SlideShare a Scribd company logo
1 of 100
Download to read offline
1
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241)
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
• พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
• พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
• พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
 พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็ก ๆ เพื่อจะก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละ
ชนิด โดยโครงสร้างเล็กๆ ๆนั้นจะมารวมกันมีกิจกรรมต่างๆร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะ
ของสิ่งมีชีวิตต่างๆโครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุดซึ่งเราเรียกว่า เซลล์ (cell)
 เซลล์จัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีรูปร่างลักษณะขอบเขต และโครงสร้างของเซลล์ ซึ่ง
โครงสร้างบางส่วน จะสามารถระบุได้ว่าเซลล์นั้นเป็นลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดใด
3
4
5
6
7
8
 ครอบคลุมถึงใจความที่สาคัญ 3 ประการ คือ
1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ซึ่งภายในเซลล์มีสาร
พันธุกรรมและกระบวนการเมแทบอลิซึม ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทางานภายใน
โครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์มีกาเนิดจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่าชีวิต
แรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของ
จานวนเซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน
9
10
11
GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS
- สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ
เป็นลาดับขั้นดังนี้
- เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด
- ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน
ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
The size range of cells
ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง
Myoplasma
แบคทีเรีย
ส่วนใหญ่ของ
eukaryotic cell
0.1 - 1.0 ไมครอน
1.0 - 10.0 ไมครอน
10.0 - 100.0 ไมครอน
12
Prokaryotic and Eukaryotic cell
13
Prokaryotic cell (pro=before)
พบเฉพาะใน Kingdom Monera
ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง, ไม่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส (not true nucleus)
สารพันธุกรรมอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า
nucleoid (กระจายอยู่ใน cytoplasm)
ไม่มี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม
ได้แก่ bacteria ,blue green algae
(cyanobacteria)
Eukaryotic cell (eu=true)
 พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plantae และ Animalia
 มีนิวเคลียสที่แท้จริง (true nucleus) , หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane)
 สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส และพบออร์แกนแนลล์ทั้งไม่มีเยื่อหุ้ม/เยื่อหุ้ม 1 ชั้น และ 2 ชั้น
 ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol (liquid) และมี organelles (solid)
Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส
Cytosol = สารกิ่งของเหลวภายใน cytoplasm
14
15
16
Prokaryote
EukaryoteThe Endosymbiosis
18
19
Basic Of Cell Structure
20
ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นโครงสร้างที่อยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์พบเฉพาะใน
สิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย (peptidoglycan) สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (cellulose)
เห็ด รา ยีสต์ (chitin) สาหร่ายทุกชนิด และพืช (cellulose) โดยผนังเซลล์ทาหน้าที่
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทาให้เซลล์คงรูปร่าง : permeability
Basic Of Cell Structure
21
22
23
Basic Of Cell Structure
24
25
 ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็ นไมโครวิลไลและเยื่อไมอีลิน
 ห่อหุ้มเซลล์และกาหนดขอบเขตของเซลล์อย่างชัดเจน (cell covering)
 การติดต่อสื่อสารและการจดจากันระหว่างเซลล์ (cell communication)
26
27
28
นิวเคลียส มีความหมายว่า ใจกลาง หรือส่วนที่อยู่ตรงกลาง (The center of cell)มีหน้าที่ คือ การรักษา
เสถียรภาพของยีน (Gene stabilize) ต่างๆและทาการควบคุมการทางานต่างๆของเซลล์โดยผ่านการ
แสดงออกของยีน (Gene Expression)
องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear envelope)
เป็นเยื่อ 2 ชั้น (bilayer of membrane) มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores or annulus) แทรกอยู่
ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้ (transportation)
ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรม (genetics material) ที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับ
โมเลกุลของโปรตีน (histone protein) เรียกว่า โครมาทิน (chormatin) ขดแน่นเป็นโครโมโซม
(chromosome)
2. นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
• มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่ง
หรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ทาหน้าที่สร้าง ribosome (ribonucleoprotein)
29
นิวเคลียส (nucleus)
30
31
32
องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
3. โครมาติน (Chromatin)
ลักษณะเป็นเส้นใยยาวในนิวเคลียส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40-50 อังสตรอม ยาวมาก ขดกัน
เหมือนสปริงและพันเป็นกลุ่ม
ประกอบด้วยโมเลกุล DNA และโปรตีนหลายชนิดหุ้มรอบ
DNA หรือ deoxyribonucleicacid คือ สายพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ของสิ่งมีชีวิต
เมื่อแบ่งเซลล์ เส้นในโครมาตินจะหดตัว ปรากฏเป็นเส้นหนาชัดขึ้นเรียกว่าโครโมโซม
(Chromosome) แต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) จากการจาลองตัวเองใน
ระยะอินเตอร์เฟสของกระบวนการแบ่งเซลล์ (interphaseof cell division)
กล้องจุลทรรศน์ธรรมดามองเห็นนิวเคลียสได้ชัด เพราะเส้นใยโครมาตินย้อมติดสีได้ดี
33
34
35
ไรโบโซม Ribosomes
เป็น organelle ไม่มีเยื่อหุ้ม หน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus พบได้ทั้ง
prokaryotic cell (70s=50s+30s) และ eukaryotic cell (80s=60s+40s) โดยเซลล์ที่สร้างโปรตีนสูง
จะพบ nucleolus และ ribosome จานวนมาก เช่น เซลล์ตับของคน แบ่งเป็น 2 ชนิด
36
1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolism
ใน cytoplasm
2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ
organelles อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
37
Ribosomal Structure
38
39
เซนทริโอล (centriole)
เป็นออร์แกเนลล์ที่อยู่ใกล้นิวเคลียสและพบเฉพาะในเซลล์สัตว์และโพรทิสต์บางชนิด โดยหน้าที่สาคัญอย่าง
หนึ่งของเซนทริโอล คือ สร้างเส้นใยสปินเดิลในกระบวนการแบ่งเซลล์ (สามารถจาลองตัวเองได้)
40
The function of centriole
41
arrangement
of
microtubules
42
43
เส้นใยโปรตีนโครงสร้างของเซลล์ : ไม่มีเยื่อหุ้ม (Cytoskeleton)
1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin
และอาจมี myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัว
ของกล้ามเนื้อ การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของ
ไซโตพลาสซึม (กระบวนการแบ่งเซลล์) pseudopodia
movement หรือ ameboid movement
2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก
ประกอบด้วยโปรตีนอย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรง
ดึง เช่น เดสโมโซมที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของ
เซลล์ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับการยึดกันของไมโครฟิลาเมนท์ใน
เซลล์กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุน axon ของเซลล์ประสาท
3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็ง
ที่สุด พบเป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโต
รโซม และเซนตริโอล มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ
โครโมโซม (กระบวนการแบ่งเซลล์) ออร์การ์เนลล์ในไซโต
พลาสซึม และ การพัดโบกของซีเลียกับแฟลกเจลลา
44
The Structure of Cytoskeleton
ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม : Endoplasmic reticulum (ER)
มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน
cytosol มีช่องภายใน เรียกว่า cisternal space
เชื่อมติดต่อกับช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส
1. Rough endoplasmic reticulum
(RER) หรือ ร่างแหแบบขรุขระ มีไรโบโซมเกาะติด
ด้านนอก (ขรุขระ) สร้างโปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์
(ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER cisternal
vesicle Golgi complex เพิ่ม
คาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก
2. Smooth endoplasmic reticulum
(SER) หรือ ร่างแหแบบเรียบ ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ
จึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ RER มีความสาคัญในการ
สร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมัน ลดความเป็น
พิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บและปล่อย
แคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น
45
46
The function of Endoplasmic reticulum (ER)
กอลจิบอดี้หรือ กอลจิแอปพาราตัส (Golgi body/ apparatus)
47
เป็นออร์แกเนลล์เยื่อหุ้ม 1 ชั้น ลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi
cisternar ตรงกลางเป็นท่อแคบภายในบรรจุของเหลวและปลายสองข้างโป่งออก (trans and
cis face) และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนจาก
RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ exocytosis, สร้าง primary
lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
48
ไลโซโซม : Lysosomes
 เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น รูปร่างกลมมีขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทา
หน้าที่ย่อยสลายสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดประมาณ pH5)
 Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER (protein production)
และส่งต่อไปยัง Golgi complex (vesicle formation)
 intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน เช่น macrophage
(monocyte) โดยวิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมตัวกับ lysosome
(membrane fusion) ซึ่งเอ็นไซม์ภายใน cytosome ของ lysosome จะทาหน้าที่ย่อยสลายอาหารนั้น
 การย่อยสลาย organelles ในไซโตพลาสซึมตนเอง (autophagy) เพื่อนาสารกลับมาใช้สร้างใหม่
 การเกิด metamorphosis ในการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก (amphibian)
 มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก (metabolic enzyme) ถ้าหากมี
ความผิดปกติในการทางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้ (abnormality)
49
50
Lysosomes
(a) Lysosomes in a white blood cell
51
(b) A Lysosome in action
Peroxisome
fragment
Mitochondrion
fragment
Lysosome
The formation and functions of lysosomes
52
Relationships among organelles of the
endomembrane system
53
แวคิวโอล (Vacuoles)
 คือ ถุงบรรจุสาร เป็นออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่เรียกว่า โทโนพลาสต์
(tonoplast) ห่อหุ้ม ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ชั้นต่า ในสัตว์ชั้นสูงไม่ค่อยพบ แวคิวโอลแแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole) ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้าและกาจัดของเสีย
ภายในเซลล์ (homeostasis) พบในเซลล์ อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา เป็นต้น
(fresh water protist)
2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) บรรจุอาหารที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบใน
เซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่มีกระบวนการจับกิน (phagocytosis)
3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) พบในเซลล์พืช ตอนอายุน้อย ๆ มีจานวนมาก แต่เมื่ออายุมากเข้า
จะรวมเป็นถุงเดียวขนาดใหญ่ (มักมีขนาดใหญ่ที่สุดภายในเซลล์และอยู่กลางเซลล์) มีหน้าที่สะสม
สาร เช่น สารสี ไอออน น้าตาล สารพิษ (storage function)
54
55
แวคิวโอล (Vacuoles)
Food vacuole
Peroxisomes (microbodies)
 พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด เป็นถุงเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่ง
เป็นที่รวมของเอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม
 เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทาลาย hydrogen peroxide
(H2O2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นภายในเซลล์
RH2 + O2
Oxidase R + H2O2
2H2O2
catalase 2H2O + O2
ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับการ
ทาลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol
56
57
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
 พบใน eukaryoticcell เกือบทุกชนิด พบโดย คอลลิคเกอร์ (Kollicker) รูปร่างลักษณะ
ส่วนใหญมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
0.2 – 1 ไมครอน ยาว 5 – 7 ไมครอน ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมัน
 มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ (smooth outer membrane) ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่ ง
ยื่นเข้าข้างในเรียกว่า cristae (inner membrane) เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่อง
ภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane space) และ
ช่องบรรจุของเหลวที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (mitochodrial matrix)
 มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน (aerobiccellular
respiration): กระบวนการผลิต ATP (Phosphorylation: ATP synthase)
 มี DNA (circularDNA) และ ribosome(70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความ
ต้องการพลังงาน (endosymbiosis: prokaryoticcell)
58
59
60
 เป็นเม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น พบได้ในเซลล์พืชและสาหร่ายทั่วไปยกเว้นสาหร่าย
สีเขียวแกมน้าเงิน ในโพรโทซัว พบเฉพาะในพวกที่มีแส้ เช่น ยูกลีนา วอลวอกซ์พลาสติด
 จาแนกได้ 3 ชนิด ได้แก่ คลอโรพลาสต์ โครโมพลาสต์ และลิวโคพลาสต์
 คลอโรพลาส เป็นพลาสติดที่มีสีเขียวเพราะมีคลอโรฟีลล์เป็นองค์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่ง
สร้างอาหารของพืชและโพรติสต์บางชนิด ภายในมีโครงสร้างคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า ไท
ลาคอยด์ และไทลาคอยด์จะเรียงซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า กรานุม แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อมต่อ
ถึงกัน บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น คลอโรฟีลล์ แคโรทีนอยด์
และมีของเหลวที่เรียกว่า สโตรมา อยู่รอบไทลาคอยด์ ในสโตรมามีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 โครโมพลาสต์ เป็นพลาสติดที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่าง ๆ ยกเว้นสีเขียว ทาให้ดอกไม้ ใบไม้และผลไม้
มีสีสันสวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก รากของแครอท มะละกอ มะเขือเทศ และใบไม้แก่ ๆ
เนื่องจากมีสารแคโรทีนอยด์ ให้สีส้มและสีแดง สารแซนโทฟีลล์ ให้สีเหลืองและน้าตาล
 ลิวโคพลาสต์ เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี มีหน้าที่สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงพบใน
เซลล์ของรากและเซลล์ที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร เช่น มันแกว มันเทศ เผือก พบในผลไม้ เช่น กล้วย
และพบในเซลล์พืชบริเวณที่ไม่มีสี
พลาสติด (Plastid)
61
62
63
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่ง
ประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ในพืชแต่ละชนิดมีรูปร่าง จานวนและขนาดแตกต่างกันออกไป ในเซลล์พืชชั้นสูงจะมีขนาดใหญ่ มีรูปร่าง
แบบไข่ รูปจานหรือทรงกระบอก ภายในมีอาหารสะสมประเภทแป้งอยู่ด้วย Chloroplast ที่เจริญในที่ร่ม
จะมีขนาดใหญ่กว่าและภายในมีคลอโรฟิลล์มากกว่าที่เจริญในที่สว่าง จานวนของ Chloroplast ไม่
แน่นอนในแต่ละเซลล์ ซึ่งจะแพร่กระจายสม่าเสมอทั่วเซลล์ โดยขึ้นอยู่กับปริมาณของแสงสว่างที่พืช
ได้รับและกระบวนการไซโคลซิส
Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น แต่ละชั้นหนาประมาณ 8-10 นาโนเมตร และห่างกันประมาณ 10-20 นาโน
เมตร เยื่อหุ้มชั้นนอกมีผิวเรียบ หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma (dark reaction) ภายในมีถุง
แบน thylakoids (light reaction) ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum เชื่อมด้วย intergrana
มี DNA (circular) และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์
แสง
64
65
66
What is type of Cell ?Why ?
67
เซลล์สัตว์ (Animal cell)
คือ หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดของสัตว์ มีรูปร่างกลมๆมนๆรีๆ มีความอ่อนนุ่ม ไม่
เป็นเหลี่ยม ไม่มีคลอโรพลาสต์ (Chloroplast)จึงทาหน้าที่เป็นผู้บริโภค (consumer) และไม่มี
ผนังเซลล์ (Cell Wall) แบบที่มีอยู่ในเซลล์พืช มีแต่เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ไม่มีแวคคิว
โอล หรือ มีแต่มีขนาดเล็กจนไม่สามารถมองเห็นได้ชัดหรือ มีจะมีอยู่ในเซลล์สัตว์ชั้นต่า มักจะ
ไม่ค่อยพบในเซลล์สัตว์ชั้นสูง ในเซลล์สัตว์มักจะพบไลโซโซม (Lysosome) ซึ่งแตกต่างจากพืช
ที่จะมี ไลโซโซม (Lysosome)ในพืชบางชนิดเท่านั้น และในเซลล์สัตว์ก็มักจะพบเซนทริโอล
(Centriole)ที่ไม่มีในเซลล์พืช (ในพืชมี polar body ทาหน้าที่แทน) นอกจากนี้ ยังสามารถพบ
โครงสร้างที่ช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น cilia กับ flagella
นอกนั้นเซลล์สัตว์ก็มีองค์ประกอบคล้ายๆกับเซลล์ทั่วไป คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell
Membrane), นิวเคลียส(Nucleus), ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ที่ประกอบไปด้วยออร์แกแนลล์
(Organelle)ต่างๆเช่น กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซม (Ribosome), เอนโด
พลาสมิกเรติคูลัม (EndoplasmicReticulum,ER), ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นต้น
68
69
เซลล์พืช (Plant cell)
คือ หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดของพืช มีส่วนประกอบสาคัญคือผนังเซลล์(Cell Wall) ซึ่ง
เป็นเส้นใย cellulose สานตัวเป็นร่างแหที่แข็งแรงที่ห่อหุ้มชั้นนอกสุดของเซลล์ (Cell) มีรูปร่างเซลล์
(Cell) เป็นเหลี่ยม และเซลล์มีคลอโรพลาสต์(Chloroplast) เป็นออร์แกแนลล์ (Organelle)ที่เป็น
องค์ประกอบสาคัญของพืช นอกนั้นเซลล์พืชก็มีองค์ประกอบคล้ายๆกับเซลล์ทั่วไป คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์
(Cell Membrane), นิวเคลียส(Nucleus), ไซโทพลาซึม( Cytoplasm) ที่ประกอบไปด้วยออร์แกแนลล์
(Organelle)ต่างๆ เช่น กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซ ม (Ribosome), เอนโดพลาสมิกเร
ติคูลัม (Endoplasmic Reticulum, ER), ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) เป็นต้น นอกนั้นเซลล์พืชก็จะ
มีออร์แกแนลล์(Organelle) ที่ชื่อ แวคิวโอล (Vacuole) ที่มีขนาดใหญ่กว่าของเซลล์สัตว์มาก
ที่ผนังเซลล์(Cell Wall)ของเซลล์พืช จะมีช่องพลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) (รูป
เอกพจน์ใช้ พลาสโมเดสมา, Plasmodesma) ที่เป็นช่องว่างขนาดเล็กจานวนมาก มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 50-60 นาโนเมตร ช่วยในการทาหน้าที่เชื่อมต่อเซลล์(Cell)ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วย
ในการขนส่งแลกเปลี่ยนสิ่งต่างๆระหว่างเซลล์พืช (สมบัติการลาเลียงสารแบบ Pemeability)
70
71
72
การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes)
การรักษาดุลยภาพของเซลล์เป็นหน้าที่สาคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะควบคุมการผ่านเข้า-ออกของ
สารระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอกกับภายในเซลล์ ซึ่งการลาเลียงสารเข้า-ออกเซลล์ มี 2 รูปแบบด้วยกัน ดังนี้
1. การลาเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 2. การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลาเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
1.1 การแพร่ (Diffusion) 1.2 ออสโมซิส (osmosis)
1.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitateddiffusion)
2. การลาเลียงแบบใช้พลังงาน หรือแอกทีฟทรานสปอร์ต (Activetransport)
การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis)
2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) 2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-mediatedendocytosis)
73
Diffusion and Passive transport
การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณ
ความเข้มข้นมากกว่าไปยังน้อยกว่า จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic
equilibrium) โดยโมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสอง
บริเวณ การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport
เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทาให้เกิดการแพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ selective
permeable ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆจะไม่เท่ากัน
74
ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต
ได้แก่ การหายใจของสัตว์
ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจาก
อากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมี
ความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย
ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปใน
เส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน
คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้น
เลือดเข้าสู่ถุงลม
75
กระบวนการแพร่ธรรมดา (simple diffusion)
กระบวนการออสโมซิส (Osmosis)
หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้าหนาแน่นมากกว่า
หรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้า
น้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ส่วนสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน การเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าทั้งสองบริเวณจึง
เท่ากัน (isotonic solution)
76
The water balance of living cells
ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ
เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์
77
78
The phenomenon of osmosis
The contractile vacuole of Paramesium : an
evolutionary adaptation for osmoregulation
Filling vacuole
Contracting vacuole
79
กระบวนการแพร่แบบ Facilitated diffusion
Transport proteins / Carrier protein ช่วยในการนาโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ากว่า อย่างจาเพาะ
เจาะจง (specificity) เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดยเซลล์ไม่ต้องใช้
พลังงาน (passive transport)
80
81
82
กระบวนการลาเลียงสารแบบ Active transport
บางครั้งเซลล์ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่าไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า
กระบวนการนี้เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานในการขับเคลื่อน protein carrier ในการ
ขนส่งสาร คือ ATP (adenosine triphosphate) เกิดกระบวนการสะสมสารสาคัญต่อกระบวนการ
ดารงชีวิตภายในเซลล์
ตัวอย่างเช่น การทางานของเซลล์ประสาทระยะพัก (resting stage) จะเกิดการขับ Na+ ออก
นอกเซลล์ 3 โมเลกุล และนา K+ เข้าไปในเซลล์ 2 โมเลกุล ซึ่งเรียกว่า Sodium-potassium pump
83
84
กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็น transport protein แล้ว ATP ให้พลังงานแก่โปรตีน
ทาให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย Na+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีน ทาให้
โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทาให้ K+ ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิมอีก
พร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
An electrogenic pump
Electrogenic pump เป็น transport protein ที่ทาให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ (การที่ผิวด้านใน
ของเซลล์และด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ มีความเป็นประจุบวก (cations) และประจุลบ (anions) ไม่
เท่ากัน ทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า โดยผิวด้านในจะมีประจุลบอยู่มากกว่าผิวภายนอกเซลล์เสมอเมื่อ
เซลล์อยู่ในภาวะปกติ)
85
An electrogenic pump
ตัวอย่างเช่น
Na+/K+ pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์สัตว์
Proton pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์พืช แบคทีเรีย และพวก
เห็ดรา รวมทั้ง mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP
86
Co-transport เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียวทางานแล้วมีผลไปทาให้
transport protein ตัวต่อไปทางานเพื่อนาสารเข้าสู่เซลล์
ตัวอย่างเช่น ในเซลล์พืชใช้ proton pump
ร่วมกับ transport protein ที่นา sucrose
–H+ เข้าไปในเซลล์
87
88
89
90
Passive transport VS Active transport
Phagocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสาร
ของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับ lysosome
ซึ่งภายในมี hydrolyticenzymesที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป อะมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้
การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์
กระบวนการ Endocytosis
91
92
กระบวนการจับกินของเซลล์ : Cell eating (Phagocytosis)
การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์
กระบวนการ Pinocytosis
Pinocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนาสารเข้า
ไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm
93
94
กระบวนการดื่มของเซลล์ : Cell drinking (Pinocytosis)
การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์
กระบวนการ Receptor-mediated endocytosis
Receptor-mediated endocytosis เป็นการนาสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปใน
เซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสาหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนาเข้าไป
ในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนามาใช้ใหม่ได้อีก
95
96
(specification)
97
98
การส่งสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ออกนอกเซลล์เป็นวิธีที่คล้ายกับพินโนไซโตซิส แต่ถุงของสารถูก
ส่งออกนอกเซลล์ เรียกกระบวนการนี้ว่า รีเวอร์ส พินโนไซโตซิส (reverse pinocytosis) บางที
เรียกว่า เอ็กโซไซโตซิส (exocytosis) หรือ อีมิโอไซโตซิส (emiocytosis)
จากรูปจะเห็นถุงของสาร (secretory
vesicle) หรือโมเลกุลขนาดใหญ่ของ
ไขมันและโปรตีน ถูกส่งมาจาก
กอลไจ บอดี เข้ามาที่เยื่อหุ้มเซลล์ แล้ว
รวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ และถูกปล่อยออก
นอกเซลล์ในที่สุด ในการนี้อาจมี
สัญญาน การควบคุมจากฮฮร์โมน หรือ
จากสารที่เป็นสื่อนาคลื่นประสาท
(neurotransmitter) มาควบคุมการ
รวมตัวของถุงของสารกับเยื่อหุ้มเซลล์
ก่อนการส่งถุงออกมาด้วยก็ได้
99
กระบวนการลาเลียงสารแบบ Exocytosis
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 

What's hot (20)

Key bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaituKey bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaitu
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

Viewers also liked

การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7New Nan
 
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1 ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1 MI
 
ตามรอยบูรพาจารย์ 1
ตามรอยบูรพาจารย์ 1ตามรอยบูรพาจารย์ 1
ตามรอยบูรพาจารย์ 1MI
 
Odour Management 101 Wef2008
Odour Management 101 Wef2008Odour Management 101 Wef2008
Odour Management 101 Wef2008mtingle
 
The presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsThe presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

Human respiration mee
Human respiration meeHuman respiration mee
Human respiration mee
 
How to be a great coach
How to be a great coachHow to be a great coach
How to be a great coach
 
Circulatory system mee
Circulatory system  meeCirculatory system  mee
Circulatory system mee
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจำกัดการเคลื่...
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
Severn Trent site visit
Severn Trent site visitSevern Trent site visit
Severn Trent site visit
 
Coach
CoachCoach
Coach
 
Odoflux
OdofluxOdoflux
Odoflux
 
Paul Ottley, Odournet UK
Paul Ottley, Odournet UKPaul Ottley, Odournet UK
Paul Ottley, Odournet UK
 
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
200 ทิปลับวินโดวส์ windows 7
 
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1 ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1
ธรรมะจากหลวงพ่อชา 1
 
The Immune System
The Immune SystemThe Immune System
The Immune System
 
Hb5
Hb5Hb5
Hb5
 
ตามรอยบูรพาจารย์ 1
ตามรอยบูรพาจารย์ 1ตามรอยบูรพาจารย์ 1
ตามรอยบูรพาจารย์ 1
 
Unit2 october2012
Unit2 october2012Unit2 october2012
Unit2 october2012
 
Odour Management 101 Wef2008
Odour Management 101 Wef2008Odour Management 101 Wef2008
Odour Management 101 Wef2008
 
The presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobsThe presentation secrets of steve jobs
The presentation secrets of steve jobs
 
Presentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอPresentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอ
 
Powerful Presentation Skills
Powerful Presentation SkillsPowerful Presentation Skills
Powerful Presentation Skills
 
Leader
LeaderLeader
Leader
 

Similar to บท3เซลล์

9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

Similar to บท3เซลล์ (20)

เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
Cell
CellCell
Cell
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บท3เซลล์

  • 1. 1 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา 1 (ว30241) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
  • 2. นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : • พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล • พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต • พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3.  พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็ก ๆ เพื่อจะก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละ ชนิด โดยโครงสร้างเล็กๆ ๆนั้นจะมารวมกันมีกิจกรรมต่างๆร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆโครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุดซึ่งเราเรียกว่า เซลล์ (cell)  เซลล์จัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต  เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีรูปร่างลักษณะขอบเขต และโครงสร้างของเซลล์ ซึ่ง โครงสร้างบางส่วน จะสามารถระบุได้ว่าเซลล์นั้นเป็นลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดใด 3
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9.  ครอบคลุมถึงใจความที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ซึ่งภายในเซลล์มีสาร พันธุกรรมและกระบวนการเมแทบอลิซึม ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทางานภายใน โครงสร้างของเซลล์ 3. เซลล์มีกาเนิดจากเซลล์แรกเริ่ม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่าชีวิต แรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของ จานวนเซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน 9
  • 10. 10
  • 11. 11 GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS - สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้นดังนี้ - เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด - ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
  • 12. The size range of cells ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง Myoplasma แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ eukaryotic cell 0.1 - 1.0 ไมครอน 1.0 - 10.0 ไมครอน 10.0 - 100.0 ไมครอน 12
  • 13. Prokaryotic and Eukaryotic cell 13 Prokaryotic cell (pro=before) พบเฉพาะใน Kingdom Monera ไม่มีนิวเคลียสแท้จริง, ไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส (not true nucleus) สารพันธุกรรมอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า nucleoid (กระจายอยู่ใน cytoplasm) ไม่มี organelles ที่มีเยื่อหุ้ม ได้แก่ bacteria ,blue green algae (cyanobacteria)
  • 14. Eukaryotic cell (eu=true)  พบใน Kingdoms Protista, Fungi, Plantae และ Animalia  มีนิวเคลียสที่แท้จริง (true nucleus) , หุ้มด้วยเยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane)  สารพันธุกรรมอยู่ในนิวเคลียส และพบออร์แกนแนลล์ทั้งไม่มีเยื่อหุ้ม/เยื่อหุ้ม 1 ชั้น และ 2 ชั้น  ภายใน cytoplasm ประกอบด้วย cytosol (liquid) และมี organelles (solid) Cytoplasm = บริเวณภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นส่วนของนิวเคลียส Cytosol = สารกิ่งของเหลวภายใน cytoplasm 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 18. 18
  • 19. 19 Basic Of Cell Structure
  • 20. 20 ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นโครงสร้างที่อยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์พบเฉพาะใน สิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย (peptidoglycan) สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (cellulose) เห็ด รา ยีสต์ (chitin) สาหร่ายทุกชนิด และพืช (cellulose) โดยผนังเซลล์ทาหน้าที่ เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทาให้เซลล์คงรูปร่าง : permeability Basic Of Cell Structure
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23 Basic Of Cell Structure
  • 24. 24
  • 25. 25
  • 26.  ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็ นไมโครวิลไลและเยื่อไมอีลิน  ห่อหุ้มเซลล์และกาหนดขอบเขตของเซลล์อย่างชัดเจน (cell covering)  การติดต่อสื่อสารและการจดจากันระหว่างเซลล์ (cell communication) 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. นิวเคลียส มีความหมายว่า ใจกลาง หรือส่วนที่อยู่ตรงกลาง (The center of cell)มีหน้าที่ คือ การรักษา เสถียรภาพของยีน (Gene stabilize) ต่างๆและทาการควบคุมการทางานต่างๆของเซลล์โดยผ่านการ แสดงออกของยีน (Gene Expression) องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear envelope) เป็นเยื่อ 2 ชั้น (bilayer of membrane) มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores or annulus) แทรกอยู่ ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้ (transportation) ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรม (genetics material) ที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับ โมเลกุลของโปรตีน (histone protein) เรียกว่า โครมาทิน (chormatin) ขดแน่นเป็นโครโมโซม (chromosome) 2. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) • มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่ง หรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ทาหน้าที่สร้าง ribosome (ribonucleoprotein) 29 นิวเคลียส (nucleus)
  • 30. 30
  • 31. 31
  • 32. 32 องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 3. โครมาติน (Chromatin) ลักษณะเป็นเส้นใยยาวในนิวเคลียส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40-50 อังสตรอม ยาวมาก ขดกัน เหมือนสปริงและพันเป็นกลุ่ม ประกอบด้วยโมเลกุล DNA และโปรตีนหลายชนิดหุ้มรอบ DNA หรือ deoxyribonucleicacid คือ สายพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ของสิ่งมีชีวิต เมื่อแบ่งเซลล์ เส้นในโครมาตินจะหดตัว ปรากฏเป็นเส้นหนาชัดขึ้นเรียกว่าโครโมโซม (Chromosome) แต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) จากการจาลองตัวเองใน ระยะอินเตอร์เฟสของกระบวนการแบ่งเซลล์ (interphaseof cell division) กล้องจุลทรรศน์ธรรมดามองเห็นนิวเคลียสได้ชัด เพราะเส้นใยโครมาตินย้อมติดสีได้ดี
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. ไรโบโซม Ribosomes เป็น organelle ไม่มีเยื่อหุ้ม หน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus พบได้ทั้ง prokaryotic cell (70s=50s+30s) และ eukaryotic cell (80s=60s+40s) โดยเซลล์ที่สร้างโปรตีนสูง จะพบ nucleolus และ ribosome จานวนมาก เช่น เซลล์ตับของคน แบ่งเป็น 2 ชนิด 36 1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolism ใน cytoplasm 2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ organelles อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
  • 38. 38
  • 40. 40 The function of centriole
  • 42. 42
  • 43. 43 เส้นใยโปรตีนโครงสร้างของเซลล์ : ไม่มีเยื่อหุ้ม (Cytoskeleton) 1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin และอาจมี myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัว ของกล้ามเนื้อ การเปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของ ไซโตพลาสซึม (กระบวนการแบ่งเซลล์) pseudopodia movement หรือ ameboid movement 2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก ประกอบด้วยโปรตีนอย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรง ดึง เช่น เดสโมโซมที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของ เซลล์ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับการยึดกันของไมโครฟิลาเมนท์ใน เซลล์กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุน axon ของเซลล์ประสาท 3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็ง ที่สุด พบเป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโต รโซม และเซนตริโอล มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ โครโมโซม (กระบวนการแบ่งเซลล์) ออร์การ์เนลล์ในไซโต พลาสซึม และ การพัดโบกของซีเลียกับแฟลกเจลลา
  • 44. 44 The Structure of Cytoskeleton
  • 45. ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม : Endoplasmic reticulum (ER) มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol มีช่องภายใน เรียกว่า cisternal space เชื่อมติดต่อกับช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส 1. Rough endoplasmic reticulum (RER) หรือ ร่างแหแบบขรุขระ มีไรโบโซมเกาะติด ด้านนอก (ขรุขระ) สร้างโปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์ (ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER cisternal vesicle Golgi complex เพิ่ม คาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก 2. Smooth endoplasmic reticulum (SER) หรือ ร่างแหแบบเรียบ ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ จึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ RER มีความสาคัญในการ สร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และไขมัน ลดความเป็น พิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บและปล่อย แคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น 45
  • 46. 46 The function of Endoplasmic reticulum (ER)
  • 47. กอลจิบอดี้หรือ กอลจิแอปพาราตัส (Golgi body/ apparatus) 47 เป็นออร์แกเนลล์เยื่อหุ้ม 1 ชั้น ลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar ตรงกลางเป็นท่อแคบภายในบรรจุของเหลวและปลายสองข้างโป่งออก (trans and cis face) และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนจาก RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ exocytosis, สร้าง primary lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
  • 48. 48
  • 49. ไลโซโซม : Lysosomes  เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น รูปร่างกลมมีขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทา หน้าที่ย่อยสลายสารโมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดประมาณ pH5)  Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER (protein production) และส่งต่อไปยัง Golgi complex (vesicle formation)  intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน เช่น macrophage (monocyte) โดยวิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมตัวกับ lysosome (membrane fusion) ซึ่งเอ็นไซม์ภายใน cytosome ของ lysosome จะทาหน้าที่ย่อยสลายอาหารนั้น  การย่อยสลาย organelles ในไซโตพลาสซึมตนเอง (autophagy) เพื่อนาสารกลับมาใช้สร้างใหม่  การเกิด metamorphosis ในการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก (amphibian)  มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก (metabolic enzyme) ถ้าหากมี ความผิดปกติในการทางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้ (abnormality) 49
  • 50. 50
  • 51. Lysosomes (a) Lysosomes in a white blood cell 51 (b) A Lysosome in action Peroxisome fragment Mitochondrion fragment Lysosome
  • 52. The formation and functions of lysosomes 52
  • 53. Relationships among organelles of the endomembrane system 53
  • 54. แวคิวโอล (Vacuoles)  คือ ถุงบรรจุสาร เป็นออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่เรียกว่า โทโนพลาสต์ (tonoplast) ห่อหุ้ม ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ชั้นต่า ในสัตว์ชั้นสูงไม่ค่อยพบ แวคิวโอลแแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole) ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้าและกาจัดของเสีย ภายในเซลล์ (homeostasis) พบในเซลล์ อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา เป็นต้น (fresh water protist) 2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) บรรจุอาหารที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบใน เซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่มีกระบวนการจับกิน (phagocytosis) 3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) พบในเซลล์พืช ตอนอายุน้อย ๆ มีจานวนมาก แต่เมื่ออายุมากเข้า จะรวมเป็นถุงเดียวขนาดใหญ่ (มักมีขนาดใหญ่ที่สุดภายในเซลล์และอยู่กลางเซลล์) มีหน้าที่สะสม สาร เช่น สารสี ไอออน น้าตาล สารพิษ (storage function) 54
  • 56. Peroxisomes (microbodies)  พบในเซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด เป็นถุงเยื่อหุ้มชั้นเดียว ภายในมี granular core ซึ่ง เป็นที่รวมของเอ็นไซม์ย้อมติดสีเข้ม  เอ็นไซม์ชนิดต่างๆทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือทาลาย hydrogen peroxide (H2O2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสารพิษขึ้นภายในเซลล์ RH2 + O2 Oxidase R + H2O2 2H2O2 catalase 2H2O + O2 ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับการ ทาลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol 56
  • 57. 57
  • 58. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)  พบใน eukaryoticcell เกือบทุกชนิด พบโดย คอลลิคเกอร์ (Kollicker) รูปร่างลักษณะ ส่วนใหญมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.2 – 1 ไมครอน ยาว 5 – 7 ไมครอน ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมัน  มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ (smooth outer membrane) ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่ ง ยื่นเข้าข้างในเรียกว่า cristae (inner membrane) เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่อง ภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นใน (intermembrane space) และ ช่องบรรจุของเหลวที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (mitochodrial matrix)  มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน (aerobiccellular respiration): กระบวนการผลิต ATP (Phosphorylation: ATP synthase)  มี DNA (circularDNA) และ ribosome(70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความ ต้องการพลังงาน (endosymbiosis: prokaryoticcell) 58
  • 59. 59
  • 60. 60  เป็นเม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น พบได้ในเซลล์พืชและสาหร่ายทั่วไปยกเว้นสาหร่าย สีเขียวแกมน้าเงิน ในโพรโทซัว พบเฉพาะในพวกที่มีแส้ เช่น ยูกลีนา วอลวอกซ์พลาสติด  จาแนกได้ 3 ชนิด ได้แก่ คลอโรพลาสต์ โครโมพลาสต์ และลิวโคพลาสต์  คลอโรพลาส เป็นพลาสติดที่มีสีเขียวเพราะมีคลอโรฟีลล์เป็นองค์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่ง สร้างอาหารของพืชและโพรติสต์บางชนิด ภายในมีโครงสร้างคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า ไท ลาคอยด์ และไทลาคอยด์จะเรียงซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า กรานุม แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อมต่อ ถึงกัน บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น คลอโรฟีลล์ แคโรทีนอยด์ และมีของเหลวที่เรียกว่า สโตรมา อยู่รอบไทลาคอยด์ ในสโตรมามีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง  โครโมพลาสต์ เป็นพลาสติดที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่าง ๆ ยกเว้นสีเขียว ทาให้ดอกไม้ ใบไม้และผลไม้ มีสีสันสวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก รากของแครอท มะละกอ มะเขือเทศ และใบไม้แก่ ๆ เนื่องจากมีสารแคโรทีนอยด์ ให้สีส้มและสีแดง สารแซนโทฟีลล์ ให้สีเหลืองและน้าตาล  ลิวโคพลาสต์ เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี มีหน้าที่สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงพบใน เซลล์ของรากและเซลล์ที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร เช่น มันแกว มันเทศ เผือก พบในผลไม้ เช่น กล้วย และพบในเซลล์พืชบริเวณที่ไม่มีสี พลาสติด (Plastid)
  • 61. 61
  • 62. 62
  • 63. 63
  • 64. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่ง ประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ในพืชแต่ละชนิดมีรูปร่าง จานวนและขนาดแตกต่างกันออกไป ในเซลล์พืชชั้นสูงจะมีขนาดใหญ่ มีรูปร่าง แบบไข่ รูปจานหรือทรงกระบอก ภายในมีอาหารสะสมประเภทแป้งอยู่ด้วย Chloroplast ที่เจริญในที่ร่ม จะมีขนาดใหญ่กว่าและภายในมีคลอโรฟิลล์มากกว่าที่เจริญในที่สว่าง จานวนของ Chloroplast ไม่ แน่นอนในแต่ละเซลล์ ซึ่งจะแพร่กระจายสม่าเสมอทั่วเซลล์ โดยขึ้นอยู่กับปริมาณของแสงสว่างที่พืช ได้รับและกระบวนการไซโคลซิส Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น แต่ละชั้นหนาประมาณ 8-10 นาโนเมตร และห่างกันประมาณ 10-20 นาโน เมตร เยื่อหุ้มชั้นนอกมีผิวเรียบ หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma (dark reaction) ภายในมีถุง แบน thylakoids (light reaction) ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum เชื่อมด้วย intergrana มี DNA (circular) และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์ แสง 64
  • 65. 65
  • 66. 66 What is type of Cell ?Why ?
  • 67. 67 เซลล์สัตว์ (Animal cell) คือ หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดของสัตว์ มีรูปร่างกลมๆมนๆรีๆ มีความอ่อนนุ่ม ไม่ เป็นเหลี่ยม ไม่มีคลอโรพลาสต์ (Chloroplast)จึงทาหน้าที่เป็นผู้บริโภค (consumer) และไม่มี ผนังเซลล์ (Cell Wall) แบบที่มีอยู่ในเซลล์พืช มีแต่เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane) ไม่มีแวคคิว โอล หรือ มีแต่มีขนาดเล็กจนไม่สามารถมองเห็นได้ชัดหรือ มีจะมีอยู่ในเซลล์สัตว์ชั้นต่า มักจะ ไม่ค่อยพบในเซลล์สัตว์ชั้นสูง ในเซลล์สัตว์มักจะพบไลโซโซม (Lysosome) ซึ่งแตกต่างจากพืช ที่จะมี ไลโซโซม (Lysosome)ในพืชบางชนิดเท่านั้น และในเซลล์สัตว์ก็มักจะพบเซนทริโอล (Centriole)ที่ไม่มีในเซลล์พืช (ในพืชมี polar body ทาหน้าที่แทน) นอกจากนี้ ยังสามารถพบ โครงสร้างที่ช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น cilia กับ flagella นอกนั้นเซลล์สัตว์ก็มีองค์ประกอบคล้ายๆกับเซลล์ทั่วไป คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane), นิวเคลียส(Nucleus), ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ที่ประกอบไปด้วยออร์แกแนลล์ (Organelle)ต่างๆเช่น กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซม (Ribosome), เอนโด พลาสมิกเรติคูลัม (EndoplasmicReticulum,ER), ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นต้น
  • 68. 68
  • 69. 69 เซลล์พืช (Plant cell) คือ หน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดของพืช มีส่วนประกอบสาคัญคือผนังเซลล์(Cell Wall) ซึ่ง เป็นเส้นใย cellulose สานตัวเป็นร่างแหที่แข็งแรงที่ห่อหุ้มชั้นนอกสุดของเซลล์ (Cell) มีรูปร่างเซลล์ (Cell) เป็นเหลี่ยม และเซลล์มีคลอโรพลาสต์(Chloroplast) เป็นออร์แกแนลล์ (Organelle)ที่เป็น องค์ประกอบสาคัญของพืช นอกนั้นเซลล์พืชก็มีองค์ประกอบคล้ายๆกับเซลล์ทั่วไป คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane), นิวเคลียส(Nucleus), ไซโทพลาซึม( Cytoplasm) ที่ประกอบไปด้วยออร์แกแนลล์ (Organelle)ต่างๆ เช่น กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex), ไรโบโซ ม (Ribosome), เอนโดพลาสมิกเร ติคูลัม (Endoplasmic Reticulum, ER), ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) เป็นต้น นอกนั้นเซลล์พืชก็จะ มีออร์แกแนลล์(Organelle) ที่ชื่อ แวคิวโอล (Vacuole) ที่มีขนาดใหญ่กว่าของเซลล์สัตว์มาก ที่ผนังเซลล์(Cell Wall)ของเซลล์พืช จะมีช่องพลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) (รูป เอกพจน์ใช้ พลาสโมเดสมา, Plasmodesma) ที่เป็นช่องว่างขนาดเล็กจานวนมาก มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 50-60 นาโนเมตร ช่วยในการทาหน้าที่เชื่อมต่อเซลล์(Cell)ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วย ในการขนส่งแลกเปลี่ยนสิ่งต่างๆระหว่างเซลล์พืช (สมบัติการลาเลียงสารแบบ Pemeability)
  • 70. 70
  • 71. 71
  • 72. 72 การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes) การรักษาดุลยภาพของเซลล์เป็นหน้าที่สาคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะควบคุมการผ่านเข้า-ออกของ สารระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอกกับภายในเซลล์ ซึ่งการลาเลียงสารเข้า-ออกเซลล์ มี 2 รูปแบบด้วยกัน ดังนี้ 1. การลาเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 2. การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การลาเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ 1.1 การแพร่ (Diffusion) 1.2 ออสโมซิส (osmosis) 1.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitateddiffusion) 2. การลาเลียงแบบใช้พลังงาน หรือแอกทีฟทรานสปอร์ต (Activetransport) การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. เอกโซไซโทซิส (Exocytosis) 2. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ 2.1 ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis) 2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis) 2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-mediatedendocytosis)
  • 73. 73
  • 74. Diffusion and Passive transport การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณ ความเข้มข้นมากกว่าไปยังน้อยกว่า จนกว่าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) โดยโมเลกุลของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากันทั้งสอง บริเวณ การแพร่ของโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า passive transport เซลล์ไม่ต้องใช้พลังงานที่จะทาให้เกิดการแพร่ขึ้น และเยื่อหุ้มเซลล์มีสมบัติ selective permeable ดังนั้นอัตราการแพร่ของสารชนิดต่างๆจะไม่เท่ากัน 74 ตัวอย่างการแพร่ในสิ่งมีชีวิต ได้แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้าก๊าซออกซิเจนจาก อากาศที่ผ่านเข้าไปในถุงลมในปอดมี ความเข้มข้นสูงกว่าในเส้นเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าไปใน เส้นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่จากเส้น เลือดเข้าสู่ถุงลม
  • 76. กระบวนการออสโมซิส (Osmosis) หมายถึงการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้าหนาแน่นมากกว่า หรือสารละลายที่เจือจางกว่า (hypoosmotic solution) ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของน้า น้อยกว่าหรือสารละลายที่เข้มข้นกว่า (hyperosmotic solution) โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน การเคลื่อนที่ของโมเลกุลน้าทั้งสองบริเวณจึง เท่ากัน (isotonic solution) 76
  • 77. The water balance of living cells ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์ 77
  • 79. The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filling vacuole Contracting vacuole 79
  • 80. กระบวนการแพร่แบบ Facilitated diffusion Transport proteins / Carrier protein ช่วยในการนาโมเลกุลของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ากว่า อย่างจาเพาะ เจาะจง (specificity) เรียกกระบวนการนี้ว่า facilitated diffusion โดยเซลล์ไม่ต้องใช้ พลังงาน (passive transport) 80
  • 81. 81
  • 82. 82
  • 83. กระบวนการลาเลียงสารแบบ Active transport บางครั้งเซลล์ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นต่าไปยังที่มีความเข้มข้นสูงกว่า กระบวนการนี้เรียกว่า active transport ซึ่งต้องการพลังงานในการขับเคลื่อน protein carrier ในการ ขนส่งสาร คือ ATP (adenosine triphosphate) เกิดกระบวนการสะสมสารสาคัญต่อกระบวนการ ดารงชีวิตภายในเซลล์ ตัวอย่างเช่น การทางานของเซลล์ประสาทระยะพัก (resting stage) จะเกิดการขับ Na+ ออก นอกเซลล์ 3 โมเลกุล และนา K+ เข้าไปในเซลล์ 2 โมเลกุล ซึ่งเรียกว่า Sodium-potassium pump 83
  • 84. 84 กระบวนการเริ่มต้นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็น transport protein แล้ว ATP ให้พลังงานแก่โปรตีน ทาให้โปรตีนเปลี่ยนรูปร่างและปล่อย Na+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้าจับกับโปรตีน ทาให้ โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่างอีกครั้งหนึ่ง ทาให้ K+ ถูกปล่อยเข้าไปในเซลล์ แล้วโปรตีนกลับมีรูปร่างเหมือนเดิมอีก พร้อมที่จะเริ่มต้นกระบวนการใหม่ต่อไป
  • 85. An electrogenic pump Electrogenic pump เป็น transport protein ที่ทาให้เกิดความต่างศักดิ์ที่เยื่อหุ้มเซลล์ (การที่ผิวด้านใน ของเซลล์และด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ มีความเป็นประจุบวก (cations) และประจุลบ (anions) ไม่ เท่ากัน ทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า โดยผิวด้านในจะมีประจุลบอยู่มากกว่าผิวภายนอกเซลล์เสมอเมื่อ เซลล์อยู่ในภาวะปกติ) 85
  • 86. An electrogenic pump ตัวอย่างเช่น Na+/K+ pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์สัตว์ Proton pump เป็น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์พืช แบคทีเรีย และพวก เห็ดรา รวมทั้ง mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP 86 Co-transport เป็นกระบวนการร่วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียวทางานแล้วมีผลไปทาให้ transport protein ตัวต่อไปทางานเพื่อนาสารเข้าสู่เซลล์ ตัวอย่างเช่น ในเซลล์พืชใช้ proton pump ร่วมกับ transport protein ที่นา sucrose –H+ เข้าไปในเซลล์
  • 87. 87
  • 88. 88
  • 89. 89
  • 90. 90 Passive transport VS Active transport
  • 91. Phagocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของแข็งเข้าเซลล์ โดยเซลล์ยื่นส่วน cytoplasm ไปโอบล้อมสาร ของแข็งนั้น แล้วเข้าไปในเซลล์ เป็น food vacuole แล้ว food vacuole นั้นจะไปรวมกับ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolyticenzymesที่จะย่อยสลายสารนั้นต่อไป อะมีบากินแบคทีเรียด้วยวิธีนี้ การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์ กระบวนการ Endocytosis 91
  • 93. การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์ กระบวนการ Pinocytosis Pinocytosis เป็นการนาสารที่เป็นของเหลวเข้าเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปเพื่อนาสารเข้า ไป กลายเป็นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm 93
  • 95. การนาสารขนาดใหญ่บรรจุถุง vesicle ลาเลียงเข้าเซลล์ กระบวนการ Receptor-mediated endocytosis Receptor-mediated endocytosis เป็นการนาสารเฉพาะบางชนิดเข้าไปใน เซลล์ โดยที่ผิวเซลล์มี receptor เฉพาะสาหรับสารบางอย่างเข้ามาจับ แล้วถูกนาเข้าไป ในเซลล์เป็นถุงเล็กๆ เมื่อผ่านการย่อยแล้ว receptor สามารถถูกนามาใช้ใหม่ได้อีก 95
  • 97. 97
  • 98. 98 การส่งสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ออกนอกเซลล์เป็นวิธีที่คล้ายกับพินโนไซโตซิส แต่ถุงของสารถูก ส่งออกนอกเซลล์ เรียกกระบวนการนี้ว่า รีเวอร์ส พินโนไซโตซิส (reverse pinocytosis) บางที เรียกว่า เอ็กโซไซโตซิส (exocytosis) หรือ อีมิโอไซโตซิส (emiocytosis) จากรูปจะเห็นถุงของสาร (secretory vesicle) หรือโมเลกุลขนาดใหญ่ของ ไขมันและโปรตีน ถูกส่งมาจาก กอลไจ บอดี เข้ามาที่เยื่อหุ้มเซลล์ แล้ว รวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ และถูกปล่อยออก นอกเซลล์ในที่สุด ในการนี้อาจมี สัญญาน การควบคุมจากฮฮร์โมน หรือ จากสารที่เป็นสื่อนาคลื่นประสาท (neurotransmitter) มาควบคุมการ รวมตัวของถุงของสารกับเยื่อหุ้มเซลล์ ก่อนการส่งถุงออกมาด้วยก็ได้
  • 100. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!