SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3
เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต)
• เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต
• สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต
• มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ
• องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต)
เช่น แสง ดิน นา อุณหภูมิ
• องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต)
ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่
คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน
@@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทางกายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่
ตนอาศัยอยู่ การปรับตัวเพื่อหลักเกณฑ์ในเรื่องการหาอาหาร การ
ป้องกันตนเองหรือการสืบพันธุ์
ลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
 การปรับตัวทางด้านรูปร่างอวัยวะภายนอก
 การปรับตัวทางสรีรวิทยา
 การปรับพฤติกรรม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด
- ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
- ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา
- ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย
- ไบโอมป่าสน
2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
- ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม ได้แก่
- แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง
- ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่าชายเลน)
- แนวปะการัง - ทะเลสาบ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ไบโอมบนบก
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ไบโอมในน้า
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่
• กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตังแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจาก
ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน
• สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี
1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย
หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว
2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ
สิงโต มนุษย์
3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลาย
อินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อย
น้าย่อยออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest )
- พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้
แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้
- ลักษณะภูมิอากาศ ร้อน และชื้น
- มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี
- พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปีชีส์
- อุดมสมบูรณ์มาก
2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest )
- พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 100 ซม./ปี
- มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้
- อากาศเย็น
- ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว
- พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม
• พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น
• สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
3. ป่าสน ( Coniferous forest )
- ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล( Boreal )
- ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี
- พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์
- ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น
- พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )
• สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่
- ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ
เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็นต้น)
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland )
- ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี
- มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว
- ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้า
นานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
- ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และในทวีป
อเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa)
- พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า
เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia)
- สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้
และนกอีมู
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
5. สะวันนา (Savanna)
- พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย
- อากาศร้อนยาวนาน
- พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ
- ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า
- พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี
• สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
• 6. ทะเลทราย ( desert )
- ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี
- บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือ
ผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส
- พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้องกันการสูญเสียน้า โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลาต้น
อวบ เก็บสะสมน้า และพืชปีเดียว
- ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ
ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
- สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์
ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
7. ทุนดรา (Tundra)
- พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย
- ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ
- ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็ง
- ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่
สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ : สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ
• พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
• สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู
กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้า
แมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
ระบบนิเวศในน้า
น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่งออกตามลักษณะแหล่ง
ที่เกิดได้ ดังนี้
• แหล่งน้าจืด
• แหล่งน้ากร่อย
• แหล่งน้าเค็ม
@@@ ระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยในน้าตามลักษณะของแหล่งน้าทั้ง 2 ประเภท ได้แก่
• แหล่งน้าจืด
• แหล่งน้าเค็ม
การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้
แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็มเป็นตัวกาหนด
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
• ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ
1. แหล่งน้านิ่ง เช่น ทะเลสาบ บึง ถ้าเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่
2. แหล่งน้าไหล เช่น แม่น้า ลาธาร
การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล
ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย
3. น้ากร่อย เป็นบริเวณที่น้ามาบรรจบกันระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ทาให้เป็นบริเวณที่
มีน้ากร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่างชุมชนน้าจืดและน้าเค็ม
• ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภาพทางชีววิทยาที่เอื้ออานวยที่จะให้ผลผลิตอย่างสูง
ต่อสังคมมนุษย์
• มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง
• พบสัตว์เศรษฐกิจมากมาย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลาต่าง ๆ
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
• แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร
• จัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแสคลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา
• ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของผิวโลก
• สามารถแบ่งเขตออกเป็น 2 บริเวณ คือ
- บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มีความลาดชัน
น้อยและค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของกระแสน้าขึ้นน้าลง และได้รับ
ธาตุอาหารจากการชะล้างผิวหน้าดินลงสู่แหล่งน้า
- บริเวณทะเลเปิด (open sea) เป็นบริเวณที่อยู่ห่างออกจากชายฝั่ง พื้นที่มีความลาด
ชันเพิ่มขึ้นตามความลึกของน้า
ระบบนิเวศบนบก
• ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวมพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ
เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) ได้แก่
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) ,
ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่าชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp)
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่
ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่าหญ้า
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
1. ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
• พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรีและที่
ภาคใต้
• กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล
• มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ
• ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ส่วนใหญ่
เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะเป็นพวกปาล์ม ไผ่
ระกา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)
• พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา
• ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร
• ปริมาณน้าฝน 1,000 -1,500 ม.ม.
• พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและค่อนข้างโล่ง
เตียน
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
• อยู่สูงจากระดับน้าทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป
• ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อุทยาน
แห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น
• มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 ม.
• พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย
• มีป่าเบจพรรณด้วย บางทีก็มีสนเขาขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่างเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน
มอส ต่าง ๆ
• ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGEEN FOREST)
4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา ป่าบอเรียล
• กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย
• ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป
• ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
• ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ้นปะปนอยู่ พืช
ชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest)
• เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน
• เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้าท่วมขังหรือชื้นแฉะตลอดปี
• พบในจังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร
• พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทาลายเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นสวนมะพร้าว นาข้าว และบ่อเลี้ยงกุ้งเลี้ยงปลา
• ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
• พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลน และน้าทะเลท่วมถึง
• เช่น ตามชายฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ระนองถึงสตูล
• แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา
• ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู โพทะเล เป็นต้น
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
• เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ
• การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน
• สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย
แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ
1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
• ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง
• ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี
• เป็นสังคมพืชที่มีความหลากหลายมาก
• จะผลัดใบมากในฤดูแล้ง
• พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่า แดง ประดู่ และชิงชัน
2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
• ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง
• มีปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี
• พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า เช่น เต็ง รัง พลวง มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน ฯลฯ เป็น
ต้น
• พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง พวกขิง ข่า
เป็นต้น
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
3. ป่าหญ้า เป็นป่าที่เกิดภายหลังจากที่ป่าธรรมชาติอื่น ๆ ได้ถูกทาลายไป
• ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อาจเจริญงอกงามต่อไปได้
• หญ้าต่าง ๆ จึงเข้ามาแทนที่ พบได้ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน
• เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น
• ไม้ต้นมีขึ้นกระจายห่าง ๆ กันบ้าง เช่น กระถินป่า ประดู่ ตานเหลือง และปรงป่า เป็นต้น ไม้เหล่านี้ทน
แล้งและทนไฟป่าได้ดี
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ
• พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ( 90%จะถูกใช้ใน
กระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภค
ไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ)
• การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสม
ในสิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะ
เกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยัง
ผู้ผลิต
• พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับ
พลังงานขันสุดท้าย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1. พีระมิดจานวน เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร
2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่อาหาร
3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว
พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิตจนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิต
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
1. อุณหภูมิ
1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของเอนไซม์จะอยู่ระหว่าง
25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ)
1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิร่างกายให้คงที่
1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น
1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง
2. แสง
2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก
2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว
ผีเสื้อกลางคืน
2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
3. น้้ำและควำมชื้น
3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง
3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า
4. ดิน
4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต
4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต
5. ควำมเป็นกรด-เบสของดินและน้้ำ
5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดิน และแหล่งน้าที่มีความเป็นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโตและดารงชีวิตอยู่ได้)
5.2 ความเป็นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตมีหลายแบบ ได้แก่
1. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism, + / +)
2. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation, + / +)
3. ภาวะเกื้อกูลหรือภาวะอิงอาศัย (commensalims, + / 0)
4. ภาวะปรสิต (parasitism,+ / -)
5. การล่าเหยื่อ (predation, + / -)
6. ภาวะการแก่งแย่ง (competition, - / -)
7. ภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism.+ / 0)
8. ภาวะการหลั่งสารห้ามการเจริญหรือการทาลายล้าง (0,-)
9. ภาวะที่เป็นกลาง (neutralism, 0 / 0)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
• วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด
และหมุนเวียนผ่านหายใจและ
การสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปแก๊ส CO2
• วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนในสิ่งมีชีวิต โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์ และ
จุลินทรีย์
วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
• วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่
บรรยากาศ
วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
• วัฏจักรกามะถันมีสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีนหลายชนิด ส่วนใหญ่สลายตัวของสารอินทรีย์มักอยู่ในรูปของ
สารประกอบซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และซัลเฟต
วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
• วัฏจักรน้า มีมากในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสาคัญ เช่น น้าช่วยลาเลียงสารต่างๆ เป็นตัวกลางในการทาปฏิกิริยา
รักษาสมดุลของอุณหภูมิ
วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา = กลุ่มสิ่งมีชีวิตในที่ใดที่หนึ่งถูกแทนที่โดยกลุ่มใหม่อยู่เรื่อยๆ และจะหยุดลงเมื่อ
มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มสุดท้าย ทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป/คงตัว = กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด มี 2 แบบ
1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ จากบริเวณที่ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตอยู่ก่อนเลยต่อมามีปรากฏขึ้นพวกแรก (ผู้บุกเบิก)
และมีการเปลี่ยนแปลงเป็นลาดับขั้นจนกระทั่งถึงระยะขั้นสุด
ที่ว่าง → ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น
→ กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด
2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ จากบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตขั้นสุดจากปฐมภูมิแล้วและถูกทาลาย จึงเกิดการ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดแบบเดิม หรือใหม่ เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทาให้เสียสมดุล
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน
ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
N = จานวนประชากร A = พืนที่หรือปริมาตร
• การแพร่กระจายประชากร เนื่องจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพและชีวภาพ
• ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความสูงจากระดับนาทะเล อุณหภูมิ แสง
ความชืน และกรด-เบส
• ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันที่มีการแก่งแย่ง
แข่งขัน แย่งปัจจัยในการดารงชีวิต
P = p
M m
ตัวอย่างเช่น นักเรียนจับหอยทากมาทาเครื่องหมายทั้งหมด 10
ตัวแล้วปล่อยกลับคืน อีก 1 อาทิตย์ต่อมาจับหอยทากมาได้
ทั้งหมด 50 ตัว พบว่ามีหอยทากที่ทาเครื่องหมาย 5 ตัว จงหา
จานวนของประชากรหอยทากนี้
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนการรอดชีวิตของ
ประชากรซึ่งขึ้นอยู่กับช่วงอายุขัย (life span)
ในช่วงวัยต่างๆ กันทาให้ความหนาแน่นแตกต่าง
กันด้วย เรียกว่า กราฟการรอดชีวิตของประชากร
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• โครงสร้างประชากรของมนุษย์
• แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย
• แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นช้าๆ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย
• แบบ ค ระฆังคว่า แสดงว่าประชากรมีขนาดคงที่ เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี
• แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย
การทาลายโอโซนในชั้นบรรยากาศปรากฏการณ์เรือนกระจก
ทรัพยากรน้า
• เป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้าเพื่อดารงชีวิตด้านต่างๆ เช่น เป็นที่อยู่อาศัย
และแพร่พันธุ์แบ่งออกเป็น 3 แหล่งใหญ่ ได้แก่
1. หยาดน้าฟ้า 2. น้าผิวดิน 3. น้าใต้ดิน
ทรัพยากรดิน
• ดินป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ และเป็นทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับ
ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ อีก เช่น ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ป่า เป็นต้น จาแนกตามลักษณะเนื้อดินได้ 3 ชนิด
คือ
1. ดินเหนียว 2. ดินร่วน 3. ดินทราย
ทรัพยากรอากาศ
• อากาศจัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีวันหมดสิ้นและเป็นทรัพยากรที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
องค์ประกอบของอากาศ ได้แก่
1. แก๊สไนโตรเจน 78% 2. แก๊สออกซิเจน 21% 3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% 4. แก๊สอื่นๆ 0.97%
ทรัพยากรป่าไม้
• ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ และสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งรวมของ
ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งเอื้ออานวยต่อปัจจัยสี่ในการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นแหล่งของต้นน้าลาธาร ช่วยรักษา
ระดับอุณหภูมิของโลก ควบคุมปริมาณน้าฝน ช่วยในการอนุรักษ์ดินและน้าและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า แบ่งเป็น ป่ำไม่
ผลัดใบและป่ำผลัดใบ
ทรัพยากรสัตว์ป่า
• สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ปัจจุบันพบว่าจานวนสัตว์ป่าลดลงและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆทั้งนี้
เนื่องจากพื้นที่ป่ไม้ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหากิน และสืบพันธุ์ของสัตว์ป่าลดลง นอกจากนี้การลดลงของสัตว์ป่ายังเกิดจาก
สาเหตุอื่นๆอีกที่มนุษย์เป็นผู้กระทา เช่น การล่าสัตว์ป่าเพื่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น แบ่งเป็น สัตว์ป่ำสงวนและสัตว์ป่ำ
คุ้มครองประเภทที่ 1 (สวยงำม) ,2 (อำหำร)
สัตว์ป่าสงวน 15 ชนิด
สัตว์ป่าคุ้มครองประเภท
1 และ สัตว์ป่าคุ้มครอง
ประเภท 2
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
• เอเลียนสปีชีส์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกต่างจากพื้นที่การแพร่กระจายตามธรรมชาติ โดยสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท
ตามบทบาทที่มีผลต่อระบบนิเวศ คือ
1. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่รุกราน จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง
2. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่จะมาแทนที่พันธุ์พื้นเมื่องเดิมที่มีอยู่ได้และยังสามารถขัดขาวงการเจริญของพันธุ์อื่นๆ
ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ
แนวทางและมาตรการในการป้องกัน
1. การระมัดระวัง
2. แนวทางบันไดสามขั้น ได้แก่2.1 การป้องกัน 2.2 การสืบพบ 2.3 การกาจัด
3. แนวทางเชิงระบบนิเวศ
4. ความรับผิดชอบของคนในสังคม
5. การวิจัยและติดตาม
6. การให้การศึกษาและเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชน
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization) หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรชาติอย่างเหมาะสม
ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยสุดหรือไม่เกิดเลย หรือเมื่อเกิดของเสียและมลพิษ
ในสิ่งแวดล้อมก็ต้องหาวิธีการบาบัด กาจัด ให้คืนสภาพหรือรีไซเคิล เพื่อให้มลพิษในสิ่งแวดล้อม
ลดน้อยลง
2. การเก็บกัก (storage) หมายถึง การรวบรวมและเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้
เพื่อเอาไว้ใช้ในอนาคต ซึ่งมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป
3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดยมนุษย์หรือโดยธรรมชาติก็ตามมีความ
จาเป็นที่จะต้องรักษาหรือซ่อมแซมให้กลับเป็นปกติ
4. การฟื้นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมไปไม่ว่าจะมากหรือน้อย
ก็ตาม จึงมีความจาเป็นที่จะต้องฟื้นฟูให้เป็นสภาพปกติเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อีก
5. การป้องกัน (prevention) การป้องกันเป็นวิธีการที่ปกป้องคุ้มครองทรัพยากรที่กาลังถูกทาลาย
หรือมีแนวโน้มว่าจะถูกทาลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติได้
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation) หมายถึง การใช้สิ่งแวดล้อม อย่างมีเหตุผล เพื่ออานวยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตลอดไปแก่มนุษย์ โดยมีแนวความคิดที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอยู่ 6 ประการคือ
1) ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ผลแก่มนุษย์ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษ และคานึงถึงเรื่องความสูญเปล่าใน
การจะนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้
2) รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง ตระหนักเสมอว่าการใช้ทรัพยากรมากเกินไปจะเป็นการไม่ปลอดภัย
ต่อสภาพแวดล้อม ฉะนั้นต้องทาให้อยู่ในสภาพเพิ่มพูนทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจ
3) รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพูนเท่ากับอัตราที่ต้องการใช้เป็นอย่างน้อย
4) ประมาณอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้ พิจารณาความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ
5) ปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพยายามค้นคว้าสิ่งใหม่ ๆ ทดแทนการใช้ทรัพยากรจาก
แหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของประชากร
6) ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติ ซึ่งมีผลต่อการทาให้สิ่งแวดล้อมอยู่ในสภาพที่ดี โดย
ปรับความรู้ที่จะเผยแพร่ให้เหมาะแก่วัย คุณวุฒิ บุคคล สถานที่หรือท้องถิ่น
การลดปริมาณขยะด้วย “กลยุทธ์ 5R”
ตัว R ตัวแรก ก็คือ Reduce หมายถึงลดการใช้ เป็นการลดขยะที่จะทิ้งให้เหลือน้อยลง เลือกซื้อสิ่งของเครื่องใช้ที่ต้องการ
และบรรจุหีบห่อน้อย และมีอายุการใช้งานนานๆ
ตัว R ตัวที่สอง Reuse คือการใช้ซ้า นาสิ่งของเครื่องใช้ที่ยังใช้ได้อยู่ มาดัดแปลงเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
ตัว R ตัวที่สาม เรามักได้ยินกันอยู่เสมอ ก็คือ Recycle การรีไซเคิลขยะเป็นการนาเอาวัสดุที่ใช้แล้ว กลับไปเข้า
กระบวนการผลิตใหม่ให้เป็นของใหม่ ที่อาจเหมือนเดิมหรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ วัสดุที่นาไปเข้ากระบวนการผลิตใหม่
ได้แก่ พลาสติก โลหะ กระดาษ แก้ว
ตัว R ตัวที่สี่ ก็คือ Repair ได้แก่การซ่อมหรือแก้ไข โดยนาสิ่งของเครื่องใช้ที่แตกหักเสียหาย มาซ่อมหรือแก้ไขให้อยู่ใน
สภาพที่ใช้ได้ต่อได้นั่นเอง
ส่วนตัว R ตัวสุดท้าย ก็คือ Reject ซึ่งหมายถึงการหลีกเลี่ยงขยะพิษ หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย ไม่ควรนาภาชนะ
เปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีอันตรายมาใส่วัสดุอื่นโดยเด็ดขาด
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
THE END

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 

What's hot (20)

ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ความเหนียว
ความเหนียวความเหนียว
ความเหนียว
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 

Viewers also liked

บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยนWichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 

Similar to ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมKittiya GenEnjoy
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์phrontip intarasakun
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 

Similar to ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม

  • 1. ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3 เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต) • เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต • สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต • มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ • องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน นา อุณหภูมิ • องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา
  • 3. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่ คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน @@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทางกายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ ตนอาศัยอยู่ การปรับตัวเพื่อหลักเกณฑ์ในเรื่องการหาอาหาร การ ป้องกันตนเองหรือการสืบพันธุ์ ลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต  การปรับตัวทางด้านรูปร่างอวัยวะภายนอก  การปรับตัวทางสรีรวิทยา  การปรับพฤติกรรม
  • 4. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด - ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น - ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา - ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย - ไบโอมป่าสน 2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม ได้แก่ - แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง - ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่าชายเลน) - แนวปะการัง - ทะเลสาบ
  • 7. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่ • กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตังแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจาก ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน • สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี 1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว 2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ สิงโต มนุษย์ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลาย อินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อย น้าย่อยออกมา และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์
  • 8. ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES ) 1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest ) - พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้ - ลักษณะภูมิอากาศ ร้อน และชื้น - มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี - พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปีชีส์ - อุดมสมบูรณ์มาก
  • 9. 2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest ) - พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 100 ซม./ปี - มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้ - อากาศเย็น - ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว - พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม • พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น • สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 10. 3. ป่าสน ( Coniferous forest ) - ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล( Boreal ) - ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี - พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์ - ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น - พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock ) • สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่ - ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็นต้น) ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 11. 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland ) - ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี - มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้า นานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย - ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และในทวีป อเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa) - พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia) - สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมู ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 12. 5. สะวันนา (Savanna) - พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย - อากาศร้อนยาวนาน - พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ - ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า - พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี • สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 13. • 6. ทะเลทราย ( desert ) - ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี - บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือ ผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส - พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้องกันการสูญเสียน้า โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลาต้น อวบ เก็บสะสมน้า และพืชปีเดียว - ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 14. 7. ทุนดรา (Tundra) - พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย - ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ - ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็ง - ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่ สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ : สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ • พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ • สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้า แมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 15. ระบบนิเวศในน้า น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่งออกตามลักษณะแหล่ง ที่เกิดได้ ดังนี้ • แหล่งน้าจืด • แหล่งน้ากร่อย • แหล่งน้าเค็ม @@@ ระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยในน้าตามลักษณะของแหล่งน้าทั้ง 2 ประเภท ได้แก่ • แหล่งน้าจืด • แหล่งน้าเค็ม การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้ แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็มเป็นตัวกาหนด
  • 16. ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด • ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ 1. แหล่งน้านิ่ง เช่น ทะเลสาบ บึง ถ้าเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่ 2. แหล่งน้าไหล เช่น แม่น้า ลาธาร
  • 18. ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย 3. น้ากร่อย เป็นบริเวณที่น้ามาบรรจบกันระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ทาให้เป็นบริเวณที่ มีน้ากร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่างชุมชนน้าจืดและน้าเค็ม • ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภาพทางชีววิทยาที่เอื้ออานวยที่จะให้ผลผลิตอย่างสูง ต่อสังคมมนุษย์ • มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง • พบสัตว์เศรษฐกิจมากมาย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลาต่าง ๆ
  • 19. ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม • แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร • จัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแสคลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา • ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของผิวโลก • สามารถแบ่งเขตออกเป็น 2 บริเวณ คือ - บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มีความลาดชัน น้อยและค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของกระแสน้าขึ้นน้าลง และได้รับ ธาตุอาหารจากการชะล้างผิวหน้าดินลงสู่แหล่งน้า - บริเวณทะเลเปิด (open sea) เป็นบริเวณที่อยู่ห่างออกจากชายฝั่ง พื้นที่มีความลาด ชันเพิ่มขึ้นตามความลึกของน้า
  • 20.
  • 21. ระบบนิเวศบนบก • ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวมพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) ได้แก่ ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) , ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่าชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp) ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่าหญ้า
  • 22. ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST) 1. ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) • พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรีและที่ ภาคใต้ • กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล • มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ • ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ส่วนใหญ่ เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะเป็นพวกปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
  • 23. 2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) • พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา • ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร • ปริมาณน้าฝน 1,000 -1,500 ม.ม. • พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและค่อนข้างโล่ง เตียน ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 24. 3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) • อยู่สูงจากระดับน้าทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป • ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อุทยาน แห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น • มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 ม. • พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย • มีป่าเบจพรรณด้วย บางทีก็มีสนเขาขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่างเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอส ต่าง ๆ • ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGEEN FOREST)
  • 25. 4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา ป่าบอเรียล • กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย • ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป • ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง • ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ้นปะปนอยู่ พืช ชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 26. 5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest) • เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน • เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้าท่วมขังหรือชื้นแฉะตลอดปี • พบในจังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร • พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทาลายเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นสวนมะพร้าว นาข้าว และบ่อเลี้ยงกุ้งเลี้ยงปลา • ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 27. ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST) 6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) • พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลน และน้าทะเลท่วมถึง • เช่น ตามชายฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ระนองถึงสตูล • แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา • ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู โพทะเล เป็นต้น
  • 28. ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST) • เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ • การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน • สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ 1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ • ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง • ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี • เป็นสังคมพืชที่มีความหลากหลายมาก • จะผลัดใบมากในฤดูแล้ง • พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่า แดง ประดู่ และชิงชัน
  • 29. 2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ • ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง • มีปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี • พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า เช่น เต็ง รัง พลวง มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน ฯลฯ เป็น ต้น • พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง พวกขิง ข่า เป็นต้น ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
  • 30. 3. ป่าหญ้า เป็นป่าที่เกิดภายหลังจากที่ป่าธรรมชาติอื่น ๆ ได้ถูกทาลายไป • ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อาจเจริญงอกงามต่อไปได้ • หญ้าต่าง ๆ จึงเข้ามาแทนที่ พบได้ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน • เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น • ไม้ต้นมีขึ้นกระจายห่าง ๆ กันบ้าง เช่น กระถินป่า ประดู่ ตานเหลือง และปรงป่า เป็นต้น ไม้เหล่านี้ทน แล้งและทนไฟป่าได้ดี ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
  • 31. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ • พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ( 90%จะถูกใช้ใน กระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภค ไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) • การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสม ในสิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะ เกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยัง ผู้ผลิต • พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับ พลังงานขันสุดท้าย
  • 34. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 1. พีระมิดจานวน เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร 2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่อาหาร 3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิตจนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด
  • 36. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 1. อุณหภูมิ 1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของเอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ) 1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ 1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น 1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง 2. แสง 2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก 2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน 2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
  • 37. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 3. น้้ำและควำมชื้น 3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง 3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า 4. ดิน 4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต 4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต 5. ควำมเป็นกรด-เบสของดินและน้้ำ 5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดิน และแหล่งน้าที่มีความเป็นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโตและดารงชีวิตอยู่ได้) 5.2 ความเป็นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
  • 39. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตมีหลายแบบ ได้แก่ 1. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism, + / +) 2. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation, + / +) 3. ภาวะเกื้อกูลหรือภาวะอิงอาศัย (commensalims, + / 0) 4. ภาวะปรสิต (parasitism,+ / -) 5. การล่าเหยื่อ (predation, + / -) 6. ภาวะการแก่งแย่ง (competition, - / -) 7. ภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism.+ / 0) 8. ภาวะการหลั่งสารห้ามการเจริญหรือการทาลายล้าง (0,-) 9. ภาวะที่เป็นกลาง (neutralism, 0 / 0)
  • 40.
  • 42. วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE) • วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด และหมุนเวียนผ่านหายใจและ การสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปแก๊ส CO2
  • 43. • วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนในสิ่งมีชีวิต โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช สัตว์ และ จุลินทรีย์ วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
  • 44. • วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการหมุนเวียนสู่ บรรยากาศ วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
  • 46. • วัฏจักรน้า มีมากในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสาคัญ เช่น น้าช่วยลาเลียงสารต่างๆ เป็นตัวกลางในการทาปฏิกิริยา รักษาสมดุลของอุณหภูมิ วัฏจักรสาร (MATERIAL CYCLE)
  • 47. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา = กลุ่มสิ่งมีชีวิตในที่ใดที่หนึ่งถูกแทนที่โดยกลุ่มใหม่อยู่เรื่อยๆ และจะหยุดลงเมื่อ มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มสุดท้าย ทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป/คงตัว = กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด มี 2 แบบ 1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ จากบริเวณที่ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตอยู่ก่อนเลยต่อมามีปรากฏขึ้นพวกแรก (ผู้บุกเบิก) และมีการเปลี่ยนแปลงเป็นลาดับขั้นจนกระทั่งถึงระยะขั้นสุด ที่ว่าง → ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น → กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด 2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ จากบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตขั้นสุดจากปฐมภูมิแล้วและถูกทาลาย จึงเกิดการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดแบบเดิม หรือใหม่ เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทาให้เสียสมดุล
  • 48.
  • 49. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง N = จานวนประชากร A = พืนที่หรือปริมาตร • การแพร่กระจายประชากร เนื่องจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทาง กายภาพและชีวภาพ • ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความสูงจากระดับนาทะเล อุณหภูมิ แสง ความชืน และกรด-เบส • ปัจจัยทางชีวภาพ เช่น สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันที่มีการแก่งแย่ง แข่งขัน แย่งปัจจัยในการดารงชีวิต
  • 50. P = p M m ตัวอย่างเช่น นักเรียนจับหอยทากมาทาเครื่องหมายทั้งหมด 10 ตัวแล้วปล่อยกลับคืน อีก 1 อาทิตย์ต่อมาจับหอยทากมาได้ ทั้งหมด 50 ตัว พบว่ามีหอยทากที่ทาเครื่องหมาย 5 ตัว จงหา จานวนของประชากรหอยทากนี้
  • 51. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนการรอดชีวิตของ ประชากรซึ่งขึ้นอยู่กับช่วงอายุขัย (life span) ในช่วงวัยต่างๆ กันทาให้ความหนาแน่นแตกต่าง กันด้วย เรียกว่า กราฟการรอดชีวิตของประชากร
  • 52. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • โครงสร้างประชากรของมนุษย์ • แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย • แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นช้าๆ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย • แบบ ค ระฆังคว่า แสดงว่าประชากรมีขนาดคงที่ เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี • แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย
  • 53.
  • 54.
  • 56. ทรัพยากรน้า • เป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้าเพื่อดารงชีวิตด้านต่างๆ เช่น เป็นที่อยู่อาศัย และแพร่พันธุ์แบ่งออกเป็น 3 แหล่งใหญ่ ได้แก่ 1. หยาดน้าฟ้า 2. น้าผิวดิน 3. น้าใต้ดิน ทรัพยากรดิน • ดินป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ และเป็นทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ อีก เช่น ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ป่า เป็นต้น จาแนกตามลักษณะเนื้อดินได้ 3 ชนิด คือ 1. ดินเหนียว 2. ดินร่วน 3. ดินทราย ทรัพยากรอากาศ • อากาศจัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีวันหมดสิ้นและเป็นทรัพยากรที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด องค์ประกอบของอากาศ ได้แก่ 1. แก๊สไนโตรเจน 78% 2. แก๊สออกซิเจน 21% 3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% 4. แก๊สอื่นๆ 0.97%
  • 57.
  • 58. ทรัพยากรป่าไม้ • ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ และสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งรวมของ ความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งเอื้ออานวยต่อปัจจัยสี่ในการดารงชีวิตของมนุษย์ เป็นแหล่งของต้นน้าลาธาร ช่วยรักษา ระดับอุณหภูมิของโลก ควบคุมปริมาณน้าฝน ช่วยในการอนุรักษ์ดินและน้าและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า แบ่งเป็น ป่ำไม่ ผลัดใบและป่ำผลัดใบ ทรัพยากรสัตว์ป่า • สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ปัจจุบันพบว่าจานวนสัตว์ป่าลดลงและมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่ป่ไม้ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหากิน และสืบพันธุ์ของสัตว์ป่าลดลง นอกจากนี้การลดลงของสัตว์ป่ายังเกิดจาก สาเหตุอื่นๆอีกที่มนุษย์เป็นผู้กระทา เช่น การล่าสัตว์ป่าเพื่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น แบ่งเป็น สัตว์ป่ำสงวนและสัตว์ป่ำ คุ้มครองประเภทที่ 1 (สวยงำม) ,2 (อำหำร)
  • 61. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ • เอเลียนสปีชีส์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกต่างจากพื้นที่การแพร่กระจายตามธรรมชาติ โดยสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ตามบทบาทที่มีผลต่อระบบนิเวศ คือ 1. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่รุกราน จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง 2. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่จะมาแทนที่พันธุ์พื้นเมื่องเดิมที่มีอยู่ได้และยังสามารถขัดขาวงการเจริญของพันธุ์อื่นๆ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ แนวทางและมาตรการในการป้องกัน 1. การระมัดระวัง 2. แนวทางบันไดสามขั้น ได้แก่2.1 การป้องกัน 2.2 การสืบพบ 2.3 การกาจัด 3. แนวทางเชิงระบบนิเวศ 4. ความรับผิดชอบของคนในสังคม 5. การวิจัยและติดตาม 6. การให้การศึกษาและเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชน
  • 62. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization) หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรชาติอย่างเหมาะสม ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยสุดหรือไม่เกิดเลย หรือเมื่อเกิดของเสียและมลพิษ ในสิ่งแวดล้อมก็ต้องหาวิธีการบาบัด กาจัด ให้คืนสภาพหรือรีไซเคิล เพื่อให้มลพิษในสิ่งแวดล้อม ลดน้อยลง 2. การเก็บกัก (storage) หมายถึง การรวบรวมและเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้ เพื่อเอาไว้ใช้ในอนาคต ซึ่งมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป 3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดยมนุษย์หรือโดยธรรมชาติก็ตามมีความ จาเป็นที่จะต้องรักษาหรือซ่อมแซมให้กลับเป็นปกติ 4. การฟื้นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมไปไม่ว่าจะมากหรือน้อย ก็ตาม จึงมีความจาเป็นที่จะต้องฟื้นฟูให้เป็นสภาพปกติเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อีก 5. การป้องกัน (prevention) การป้องกันเป็นวิธีการที่ปกป้องคุ้มครองทรัพยากรที่กาลังถูกทาลาย หรือมีแนวโน้มว่าจะถูกทาลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติได้
  • 63. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation) หมายถึง การใช้สิ่งแวดล้อม อย่างมีเหตุผล เพื่ออานวยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตลอดไปแก่มนุษย์ โดยมีแนวความคิดที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอยู่ 6 ประการคือ 1) ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ผลแก่มนุษย์ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษ และคานึงถึงเรื่องความสูญเปล่าใน การจะนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ 2) รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง ตระหนักเสมอว่าการใช้ทรัพยากรมากเกินไปจะเป็นการไม่ปลอดภัย ต่อสภาพแวดล้อม ฉะนั้นต้องทาให้อยู่ในสภาพเพิ่มพูนทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจ 3) รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพูนเท่ากับอัตราที่ต้องการใช้เป็นอย่างน้อย 4) ประมาณอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้ พิจารณาความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ 5) ปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพยายามค้นคว้าสิ่งใหม่ ๆ ทดแทนการใช้ทรัพยากรจาก แหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของประชากร 6) ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติ ซึ่งมีผลต่อการทาให้สิ่งแวดล้อมอยู่ในสภาพที่ดี โดย ปรับความรู้ที่จะเผยแพร่ให้เหมาะแก่วัย คุณวุฒิ บุคคล สถานที่หรือท้องถิ่น
  • 64. การลดปริมาณขยะด้วย “กลยุทธ์ 5R” ตัว R ตัวแรก ก็คือ Reduce หมายถึงลดการใช้ เป็นการลดขยะที่จะทิ้งให้เหลือน้อยลง เลือกซื้อสิ่งของเครื่องใช้ที่ต้องการ และบรรจุหีบห่อน้อย และมีอายุการใช้งานนานๆ ตัว R ตัวที่สอง Reuse คือการใช้ซ้า นาสิ่งของเครื่องใช้ที่ยังใช้ได้อยู่ มาดัดแปลงเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ ตัว R ตัวที่สาม เรามักได้ยินกันอยู่เสมอ ก็คือ Recycle การรีไซเคิลขยะเป็นการนาเอาวัสดุที่ใช้แล้ว กลับไปเข้า กระบวนการผลิตใหม่ให้เป็นของใหม่ ที่อาจเหมือนเดิมหรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ วัสดุที่นาไปเข้ากระบวนการผลิตใหม่ ได้แก่ พลาสติก โลหะ กระดาษ แก้ว ตัว R ตัวที่สี่ ก็คือ Repair ได้แก่การซ่อมหรือแก้ไข โดยนาสิ่งของเครื่องใช้ที่แตกหักเสียหาย มาซ่อมหรือแก้ไขให้อยู่ใน สภาพที่ใช้ได้ต่อได้นั่นเอง ส่วนตัว R ตัวสุดท้าย ก็คือ Reject ซึ่งหมายถึงการหลีกเลี่ยงขยะพิษ หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย ไม่ควรนาภาชนะ เปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีอันตรายมาใส่วัสดุอื่นโดยเด็ดขาด
  • 66. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 67. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 68. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 69. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 70. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 71. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 72. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 73. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 74. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 75. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 76. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 77. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 78. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 79. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
  • 80. แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม