหอยและมีหางตัวอย่างของสัตว์กลุ่มนี ได้แก่ แอมฟิ ออก ซัส ซึงเป็ นสัตว์ขนาดเล็กอาศัยอยูในบริเวณทีตืนชายฝั งทะเล ่
  • 56. Phylum Chordata :สัตว์ทีมีกระดูกสันหลังทีไม่มี ขากรรไกร ได้แก่ ปลาไม่มีขากรรไกรส่วนใหญ่จะสูญพันธุไปแล้ว ปลาไม่มีขากรรไกรที ์ พบในปั จจุบนคือ ปลาปากกลม ซึงได้แก่ แฮกฟิ ช (hagfish) เป็ นปรสิต ั ภายนอกของปลาหลายชนิ ด และ แลมเพรย์ (lamprey) ซึงมีรปร่างคล้ายปลาไหล มีโครงร่างเป็ น ู กระดูกอ่อนและไม่มีครีบคู่เหมืนปลาทัวไป
  • 57. ภาพ ลักษณะร่างกายและปากของ Hagfish ภาพ การจับเหยือของ Lamprey และปากของ Lamprey
  • 58. Phylum Chordata :สัตว์ทีมีกระดูกสันหลังทีมีขากรรไกร • Class Chondrichthyes ได้แก่ปลากระดูกอ่อน • Class Osteicthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง • Class Amphibia ได้แก่ กบ อึงอ่าง คางคก • Class Reptilia ได้แก่ จิงจก จระเข้ เต่า ตะพาบน้า • Class Aves ได้แก่ นกชนิ ดต่างๆ • Class Mammalia ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด จิงโจ้ กระต่าง ลิง คน
  • 59. Phylum Chordata :Class Chondrichthyes ได้แก่ปลากระดูกอ่อน • มีการแลกเปลียนแก๊สโดยใช้เหงือก ไม่มีแผ่นปิ ดเหงือก • มีการปฏิสนธิภายในและออกลูกเป็ นตัว • มีฝันแหลมคม • มีเกล็ดคมปกคลุมผิวหนัง • เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน
  • 60. Phylum Chordata :Class Chondrichthyes ได้แก่ปลากระดูกอ่อน
  • 61. Phylum Chordata : Class Osteicthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง • มีโครงร่างภายในเป็ นกระดูกแข็ง • ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม • มีครีบ 2 คู่ คือครีบอก และครีบสะโพก • หายใจโดยเหงือกมีแผ่นปิ ดเหงือก ภาพ ปลาปอดออสเตรีย และปลาปอดแอฟริกา
  • 62. Phylum Chordata : Class Amphibia ได้แก่ กบ อึงอ่าง คางคก งูดิน • มีผิวหนังเปี ยกชืน ทาหน้าทีแลกเปลียนแก๊ส • ไม่มีเกล็ดปกคลุม • มีการปฏิสนธิภายนอก • ตัวอ่อนอาศัยในน้าหายใจด้วยเหงือก • ตัวเต็มวัยอาศัยบนบกใช้ปอดในการหายใจ ภาพ ก. ซาลามานเดอร์ ข. คางคก ค. งูดิน
  • 63. Phylum Chordata: Class Reptilia ได้แก่ จิงจก จระเข้ เต่า ตะพาบนํา • มีผิวหนังปกคลุมด้วยสารเคราทิน (keratin) เพือปองกันการสูญเสีย ้ นําออกจากร่างกาย • มีการหายใจโดยใช้ปอด • มีการปฏิสนธิภายในร่างกายเพศเมีย • สร้างเปลืกห่อหุมไข่ ้ • วางไข่นอกร่างกายเพศเมีย
  • 64. Phylum Chordata: Class Reptilia ได้แก่ จิงจก จระเข้ เต่า ตะพาบนํา ภาพ (บนซ้าย) เต่าแก้มแดง (บนขวา) ทัวทารา (ล่างซ้าย) มังกรโคโมโด (ล่างขวา) งูอนาคอนดา
  • 65. Phylum Chordata: Class Aves ได้แก่ นกชนิด ต่างๆ • นกเป็ นสัตว์เลือดอุ่น • มีการปรับรูปร่างเพือช่วยในการบินโดยกระดูกมีรพรุนทําให้มีนาหนักเบา ู ้ • ปรับอวัยวะทีไม่จาเป็ นให้มีขนาดเล็ก • มีการปฏิสนธิภายและออกลูกเป็ นไข่
  • 66. Phylum Chordata :Class Mammalia ได้แก่ ตุน ่ ปากเป็ ด จิงโจ้ กระต่าง ลิง คน • เพศเมียของสัตว์เลียงลูกด้วยนํานมมีต่อมน้านมทาหน้าทีผลิตนม สําหรับเลียงลูกอ่อน • มีขนปกคลุมลําตัว • มีอุณหภูมิร่างกายค่อนข้างคงที • ตัวอ่อนเจริญอยูในมดลูก ่ • ได้รบสารอาหารจากแม่ผ่านทางรกทีเชือมระหว่างตัวอ่อนกับแม่ ั
  • 67. Phylum Chordata :Class Mammalia สัตว์เลียงลูกด้วยน้านม แบ่งเป็ น 3 กลุ่มคือ 1. กลุ่มมอโนทรีม (Monotremes) ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด ตัวกินมด 2. กลุ่มมาร์ซเรียล (Marsupials) ได้แก่ โอพอสซัม จิงโจ้ โคอาลา ู 3. กลุ่มยูเทเรียน (Eutherians) ได้แก่ ลิง คน
  • 68. Phylum Chordata :Class Mammalia 1. กลุ่มมอโนทรีม (Monotremes) ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ด ตัวกินมด • ออกลูกเป็ นไข่ แต่มีขน • มีต่อมนํานม ออกจากไข่แล้วเลียนํานมบริเวณหน้าท้องของแม่กิน • ตัวกินมดมีหนามทีมีขนแข็งคล้ายเม่น • พบเฉพาะในประเทศออสเตรเลีย และนิ วกีนี
  • 69. ภาพ (ซ้าย) ตัวกินมด Echidna (ขวา) ตุ่นปากเป็ ด
  • 70. Phylum Chordata :Class Mammalia 2. กลุ่มมาร์ซเรียล (Marsupials) ได้แก่ โอพอสซัม จิงโจ้ โคอาลา ู • ตังท้องระยะเวลาสัน ทําให้ลกอ่อนทีคลอดออกมามีขนาดเล็กคลานเข้าไป ู อยูหน้าท้องของแม่ ่ • ลูกอยูในถุ งหน้าท้องจนกว่าจะเจริญเติบโตเต็มที ่
  • 71. ภาพ (บนซ้าย) โอพอสซัม (บนขวา) จิงโจ้ (ล่าง) โคอาลา
  • 72. Phylum Chordata :Class Mammalia 3. กลุ่มยูเทเรียน (Eutherians) ได้แก่ ลิง คน • เป็ นสัตว์เลียงลูกด้วยนมทีมีรก • มีระยะเวลาในการตังท้องนาน • ตัวอ่อนมีการเจริญเติบโตทีสมบูรณ์ภายในมดลูกของแม่ • ได้รบสารอาหารผ่านทางรก ั
  • 73. ภาพ (ซ้าย) ซิมแพนซี (ขวา) นางอาย
  • 74. ไพรเมต (primate) • อาศัยอยูบนต้นไม้เป็ นส่วนใหญ่ เช่น ลิงลม กระแต ลิง ชะนี อุรงอุตง ่ ั ั ชิมแปนซีและมนุ ษย์ • สัตว์กลุ่มนี มีมือและเท้าสําหรับยึดเกาะ • มีสมองขนาดใหญ่ มีขากรรไกรสันทําให้ใบหน้าแบน • มีตาทีใช้มองไปข้างหน้า มีเล็บแบนทังนิ วมือและนิ วเท้า • มีพฤติกรรมในการเลียงลูกอ่อนและพฤติกรรมทางสังคมทีซับซ้อนขึน • สัตว์กลุ่มไพรเมตมีวิวฒนาการแบ่งออกเป็ น 2 สาย คือ ั โพรซิเมียน (Prosimian) และ แอนโทร พอยด์ (Anthropoid)
  • 75. ภาพ (ซ้าย) ซิมแพนซี (ขวา) นางอาย
  • 76. ไพรเมต (primate) : โพรซิเมียน (Prosimian) - เป็ นสัตว์กลุ่มไพรเมตรระยะแรกเริมทีอาศัยอยูบนต้นไม้ ่ - ได้แก่ ลิงลมหรือนางอายและลิงทาร์ซิเออร์ พบอยูในเขตร้อนแถบแอฟริกา ่ และเอเชียใต้ ภาพ (ซ้าย) ลิงลม (ขวา) ลิงทาร์ซิเออร์
  • 77. ไพรเมต (primate) :แอนโทรพอยด์ (Anthropoid) แอนโทรพอยด์ ได้แก่ ลิงมีหาง ลิงไม่มีหาง และมนุ ษย์ ลิงมีหาง ได้ แก่ ลิงโลกเก่าและลิงโลกใหม่ - มีวิวฒนาการเกิดขึนเมือประมาณ 45 ล้านปี ทีผ่านมา ั - ลิงโลกใหม่ทุกชนิ ดยังคงอาศัยอยูบนต้นไม้ พบเฉพาะทวีปอเมริกาใต้ ่ - ลิงโลกใหม่มีแขนขายาวใช้ประโยชน์ในการปี นป่ ายและห้อยโหน - ลิงโลกเก่ามีกนเป็ นแผ่นหนังหนา เกลียง ้ - ลิงทังสองกลุ่มเป็ นสัตว์ทีหากินในเวลากลางวันอยูรวมกันเป็ นฝูงมีการ ่ ควบคุมกันโดยใช้พฤติกรรมทางสังคม
  • 78. ภาพ ลิงมีหาง ก. ลิงโลกใหม่ ข. ลิงโลกเก่า
  • 79. ลิงไม่มีหาง ได้ แก่ ชะนี อุรังอุตง กอริ ลลา และชิมแปนซี ั - มีวิวฒนาการมาจากลิงโลกเก่าเมือประมาณ 25-30 ล้านปี ทีผ่านมา ั - มีแขนยาว แต่ขาสันและไม่มีหาง สามารถห้อยโหนไปมาได้ - มีพฒนาการทางสมองมีรอยหยักคล้ายคน ั - มีการสือสารระหว่างกลุ่ม มีการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมดี มีการอยู่ รวมกันเป็ นครอบครัว มีจ่าฝูงเป็ นผูนําเป็ นสัตว์หากินเวลากลางวันและมัก ้ สร้างทีอยูอย่างง่ายๆ ่
  • 80. ภาพ ลิงไม่มหาง : ชะนี อุรงอุตง ี ั ั ภาพ ลิงไม่มหาง :กอริลลา และชิมแปนซี ี
  • 81. วิวฒนาการของมนุ ษย์ ั - เมือประมาณ 20 ล้านปี ทีผ่านมา เกิดการเปลียนแปลงของสภาพแวดล้อมโดยมีทุ่ง หญ้าขึนมาทดแทนป่ าทีอุดมสมบูรณ์ ทําให้สิงมีชีวิตหลายชนิ ด มีวิวฒนาการมา ั ดํารงชีวิตบนพืนดินมากขึน - จากหลักฐานซากดึกดําบรรพ์และการเปรียบเทียบลําดับเบสบน DNA ระหว่าง มนุ ษย์และชิมแปนซี พบว่ามนุ ษย์แยกสายวิวฒนาการจากลิงไม่มีหางเมือประมาณ ั 7-5 ล้านปี ทีผ่านมา
  • 82. วิวฒนาการของมนุ ษย์ ั ภาพ วิวฒนาการของมนุ ษย์ ั
  • 83. ออสทราโลพิเทคัส(Australopithecus) • กําเนิ ดขึนเมือประมาณ 4.3 ล้านปี ทีผ่านมาและได้สญพันธุไปกว่า 2 ล้านปี ู ์ • นักบรรพชีวนได้คนพบซากดึกดําบรรพ์ทีประเทศเอธิโอเปี ยและเรียกซากดึก ิ ้ ดําบรรพ์ทีค้นพบนันว่า ลูซี (Lucy) หรือAustralopithecus afarensis • เป็ นซากดึกดําบรรพ์ทีมีขนาดเล็กสูงประมาณ 1 เมตร มีอายุประมาณ 3.8- 3.0 ล้านปี มีลกษณะผสมผสานระหว่างลักษณะของมนุ ษย์และลิงไม่มีหาง ั • หลักฐานบ่งชีวา A. afarensis มีการเดิน 2 ขา มีแขนยาว ซึงเหมาะสมใน ่ การเคลือนทีได้ดีทงบนพืนดิน และบนต้นไม้ ั • ลําตัวสูงประมาณ 1-1.5 เมตร สมองมีความจุประมาณ 400-500 ลูกบาศก์ เซนติเมตร มีฟันทีปรับเปลียนมาเพือการกินอาหารได้หลายแบบ รูจกใช้ ้ั เครืองมือแต่อาจสร้างเครืองมือไม่ได้หรือสร้างได้นานถึงประมาณ 1 ล้านปี
  • 84. ภาพ (ซ้าย)ลักษณะของ A. afarensis (กลาง)ซากดึกดําบรรพ์ของ A. afarensis พบทีเอธิโอเปี ย (ขวา) กระดูกกะโหลกศีรษะของ Australopithecus
  • 85. จีนสโฮโม(Homo) ั - เกิดขึนเมือประมาณ 2 ล้านปี ทีผ่านมา - ซากดึกดําบรรพ์ของจีนัสโฮโมทีพบว่ามีอายุมากทีสุดคือ Homo habilis ใน ชันหินอายุ 1.8 ล้านปี ทางตอนใต้ของแอฟริกา - Homo habilis มีความจุสมองประมาณ 750 ลูกบาศก์เซนติเมตร มี ความสูงประมาณ 1.5 เมตร มีกระดูกนิ วมือทีคล้ายมนุ ษย์ปัจจุบนมากจึงน่ าจะช่วย ั ให้สามารถหยิบจับหรือใช้เครืองมือได้ดี ซึงพบ เครืองมือหินและร่องรอยการอยู่ อาศัย - ทําให้สนนิ ษฐานได้ว่า H. habilis อาจเป็ นพวกแรกทีรูจกการประดิษฐ์ขวาน สิว ั ้ั มีดจากหินเพือนํามาใช้ประโยชน์ในการดํารงชีวิตก็เป็ นได้
  • 87. Homo erectus - เป็ นมนุ ษย์กลุ่มแรกทีอพยพมาจากแอฟริกาไปยังเอเชียและยุโรป - พบซากดึกดําบรรพ์โครงกระดูกมากในแถบเอเชียรวมทังหมูเกาะอินโดนี เชีย ่ ซากดึกดําบรรพ์ทีพบในหมู่เกาะชวา และรูจกกันในวงกว้างจะเรียกว่า มนุ ษย์ ้ั ชวา (Java man) และทีพบในปั กกิง ซึงเป็ น สปี ชีสเดียวกัน เรียกว่า มนุ ษย์ ์ ปั กกิง (Beijing man หรือ Peking man) - H. erectus มีอายุประมาณ 1.8 ล้านปี ถึง 500,000 ปี ทีผ่านมา - มีความจุสมองประมาณ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความสูงประมาณ 1.6-1.8 เมตร - เดินตัวตรงเหมือนมนุ ษย์มากขึน สามารถประดิษฐ์และใช้เครืองมือที เฉพาะงาน และเริมรูจกใช้ไฟ คาดว่ามนุ ษย์กลุ่มนี น่าจะอยูรวมกันเป็ นกลุ่ม ้ั ่ มีสงคม วัฒนธรรมและภาษาเกิดขึน ั
  • 89. มนุ ษย์นีแอนเดอร์ทล (Neanderthal man) ั - มีสมองขนาดใหญ่เท่ากับหรือมากกว่ามนุ ษย์ปัจจุบน ั - โครงร่างมีลกษณะเตียลําแข็งแรง จมูกแบน รูจมูกกว้าง หน้าผากลาดแคบ ั มีสนคิวหนา คางแคบหดไปด้านหลัง ั - มีการอยูรวมกันเป็ นสังคม ใช้ไฟและมีเครืองนุ่ งห่ม มีรองรอยของอารยธรรม ่่ ่ ในกลุ่ม เช่น การบูชาเทพเจ้าและมีพิธีฝังศพ เป็ นต้น - นักมนุ ษย์วทยาได้จดให้มุษย์นีแอนเดอร์ทลอยูในสปี ชีสเดียวกันกับมนุ ษย์ ิ ั ั ่ ์ ปั จจุบน (Homo sapiens sapiens) แต่แยกกันในระดับซับสปี ชีส์ ั เป็ น Homo sapiens neanderthalensis - ในปั จจุบนจากการศึกษาทางชีววิทยาระดับโมเลกุล การสกัด DNA จาก ั กระดูกมนุ ษย์นีแอนเดอร์ทลชีให้เห็นว่ามนุ ษย์นีแอนเดอร์ทลบางส่วนอาจมีผม ั ั สีแดงและมีผิวซีด
  • 90. ภาพ ลักษณะของกะโหลกศีรษะของมนุ ษย์ปัจจุบน (ซ้าย) มนุ ษย์นีแอนเดอร์ทล (ขวา) ั ั
  • 91. กําเนิดของมนุ ษย์ปัจจุบนนันมาจากไหน? ั สมมติฐานเกียวกับกําเนิ ดของมนุ ษย์ปัจจุบนมี 2 แนวทาง ั สมมติฐานแรก เชือว่ามนุ ษย์ปัจจุบนทีอยูในต่างทวีปนันมี ั ่ วิวฒนาการมาจาก H. erectus ทีแพร่กระจายจากแอฟริกาไปอยู่ ั ตามทีต่างๆ เช่น ยุโรป เอเชียและออสเตรเลีย เมือประมาณเกือบสอง ล้านปี ทีผ่านมา จากนันจึงวิวฒนาการเป็ นมนุ ษย์ปัจจุบนทีอาศัยอยู่ ั ั ตามแต่ละทีทัวโลก และการทีมนุ ษย์เชือชาติต่างๆไม่เกิดความแตกต่าง กันในระดับสปี ชีสจนเกิดสปี ชีสใหม่เพราะมนุ ษย์ในแต่ละทียังคงมีการ ์ ์ ผสมผสานทางเผ่าพันธุมาโดยตลอด ์
  • 92. กําเนิดของมนุ ษย์ปัจจุบนนันมาจากไหน? ั สมมติฐานทีสอง เชือว่ามนุ ษย์ปัจจุบนทีอยูในต่างทวีปนันมีววฒนาการ ั ่ ิั มาจาก H. erectus ในแอฟริกา จากนัน H. erectus ได้ แพร่กระจายไปอยูตามทีต่างๆทัวโลกแต่ในทีสุดก็สญพันธุไปจนหมด เหลือ ่ ู ์ เพียงกลุ่ม H. erectus ในแอฟริกากลุ่มเดียวเท่านัน จนกระทังเมือ 100,000 ปี ที ผ่านมานี เอง H. erectus ในแอฟริกา กลุ่มทีมีสายวิวฒนาการต่อเนื องมา ั นี จึงแพร่กระจายออกไปยังสถานทีต่างๆโดยไม่มีการผสมผสานทางเผ่าพันธุ์ กับมนุ ษย์โบราณทีอพยพมาก่อนหน้านัน
  • 93. ภาพ สมมติฐานทีหนึ ง สมมติฐานทีสอง
  • 94. มนุ ษย์โครแมนยัง (Cro-magnon man) - จัดอยูในซับสปี ชีสเดียวกับมนุ ษย์ยุคปั จจุบน คือ H. sapiens ่ ์ ั sapiens - เกิดขึนเมือ 40,000 ปี ทีผ่านมาและสูญพันธุไปเมือ 20,000 ปี ์ - มีขนาดสมองใกล้เคียงกับมนุ ษย์ปัจจุบน มีความสามารถในการล่าสัตว์ ั - ซึงสามารถประดิษฐ์เครืองมือจากหิน ทีซับซ้อนและเหมาะสมกับการใช้ งาน มีการใช้หอกในการล่าสัตว์ระยะไกล - สามารถวาดภาพสัตว์โดยใช้สีทีสวยงามซึงพบในถํา หลายแท่ง มีการ แกะสลักกระดูกและเขากวางเป็ นรูปต่างๆ - อยูร่วมกันเป็ นชุมชนทีมีกฎเกณฑ์ร่วมกัน ่
  • 96. ตารางเปรียบเทียบนําหนักตัวและขนาดสมองของลิงชนิ ดต่าง ๆ กับมนุ ษย์ทีสูญพันธุและมนุ ษย์ปัจจุบน ์ ั